SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
การจัดการองค์ความรู้
(Knowledge Management)
กรณีศึกษา บริษัท คอมเทรดดิ้ง จํากัด
Page  2
คณะผู้จัดทํา
นางสาวทิพารัตน์ วงศ์ประคอง รหัส 51653129
นายภานุวัฒน์ สุขสบาย รหัส 51653384
นายวณัท รุจนันตกุล รหัส 51653434
นายวัชระ รุ่งคณาวุฒิ รหัส 51653459
นิสิตภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปริญญาโท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Page  3
หัวข้อนําเสนอ
2.ความสําคัญและที่มาของปัญหา
3. วัตถุประสงค์
4. การจัดการความรู้ในองค์กร
5. การจัดการความรู้ในแผนก
บริการลูกค้า
7.โครงสร้างและทีมงาน KM
8. ประโยชน์ที่ได้รับ
6.การจัดทําแผนการจัดการความรู้
1.ประวัติองค์กร
ประวัติองค์กร
Page  5
ประวัติองค์กร
บริษัท เอ็น เอ็น พี เซอร์วิส
บริษัท คอมเทรดดิ้ง จํากัด
ให ้บริการบํารุงรักษาคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมของ IBM และ
ให ้เช่าเครื่อง คอมพิวเตอร์
ให้บริการด้านการสํารองข้อมูล AS/400
และให้บริการด้านการปรึกษา
Page  6
ประวัติองค์กร (ต่อ)
วิสัยทัศน์
เป็นองค์กรของไทยที่เป็นผู้นําทางด ้านการให ้บริการ IT Service Solution ใน
ประเทศไทยโดยไม่ขึ้นกับตราผลิตภัณฑ์สินค ้า และมุ่งเน้นในความสําเร็จของลูกค ้า
คุณภาพการบริการที่เป็ นเลิศ ความเป็ นหนึ่งเดียวของทีมงาน และความสามารถใน
ระดับสากล
Page  7
ประวัติองค์กร (ต่อ)
พันธกิจ
1. มุ่งมั่น สร ้างสรรค์ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมการให ้บริการด ้านไอที
2. นําเสนอผลิตภัณฑ์ บริการอย่างมีประสิทธิภาพที่ตรงความต ้องการ
3. ให ้บริการในทุกๆการบริการอย่างมืออาชีพ รวดเร็วได ้มาตรฐาน
4. เรียนรู้และพัฒนาความรู้ความสามารถ
5. สร ้างความเป็นหนึ่งเดียว
6. พัฒนาศักยภาพขององค์กรสู่มาตรฐานสากล
Page  8
ประวัติองค์กร (ต่อ)
ผลงานที่ผ่านมา
ด ้วยประสบการณ์มากว่า 20 ปี ในธุรกิจคอมพิวเตอร์ ทีมงานที่มีประสบการณ์
และ ผ่านการฝึกอบรม การให ้บริการอย่างรวดเร็วตลอดทั้ง 24 ชั่วโมง เรามั่นใจว่า
ท่านจะมอบความไว ้วางใจในการบริการจากเราอีกทั้งการมุ่งมั่นพัฒนาขีด
ความสามารถเพื่อการบริการที่ดีที่สุดสําหรับ ลูกค ้าของเรา
ความสําคัญและที่มาของปัญหา
Page  10
แผนกบริการลูกค้า
ความสําคัญและที่มาของปัญหา
ลูกค ้า
ฝ่ าย service
พนักงาน
ที่มีความเชี่ยวชาญ
ฝ่ ายขาย
Page  11
ความสําคัญและที่มาของปัญหา (ต่อ)
1. พนักงานแต่ละคนมีทักษะและความชํานาญในการแก ้ปัญหา
ไม่เท่ากัน
2. พนักงานใหม่ ผู ้ซึ่งมีประสบการณ์น้อย อาจให ้คําแก ้ปัญหาที่
ได ้ดีไม่เท่ากับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก
3. ไม่มีการจัดเก็บหมวดหมู่การแก ้ปัญหาที่เคยพบเจอมาแล ้ว
วัตถุประสงค์
Page  13
วัตถุประสงค์
1. นําทฤษฏีการจัดการองค์ความรู้ (KM) มาสู่การปฏิบัติให ้เกิด
ประโยชน์แก่การปฏิบัติงานจริง
2. เพื่อกระตุ้นให ้เกิดการสื่อสารทั่วองค์กร
3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร ้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ช่วยให ้การ
ทํางานมีประสิทธิผลดีขึ้น
4. เพื่อให ้การทํางานสอดคล ้องกับพันธกิจของบริษัท
การจัดการความรู้ในองค์กร
Page  15
การจัดการความรู้ในองค์กร
ในสมองของคน
เอกสาร
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูลองค์กร
42%
26%
20%
12%
ความรู้องค์กรอยู่ที่ไหน ?
Page  16
องค์ประกอบสําคัญของการจัดการความรู้
(Knowledge Process)
เป็นเครื่องมือ
เพื่อให ้คนสามารถ
ค ้นหา จัดเก็บ
แลกเปลี่ยน
•เป็นองค์ประกอบ
ที่สําคัญที่สุด
•เป็นแหล่งความรู้
•เป็นผู้นําความรู้ไป
ใช ้ให ้เกิดประโยชน์
เป็นการบริหาร
จัดการ เพื่อนํา
ความรู้จากแหล่ง
ความรู้ไปให ้ผู้ใช ้
เพื่อทําให ้เกิดการ
ปรับปรุง และ
นวัตกรรม
คน เทคโนโลยี กระบวนการ
ความรู้
Page  17
กระบวนการจัดการความรู้
(Knowledge Management Process)
1.การบ่งชี้ความรู ้
(Knowledge Identification)
2.การสร ้างและแสวงหาความรู ้
(Knowledge Creation and
Acquisition)
3.การจัดความรู ้ให ้เป็นระบบ
(Knowledge Organization)
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู ้
(Knowledge Codification and
Refinement)
5.การเข ้าถึงความรู ้
(Knowledge Access)
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู ้
(Knowledge Sharing)
7.การเรียนรู ้
(Learning)
Page  18
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง
(Change Management Process)
การวัดผล
(Measurements)
การเรียนรู ้
(Learning)
การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล
(Recognition and Reward)
การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Transition and Behavior)
การสื่อสาร
(Communication)
กระบวนการและเครื่องมือ
(Process & Tools)
เป้าหมาย
(Desired State)
การนําการจัดการความรู้มาใช้ในแผนกบริการ
ลูกค้า บริษัท คอมเทรดดิ้ง จํากัด
Page  20
กรอบแนวคิดในการจัดการความรู้ใน
บริษัท คอมเทรดดิ้ง จํากัด
Page  21
ลูกค้า
การนําโมเดล Spider มาประยุกต์ใช้ในการทํา KM
Knowledge
Asset
Knowledge
Organizing
ผู้นําองค์กร
พนักงาน และ
KM Team
Learning
Knowledg
e Acting
Knowledge
Worker
Knowledge
Network
Knowledg
e Sharing
Knowledge
Vision
Page  22
ความสัมพันธ์ระหว่าง Explicit และ Tacit Knowledge
นําไปปรับใช้
เข้าถึง
ตีความ
สร้างความรู้
ยกระดับ เรียนรู้
ร่วมกัน
รวบรวม
จัดเก็บ
เรียนรู้
ยกระดับ
มีใจ
แบ่งปัน
Explicit
80%
Tacit
20%
Tool & Technology People & Process
Page  23
ขอบเขต KM (KM Focus Area)
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
กระบวนงาน
KM Focus Areas
Work process
ขอบเขต KM
Desired State of KM Focus Areas
ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร
•ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า
•ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ
•ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม
•ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ
KM Action Plans
(6-step model)
การเรียนรู้
(Learning)
การวัดผล
(Measurements)
การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล
(Recognition and Reward)
กระบวนการและ
เครื่องมือ
(Process Tools)
การสื่อสาร
(Communication)
การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Transition and Behavior
Management)
เป้าหมาย
(Desired State)
1
3
2
แผนการจัดการความรู้
เป้ าหมาย KM
ปัญหา
Page  24
การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM
แบบฟอร์ม 1 การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM ของหน่วยงาน แผนกบริการลูกค้า
เกณฑ์การกําหนดขอบเขต KM
ขอบเขต
KM ที่ 1
ขอบเขต
KM ที่ 2
1.สอดคล ้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจ 5 5
2.ปรับปรุงแล ้วเห็นได ้ชัดเจน (เป็นรูปธรรม) 3 4
3.มีโอกาสทําได ้สําเร็จสูง 3 4
4.ต ้องทําพนักงานในแผนกต ้องการ 3 5
5.ผู ้บริหารให ้การสนับสนุน 4 4
6.เป็นความรู ้ที่ต ้องจัดการอย่างเร่งด่วน 2 4
รวมคะแนน 20 26
หมายเหตุ : เกณฑ์การให ้คะแนน คือ มากที่สุด = 5, ปานกลาง = 3, น้อยที่สุด = 1
<เกณฑ์คะแนนสามารถปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมได ้>
ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : นาย… … … … … … … .. ( CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด )
• ขอบเขต KM (KM Focus Area) ประกอบด ้วย
1. นําเสนอข ้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ แก่ลูกค ้า
2. ให ้บริการด ้านการปรึกษา และแก ้ปัญหาเบื้องต ้นแก่ลูกค ้า
Page  25
การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
ขอบเขต KM ที่1
ขอบเขต KM ที่2
Page  26
เป้ าหมาย KM (Desired State)
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
กระบวนงาน
KM Focus Areas
Work process
ขอบเขต KM
Desired State of KM Focus Areas
ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร
•ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า
•ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ
•ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม
•ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ
KM Action Plans
(6-step model)
การเรียนรู้
(Learning)
การวัดผล
(Measurements)
การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล
(Recognition and Reward)
กระบวนการและ
เครื่องมือ
(Process Tools)
การสื่อสาร
(Communication)
การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Transition and Behavior
Management)
เป้าหมาย
(Desired State)
1
3
2
แผนการจัดการความรู้
เป้ าหมาย KM
ปัญหา
Page  27
เป้ าหมาย KM (Desired State) (ต่อ)
ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ
2. ให้บริการด้านการปรึกษา และแก้ปัญหาเบื้องต้นแก่ลูกค้า
เป้ าหมาย KM (Desired State) หน่วยที่วัดผลได้เป็ นรูปธรรม
เป้าหมาย KM ที่ 1 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการ
ความรู ้ด ้านการแก ้ปัญหาให ้แก่ลูกค ้าได ้
พนักงานภายในแผนกบริการลูกค ้าสามารถนําระบบการ
จัดการความรู ้แก ้ปัญหาให ้ลูกค ้าได ้มากขึ้นภายในปี 2553
เป้าหมาย KM ที่ 2 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการ
ความรู ้โดยใช ้Software เข ้าช่วยในการให ้บริการลูกค ้า
พนักงานสามารถนําข ้อมูลที่ได ้จัดเก็บบันทึกไว ้ใช ้ในการ
แก ้ปัญหาให ้ลูกค ้าได ้มากขึ้น ภายในปี 2553
Page  28
การทวนสอบการกําหนดขอบเขต KM (KM Focus Area)
และเป้ าหมาย KM (Desired State)
เพื่อให ้หัวข ้อขอบเขต KM (KM Focus Area) และ เป้าหมาย KM (Desired State) ที่เลือกทํา สอดคล ้องกับ
ประเด็นวิสัยทัศน์และพันธกิจ จึงให ้องค์กรทวนสอบความถูกต ้องและเหมาะสมของหัวข ้อที่เลือกทํา
ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ ให ้บริการด ้านการปรึกษา และแก ้ปัญหาเบื้องต ้นแก่ลูกค ้า
เป้ าหมาย KM ที่ 1 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการความรู ้ด ้านการแก ้ปัญหาให ้แก่ลูกค ้าได ้
เป้ าหมาย KM ที่ 2 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการความรู ้โดยใช ้Software เข ้าช่วยในการให ้บริการลูกค ้า
การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
ในแผนกบริการลูกค้า บริษัทคอมเทรดดิ้ง
Page  30
แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plans)
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
กระบวนงาน
KM Focus Areas
Work process
ขอบเขต KM
Desired State of KM Focus Areas
ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร
•ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า
•ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ
•ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม
•ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ
KM Action Plans
(6-step model)
การเรียนรู้
(Learning)
การวัดผล
(Measurements)
การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล
(Recognition and Reward)
กระบวนการและ
เครื่องมือ
(Process Tools)
การสื่อสาร
(Communication)
การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Transition and Behavior
Management)
เป้าหมาย
(Desired State)
1
3
2
แผนการจัดการความรู้
เป้ าหมาย KM
ปัญหา
Page  32
เริ่มต้นจัดทําแผนการจัดการความรู้
ประเมินองค์กรตนเอง
เรื่องการจัดการความรู้
• KMAT
ประเมิน ปัจจัยแห่ง
ความสําเร็จ
การจัดทําแผนการ
จัดการความรู้
Page  33
The Knowledge Management Assessment Tool
: KMAT
 เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช ้ในการประเมินองค์กรตนเองในเรื่องการจัดการความรู้
และให ้ข ้อมูลกับองค์กรว่ามีจุดอ่อน-จุดแข็ง /โอกาส-อุปสรรค ในการจัดการความรู้
เรื่องใดบ ้าง
1
• กระบวนการจัดการความรู้
2
• ภาวะผู้นํา
3
• วัฒนธรรมในเรื่องการจัดการความรู้
4
• เทคโนโลยีการจัดการความรู้
5
• การวัดผลการจัดการความรู้
Page  34
ตัวอย่าง หมวด 1 – กระบวนการจัดการความรู้
แบบฟอร์ม 4 แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้ หมวด 1 – กระบวนการจัดการความรู้
โปรดอ่านข ้อความด ้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการดําเนินการในเรื่องการจัดการความรู้อยู่ในระดับใด
0 – ไม่มีเลย / มีน้อยมาก 1 – มีน้อย 2 - มีระดับปานกลาง 3 - มีในระดับที่ดี 4 – มีในระดับที่ดีมาก
หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู่ / ทําอยู่
1.1.องค์กรมีการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อหาจุดแข็งจุดอ่อนในเรื่องการจัดการความรู้ เพื่อปรับปรุงในเรื่อง
ความรู้ เช่นองค์กรยังขาดความรู้ที่จําเป็นต ้องมี หรือองค์กรไม่ได ้รวบรวมความรู้ที่มีอยู่ให ้เป็นระบบ เพื่อให ้ง่ายต่อ
การนําไปใช ้ไม่ทราบว่าคนไหนเก่งเรื่องอะไร ฯลฯ และมีวิธีการที่ชัดเจนในการแก ้ไข ปรับปรุง
1
1.2.องค์กรมีการแสวงหาข ้อมูล/ความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์กรที่มีการให ้บริการคล ้ายคลึง
กัน (ถ ้ามี) อย่างเป็นระบบและมีจริยธรรม
2
1.3 ทุกคนในองค์กร มีส่วนร่วมในการแสวงหาความคิดใหม่ ๆ ระดับเทียบเคียง (Benchmarks) และ Best
Practices จากองค์กรอื่นๆ ที่มีลักษณะคล ้ายคลึงกัน (บริการหรือดําเนินงานที่คล ้ายคลึงกัน ) และจากองค์กรอื่น
ๆ ที่มีลักษณะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
3
1.4 องค์กรมีการถ่ายทอด Best Practices อย่างเป็นระบบ ซึ่งรวมถึงการเขียน Best Practices ออกมาเป็น
เอกสาร และการจัดทําข ้อสรุปบทเรียนที่ได ้รับ (Lessons Learned)
2
1.5 องค์กรเห็นคุณค่า “Tacit Knowledge” หรือ ความรู้และทักษะ ที่อยู่ในตัวบุคลากร ซึ่งเกิดจากประสบการณ์
และการเรียนรู้ของแต่ละคน และให ้มีการถ่ายทอดความรู้และทักษะนั้น ๆ ทั่วทั้งองค์กร
2
Page  35
การประเมินปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key Success Factor)
Key
Success
Factor
ความพร้อมขององค์กร
ในการบริหารจัดการ
ความรู้
ความพร้อมในการ
บริหารการเปลี่ยนแปลง
ในองค์กร
บุคลากรในองค์กรมี
วัฒนธรรมที่รู้จักเรียนรู้
ร่วมกัน
เสริมสร้างสมรรถนะ
องค์กรทั้งด ้านIT หรือ
เพิ่มสมรรถนะบุคลากร
ทํา Gap Analysis
Page  36
 นําข ้อมูลที่ได ้จากการประเมินองค์กรตนเอง และการกําหนดปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key
Success Factor) มาใช ้ในการกําหนดกิจกรรมและรายละเอียดต่างๆ ในแผนการจัดการ
ความรู้ เพื่อให ้การจัดทําการจัดการความรู้ขององค์กรดําเนินไปอย่างมีระบบ
การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
Page  37
 ใช้กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)
การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
Change
Management
Process
1
ในส่วนของการกําหนด
ปัจจัยแวดล ้อมภายใน
องค์กร ที่จะทําให ้การ
จัดการความรู้เกิดขึ้นได ้
และมีความยั่งยืน
2
เพื่อให ้กระบวนการ
จัดการความรู้ มีชีวิต
หมุนต่อไปได ้อย่าง
ต่อเนื่อง
Page  38
การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
Page  39
 สรุปงบประมาณการดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู้
การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
Page  40
การกําหนดโครงสร้างทีมงาน KM
หัวหน้า
ประธาน(CKO)
ทีมงาน
-ดําเนินการตามแผนงานที่
ได ้รับมอบหมาย
-จั ด ทํ า ร า ย ง า น ค ว า ม
คืบหน้าของงานในส่วนที่
รับผิดชอบ
-เป็ น “แบบอย่างที่ดี” ใน
เรื่องการจัดการความรู ้
-เป็น Master Trainer ด ้าน
การจัดการความรู ้
-จัดทําแผนงานการจัดการ
ค ว า ม รู ้ใ น อ ง ค์ก ร เ พื ่อ
นําเสนอประธาน
-รายงานผลการดําเนินงาน
แ ล ะ ค ว า ม คื บ ห น้า ต่ อ
ประธาน
-ผ ลั ก ดั น ติ ด ต า ม
ค ว า ม ก ้า ว ห น้า แ ล ะ
ประเมินผลเพื่อปรับปรุง
แก ้ไข
- ประสานงานกับคณะ
ทีมงาน
-ให ้การสนับสนุนในด ้าน
ต่างๆ เช่น ทรัพยากร
- ให ้คําปรึกษาแนะนําและ
ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม เ พื ่อ ก า ร
ตัดสินใจแก่คณะทํางาน
Page  41
ประโยชน์ที่ได้รับจากการนําการจัดการความรู้มาใช้
1. ทําให ้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็ นระบบ เพื่อให ้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทําให ้พนักงานใน
บริษัทนําความรู้ที่ได ้รับไปปรับใช ้ในงานที่ตนเองรับผิดชอบ
2. การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให ้
เป็ นระบบ เพื่อให ้ทุกคนในองค์กรสามารถเข ้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให ้เป็ นผู้รู้ นํา
ความรู้ที่ได ้ไปประยุกต์ใช ้ในการปฏิบัติงานให ้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
3. บริษัทสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู้ของพนักงาน
4. สร้างความก ้าวหน้าให ้บุคลากรและองค์กร
5. บริษัทสามารถจัดการความรู้ไปพร ้อมกับการพัฒนาสินค ้า/วิธีการใหม่ หรือพัฒนารูปแบบ
การทํางาน
6. บริษัทสามารถสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนความรู้อย่างเข ้มข ้นในกลุ่มพนักงานระดับ
ล่าง
7. ทําให ้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด
Thank You

Contenu connexe

Tendances

معايير الجودة في العملية التعليمية
معايير الجودة في العملية التعليميةمعايير الجودة في العملية التعليمية
معايير الجودة في العملية التعليميةOsama El Shareif
 
كتيب تقويم التعلم النشط 6
كتيب تقويم التعلم النشط 6كتيب تقويم التعلم النشط 6
كتيب تقويم التعلم النشط 6سهى عسيلان
 
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذج
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذجبطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذج
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذجsawsanaa2013
 
دليل المعلم الاول
دليل المعلم الاولدليل المعلم الاول
دليل المعلم الاولtamma07
 
أنواع المدربين
أنواع المدربين أنواع المدربين
أنواع المدربين Shahid Alamin
 
صياغة الأسئلة الصفية
صياغة الأسئلة الصفيةصياغة الأسئلة الصفية
صياغة الأسئلة الصفيةfado ali
 
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptx
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptxمحاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptx
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptxMohammedAliAhmed9
 
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df originalZakia Toama
 
تعرّف على عقلك
تعرّف على عقلكتعرّف على عقلك
تعرّف على عقلكKhadija Larmani
 
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرم
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرمالاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرم
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرمmaysam jazmawy
 
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptx
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptxسيمينار إدارة المخاطر (1).pptx
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptxAhmadHassanein
 

Tendances (20)

معايير الجودة في العملية التعليمية
معايير الجودة في العملية التعليميةمعايير الجودة في العملية التعليمية
معايير الجودة في العملية التعليمية
 
كتيب تقويم التعلم النشط 6
كتيب تقويم التعلم النشط 6كتيب تقويم التعلم النشط 6
كتيب تقويم التعلم النشط 6
 
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذج
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذجبطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذج
بطاقة الاداء المتوازن عرض تقديمي و نموذج
 
دليل المعلم الاول
دليل المعلم الاولدليل المعلم الاول
دليل المعلم الاول
 
أنواع المدربين
أنواع المدربين أنواع المدربين
أنواع المدربين
 
صياغة الأسئلة الصفية
صياغة الأسئلة الصفيةصياغة الأسئلة الصفية
صياغة الأسئلة الصفية
 
التعزيز
التعزيزالتعزيز
التعزيز
 
Tsqp 11oct
Tsqp 11octTsqp 11oct
Tsqp 11oct
 
هندسة العمليات الادارية
هندسة العمليات الاداريةهندسة العمليات الادارية
هندسة العمليات الادارية
 
1st (1).pptx
1st (1).pptx1st (1).pptx
1st (1).pptx
 
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptx
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptxمحاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptx
محاضرة المجموعة السابعة الفصل التاسع تنفيذ الاستراتيجية.pptx
 
ادارة الصف 2
ادارة الصف 2ادارة الصف 2
ادارة الصف 2
 
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original
2279b01a87d3193171af55ee407cb8df original
 
اساليب التعلم وفقا لنموذجي مكارثي وكولب
اساليب التعلم وفقا لنموذجي مكارثي وكولباساليب التعلم وفقا لنموذجي مكارثي وكولب
اساليب التعلم وفقا لنموذجي مكارثي وكولب
 
تعرّف على عقلك
تعرّف على عقلكتعرّف على عقلك
تعرّف على عقلك
 
حقيبة الادارة بالاهداف
حقيبة الادارة بالاهدافحقيبة الادارة بالاهداف
حقيبة الادارة بالاهداف
 
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرم
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرمالاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرم
الاشكال الثلاثية التوصل لعدد اصلاع ووجوه المنشور والهرم
 
التميز في بيئة العمل
التميز في بيئة العملالتميز في بيئة العمل
التميز في بيئة العمل
 
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptx
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptxسيمينار إدارة المخاطر (1).pptx
سيمينار إدارة المخاطر (1).pptx
 
101 استراتيجية التعلم النشط
101 استراتيجية التعلم النشط101 استراتيجية التعلم النشط
101 استراتيجية التعلم النشط
 

En vedette

การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ISO 27001:2013 project master plan
ISO 27001:2013 project master planISO 27001:2013 project master plan
ISO 27001:2013 project master planclub27001
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดDrDanai Thienphut
 
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Sasin SEC
 
TPM the effective maintenance (2)
TPM the effective maintenance (2)TPM the effective maintenance (2)
TPM the effective maintenance (2)Timothy Wooi
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Knowledge Management Presentation
Knowledge Management PresentationKnowledge Management Presentation
Knowledge Management Presentationkreaume
 
Knowledge Management Lecture 4: Models
Knowledge Management Lecture 4: ModelsKnowledge Management Lecture 4: Models
Knowledge Management Lecture 4: ModelsStefan Urbanek
 
Knowledge management
Knowledge managementKnowledge management
Knowledge managementSehar Abbas
 

En vedette (16)

การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
ISO 27001:2013 project master plan
ISO 27001:2013 project master planISO 27001:2013 project master plan
ISO 27001:2013 project master plan
 
Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1Km(Pongsak)1
Km(Pongsak)1
 
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดนำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
นำเสนอ บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด
 
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
Impact Mapping
Impact MappingImpact Mapping
Impact Mapping
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
TPM the effective maintenance (2)
TPM the effective maintenance (2)TPM the effective maintenance (2)
TPM the effective maintenance (2)
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
Knowledge Management Presentation
Knowledge Management PresentationKnowledge Management Presentation
Knowledge Management Presentation
 
Knowledge Management Lecture 4: Models
Knowledge Management Lecture 4: ModelsKnowledge Management Lecture 4: Models
Knowledge Management Lecture 4: Models
 
Knowledge management
Knowledge managementKnowledge management
Knowledge management
 

Similaire à KM Project present by Tiparat KU MSIT11

Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007wutichai
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน nattatira
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
TQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilityTQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilitySajee Sirikrai
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการRuangvate Meesup
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 

Similaire à KM Project present by Tiparat KU MSIT11 (20)

Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
ลูกค้าสัมพันธ์ หนทางสู่การตลาดที่ยั่งยืน
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
TQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for SustainabilityTQM & Operations Management for Sustainability
TQM & Operations Management for Sustainability
 
Crm
CrmCrm
Crm
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Km kmutnb3
Km kmutnb3Km kmutnb3
Km kmutnb3
 
Cirriculum executive summary
Cirriculum executive summaryCirriculum executive summary
Cirriculum executive summary
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 

KM Project present by Tiparat KU MSIT11

  • 2. Page  2 คณะผู้จัดทํา นางสาวทิพารัตน์ วงศ์ประคอง รหัส 51653129 นายภานุวัฒน์ สุขสบาย รหัส 51653384 นายวณัท รุจนันตกุล รหัส 51653434 นายวัชระ รุ่งคณาวุฒิ รหัส 51653459 นิสิตภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 3. Page  3 หัวข้อนําเสนอ 2.ความสําคัญและที่มาของปัญหา 3. วัตถุประสงค์ 4. การจัดการความรู้ในองค์กร 5. การจัดการความรู้ในแผนก บริการลูกค้า 7.โครงสร้างและทีมงาน KM 8. ประโยชน์ที่ได้รับ 6.การจัดทําแผนการจัดการความรู้ 1.ประวัติองค์กร
  • 5. Page  5 ประวัติองค์กร บริษัท เอ็น เอ็น พี เซอร์วิส บริษัท คอมเทรดดิ้ง จํากัด ให ้บริการบํารุงรักษาคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมของ IBM และ ให ้เช่าเครื่อง คอมพิวเตอร์ ให้บริการด้านการสํารองข้อมูล AS/400 และให้บริการด้านการปรึกษา
  • 6. Page  6 ประวัติองค์กร (ต่อ) วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรของไทยที่เป็นผู้นําทางด ้านการให ้บริการ IT Service Solution ใน ประเทศไทยโดยไม่ขึ้นกับตราผลิตภัณฑ์สินค ้า และมุ่งเน้นในความสําเร็จของลูกค ้า คุณภาพการบริการที่เป็ นเลิศ ความเป็ นหนึ่งเดียวของทีมงาน และความสามารถใน ระดับสากล
  • 7. Page  7 ประวัติองค์กร (ต่อ) พันธกิจ 1. มุ่งมั่น สร ้างสรรค์ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมการให ้บริการด ้านไอที 2. นําเสนอผลิตภัณฑ์ บริการอย่างมีประสิทธิภาพที่ตรงความต ้องการ 3. ให ้บริการในทุกๆการบริการอย่างมืออาชีพ รวดเร็วได ้มาตรฐาน 4. เรียนรู้และพัฒนาความรู้ความสามารถ 5. สร ้างความเป็นหนึ่งเดียว 6. พัฒนาศักยภาพขององค์กรสู่มาตรฐานสากล
  • 8. Page  8 ประวัติองค์กร (ต่อ) ผลงานที่ผ่านมา ด ้วยประสบการณ์มากว่า 20 ปี ในธุรกิจคอมพิวเตอร์ ทีมงานที่มีประสบการณ์ และ ผ่านการฝึกอบรม การให ้บริการอย่างรวดเร็วตลอดทั้ง 24 ชั่วโมง เรามั่นใจว่า ท่านจะมอบความไว ้วางใจในการบริการจากเราอีกทั้งการมุ่งมั่นพัฒนาขีด ความสามารถเพื่อการบริการที่ดีที่สุดสําหรับ ลูกค ้าของเรา
  • 10. Page  10 แผนกบริการลูกค้า ความสําคัญและที่มาของปัญหา ลูกค ้า ฝ่ าย service พนักงาน ที่มีความเชี่ยวชาญ ฝ่ ายขาย
  • 11. Page  11 ความสําคัญและที่มาของปัญหา (ต่อ) 1. พนักงานแต่ละคนมีทักษะและความชํานาญในการแก ้ปัญหา ไม่เท่ากัน 2. พนักงานใหม่ ผู ้ซึ่งมีประสบการณ์น้อย อาจให ้คําแก ้ปัญหาที่ ได ้ดีไม่เท่ากับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก 3. ไม่มีการจัดเก็บหมวดหมู่การแก ้ปัญหาที่เคยพบเจอมาแล ้ว
  • 13. Page  13 วัตถุประสงค์ 1. นําทฤษฏีการจัดการองค์ความรู้ (KM) มาสู่การปฏิบัติให ้เกิด ประโยชน์แก่การปฏิบัติงานจริง 2. เพื่อกระตุ้นให ้เกิดการสื่อสารทั่วองค์กร 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร ้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ช่วยให ้การ ทํางานมีประสิทธิผลดีขึ้น 4. เพื่อให ้การทํางานสอดคล ้องกับพันธกิจของบริษัท
  • 16. Page  16 องค์ประกอบสําคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) เป็นเครื่องมือ เพื่อให ้คนสามารถ ค ้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน •เป็นองค์ประกอบ ที่สําคัญที่สุด •เป็นแหล่งความรู้ •เป็นผู้นําความรู้ไป ใช ้ให ้เกิดประโยชน์ เป็นการบริหาร จัดการ เพื่อนํา ความรู้จากแหล่ง ความรู้ไปให ้ผู้ใช ้ เพื่อทําให ้เกิดการ ปรับปรุง และ นวัตกรรม คน เทคโนโลยี กระบวนการ ความรู้
  • 17. Page  17 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1.การบ่งชี้ความรู ้ (Knowledge Identification) 2.การสร ้างและแสวงหาความรู ้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3.การจัดความรู ้ให ้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู ้ (Knowledge Codification and Refinement) 5.การเข ้าถึงความรู ้ (Knowledge Access) 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู ้ (Knowledge Sharing) 7.การเรียนรู ้ (Learning)
  • 18. Page  18 กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู ้ (Learning) การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล (Recognition and Reward) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior) การสื่อสาร (Communication) กระบวนการและเครื่องมือ (Process & Tools) เป้าหมาย (Desired State)
  • 21. Page  21 ลูกค้า การนําโมเดล Spider มาประยุกต์ใช้ในการทํา KM Knowledge Asset Knowledge Organizing ผู้นําองค์กร พนักงาน และ KM Team Learning Knowledg e Acting Knowledge Worker Knowledge Network Knowledg e Sharing Knowledge Vision
  • 22. Page  22 ความสัมพันธ์ระหว่าง Explicit และ Tacit Knowledge นําไปปรับใช้ เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ เรียนรู้ ร่วมกัน รวบรวม จัดเก็บ เรียนรู้ ยกระดับ มีใจ แบ่งปัน Explicit 80% Tacit 20% Tool & Technology People & Process
  • 23. Page  23 ขอบเขต KM (KM Focus Area) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ กระบวนงาน KM Focus Areas Work process ขอบเขต KM Desired State of KM Focus Areas ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร •ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า •ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ •ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม •ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ KM Action Plans (6-step model) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล (Recognition and Reward) กระบวนการและ เครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) เป้าหมาย (Desired State) 1 3 2 แผนการจัดการความรู้ เป้ าหมาย KM ปัญหา
  • 24. Page  24 การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM แบบฟอร์ม 1 การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM ของหน่วยงาน แผนกบริการลูกค้า เกณฑ์การกําหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM ที่ 1 ขอบเขต KM ที่ 2 1.สอดคล ้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจ 5 5 2.ปรับปรุงแล ้วเห็นได ้ชัดเจน (เป็นรูปธรรม) 3 4 3.มีโอกาสทําได ้สําเร็จสูง 3 4 4.ต ้องทําพนักงานในแผนกต ้องการ 3 5 5.ผู ้บริหารให ้การสนับสนุน 4 4 6.เป็นความรู ้ที่ต ้องจัดการอย่างเร่งด่วน 2 4 รวมคะแนน 20 26 หมายเหตุ : เกณฑ์การให ้คะแนน คือ มากที่สุด = 5, ปานกลาง = 3, น้อยที่สุด = 1 <เกณฑ์คะแนนสามารถปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมได ้> ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ : นาย… … … … … … … .. ( CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด ) • ขอบเขต KM (KM Focus Area) ประกอบด ้วย 1. นําเสนอข ้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ แก่ลูกค ้า 2. ให ้บริการด ้านการปรึกษา และแก ้ปัญหาเบื้องต ้นแก่ลูกค ้า
  • 25. Page  25 การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 ขอบเขต KM ที่1 ขอบเขต KM ที่2
  • 26. Page  26 เป้ าหมาย KM (Desired State) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ กระบวนงาน KM Focus Areas Work process ขอบเขต KM Desired State of KM Focus Areas ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร •ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า •ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ •ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม •ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ KM Action Plans (6-step model) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล (Recognition and Reward) กระบวนการและ เครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) เป้าหมาย (Desired State) 1 3 2 แผนการจัดการความรู้ เป้ าหมาย KM ปัญหา
  • 27. Page  27 เป้ าหมาย KM (Desired State) (ต่อ) ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ 2. ให้บริการด้านการปรึกษา และแก้ปัญหาเบื้องต้นแก่ลูกค้า เป้ าหมาย KM (Desired State) หน่วยที่วัดผลได้เป็ นรูปธรรม เป้าหมาย KM ที่ 1 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการ ความรู ้ด ้านการแก ้ปัญหาให ้แก่ลูกค ้าได ้ พนักงานภายในแผนกบริการลูกค ้าสามารถนําระบบการ จัดการความรู ้แก ้ปัญหาให ้ลูกค ้าได ้มากขึ้นภายในปี 2553 เป้าหมาย KM ที่ 2 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการ ความรู ้โดยใช ้Software เข ้าช่วยในการให ้บริการลูกค ้า พนักงานสามารถนําข ้อมูลที่ได ้จัดเก็บบันทึกไว ้ใช ้ในการ แก ้ปัญหาให ้ลูกค ้าได ้มากขึ้น ภายในปี 2553
  • 28. Page  28 การทวนสอบการกําหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้ าหมาย KM (Desired State) เพื่อให ้หัวข ้อขอบเขต KM (KM Focus Area) และ เป้าหมาย KM (Desired State) ที่เลือกทํา สอดคล ้องกับ ประเด็นวิสัยทัศน์และพันธกิจ จึงให ้องค์กรทวนสอบความถูกต ้องและเหมาะสมของหัวข ้อที่เลือกทํา ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ ให ้บริการด ้านการปรึกษา และแก ้ปัญหาเบื้องต ้นแก่ลูกค ้า เป้ าหมาย KM ที่ 1 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการความรู ้ด ้านการแก ้ปัญหาให ้แก่ลูกค ้าได ้ เป้ าหมาย KM ที่ 2 แผนกบริการลูกค ้า สามารถจัดการความรู ้โดยใช ้Software เข ้าช่วยในการให ้บริการลูกค ้า
  • 29. การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ในแผนกบริการลูกค้า บริษัทคอมเทรดดิ้ง
  • 30. Page  30 แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plans) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ กระบวนงาน KM Focus Areas Work process ขอบเขต KM Desired State of KM Focus Areas ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร •ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า •ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ •ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม •ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ KM Action Plans (6-step model) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชยและการให ้รางวัล (Recognition and Reward) กระบวนการและ เครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) เป้าหมาย (Desired State) 1 3 2 แผนการจัดการความรู้ เป้ าหมาย KM ปัญหา
  • 31. Page  32 เริ่มต้นจัดทําแผนการจัดการความรู้ ประเมินองค์กรตนเอง เรื่องการจัดการความรู้ • KMAT ประเมิน ปัจจัยแห่ง ความสําเร็จ การจัดทําแผนการ จัดการความรู้
  • 32. Page  33 The Knowledge Management Assessment Tool : KMAT  เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช ้ในการประเมินองค์กรตนเองในเรื่องการจัดการความรู้ และให ้ข ้อมูลกับองค์กรว่ามีจุดอ่อน-จุดแข็ง /โอกาส-อุปสรรค ในการจัดการความรู้ เรื่องใดบ ้าง 1 • กระบวนการจัดการความรู้ 2 • ภาวะผู้นํา 3 • วัฒนธรรมในเรื่องการจัดการความรู้ 4 • เทคโนโลยีการจัดการความรู้ 5 • การวัดผลการจัดการความรู้
  • 33. Page  34 ตัวอย่าง หมวด 1 – กระบวนการจัดการความรู้ แบบฟอร์ม 4 แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้ หมวด 1 – กระบวนการจัดการความรู้ โปรดอ่านข ้อความด ้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการดําเนินการในเรื่องการจัดการความรู้อยู่ในระดับใด 0 – ไม่มีเลย / มีน้อยมาก 1 – มีน้อย 2 - มีระดับปานกลาง 3 - มีในระดับที่ดี 4 – มีในระดับที่ดีมาก หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู่ / ทําอยู่ 1.1.องค์กรมีการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อหาจุดแข็งจุดอ่อนในเรื่องการจัดการความรู้ เพื่อปรับปรุงในเรื่อง ความรู้ เช่นองค์กรยังขาดความรู้ที่จําเป็นต ้องมี หรือองค์กรไม่ได ้รวบรวมความรู้ที่มีอยู่ให ้เป็นระบบ เพื่อให ้ง่ายต่อ การนําไปใช ้ไม่ทราบว่าคนไหนเก่งเรื่องอะไร ฯลฯ และมีวิธีการที่ชัดเจนในการแก ้ไข ปรับปรุง 1 1.2.องค์กรมีการแสวงหาข ้อมูล/ความรู้จากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์กรที่มีการให ้บริการคล ้ายคลึง กัน (ถ ้ามี) อย่างเป็นระบบและมีจริยธรรม 2 1.3 ทุกคนในองค์กร มีส่วนร่วมในการแสวงหาความคิดใหม่ ๆ ระดับเทียบเคียง (Benchmarks) และ Best Practices จากองค์กรอื่นๆ ที่มีลักษณะคล ้ายคลึงกัน (บริการหรือดําเนินงานที่คล ้ายคลึงกัน ) และจากองค์กรอื่น ๆ ที่มีลักษณะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง 3 1.4 องค์กรมีการถ่ายทอด Best Practices อย่างเป็นระบบ ซึ่งรวมถึงการเขียน Best Practices ออกมาเป็น เอกสาร และการจัดทําข ้อสรุปบทเรียนที่ได ้รับ (Lessons Learned) 2 1.5 องค์กรเห็นคุณค่า “Tacit Knowledge” หรือ ความรู้และทักษะ ที่อยู่ในตัวบุคลากร ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ และการเรียนรู้ของแต่ละคน และให ้มีการถ่ายทอดความรู้และทักษะนั้น ๆ ทั่วทั้งองค์กร 2
  • 34. Page  35 การประเมินปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key Success Factor) Key Success Factor ความพร้อมขององค์กร ในการบริหารจัดการ ความรู้ ความพร้อมในการ บริหารการเปลี่ยนแปลง ในองค์กร บุคลากรในองค์กรมี วัฒนธรรมที่รู้จักเรียนรู้ ร่วมกัน เสริมสร้างสมรรถนะ องค์กรทั้งด ้านIT หรือ เพิ่มสมรรถนะบุคลากร ทํา Gap Analysis
  • 35. Page  36  นําข ้อมูลที่ได ้จากการประเมินองค์กรตนเอง และการกําหนดปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key Success Factor) มาใช ้ในการกําหนดกิจกรรมและรายละเอียดต่างๆ ในแผนการจัดการ ความรู้ เพื่อให ้การจัดทําการจัดการความรู้ขององค์กรดําเนินไปอย่างมีระบบ การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
  • 36. Page  37  ใช้กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) Change Management Process 1 ในส่วนของการกําหนด ปัจจัยแวดล ้อมภายใน องค์กร ที่จะทําให ้การ จัดการความรู้เกิดขึ้นได ้ และมีความยั่งยืน 2 เพื่อให ้กระบวนการ จัดการความรู้ มีชีวิต หมุนต่อไปได ้อย่าง ต่อเนื่อง
  • 38. Page  39  สรุปงบประมาณการดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ การจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
  • 39. Page  40 การกําหนดโครงสร้างทีมงาน KM หัวหน้า ประธาน(CKO) ทีมงาน -ดําเนินการตามแผนงานที่ ได ้รับมอบหมาย -จั ด ทํ า ร า ย ง า น ค ว า ม คืบหน้าของงานในส่วนที่ รับผิดชอบ -เป็ น “แบบอย่างที่ดี” ใน เรื่องการจัดการความรู ้ -เป็น Master Trainer ด ้าน การจัดการความรู ้ -จัดทําแผนงานการจัดการ ค ว า ม รู ้ใ น อ ง ค์ก ร เ พื ่อ นําเสนอประธาน -รายงานผลการดําเนินงาน แ ล ะ ค ว า ม คื บ ห น้า ต่ อ ประธาน -ผ ลั ก ดั น ติ ด ต า ม ค ว า ม ก ้า ว ห น้า แ ล ะ ประเมินผลเพื่อปรับปรุง แก ้ไข - ประสานงานกับคณะ ทีมงาน -ให ้การสนับสนุนในด ้าน ต่างๆ เช่น ทรัพยากร - ให ้คําปรึกษาแนะนําและ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม เ พื ่อ ก า ร ตัดสินใจแก่คณะทํางาน
  • 40. Page  41 ประโยชน์ที่ได้รับจากการนําการจัดการความรู้มาใช้ 1. ทําให ้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็ นระบบ เพื่อให ้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทําให ้พนักงานใน บริษัทนําความรู้ที่ได ้รับไปปรับใช ้ในงานที่ตนเองรับผิดชอบ 2. การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให ้ เป็ นระบบ เพื่อให ้ทุกคนในองค์กรสามารถเข ้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให ้เป็ นผู้รู้ นํา ความรู้ที่ได ้ไปประยุกต์ใช ้ในการปฏิบัติงานให ้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. บริษัทสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู้ของพนักงาน 4. สร้างความก ้าวหน้าให ้บุคลากรและองค์กร 5. บริษัทสามารถจัดการความรู้ไปพร ้อมกับการพัฒนาสินค ้า/วิธีการใหม่ หรือพัฒนารูปแบบ การทํางาน 6. บริษัทสามารถสร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนความรู้อย่างเข ้มข ้นในกลุ่มพนักงานระดับ ล่าง 7. ทําให ้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด