SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
Télécharger pour lire hors ligne
ศึกษาวิเคราะห์สติปัฏฐาน ๔
ในหมวด “ธัมมานุปัสสนา”
เพื่อนาเสนอ พระครูประวิตรวรานุยุต,ดร.
ในรายวิชา กรรมฐาน
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
จัดทาโดย
นางสาวอัญชลี จตุรานน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้เข้าใจถึงความหมาย วิธีการ และอานิสงส์ของสติ
ปัฏฐาน ๔
๒. เพื่อให้เข้าใจถึงความหมายโดยละเอียด วิธีการปฏิบัติ
และผลลัพธ์จากการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๓. เพื่อให้สามารถนาความรู้โดยละเอียดเกี่ยวกับธัมมา
นุปัสสนาสติปัฏฐาน ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภาวนา
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในการภาวนาที่ดียิ่งๆขึ้นไป
โครงร่างเนื้อหาสาระ
๑.) ความหมายโดยรวมของสติปัฏฐาน ๔ ในพระไตรปิฎก อรรถกถา
และหนังสือต่างๆ
๒.) ความหมายโดยละเอียด รวมถึงวิธีการปฏิบัติ และอานิสงส์จากการ
ปฏิบัติ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในพระไตรปิฎก อรรถกถา และ
หนังสือต่างๆ
ก) นิวรณบรรพ
ข) ขันธบรรพ
ค) อายตนบรรพ
ง) โพชฌงคบรรพ
จ) สัจจบรรพ
๓.) สรุปเนื้อหาสาระ
๔.) บรรณานุกรม
สติปัฏฐาน ๔
เป็ นพระสูตรสาคัญในพระพุทธศาสนาที่
พระพุทธเจ้าตรัสแก่ชาวกุรุชนบท เป็นพระ
สูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นหนทางนี้เป็น
ที่ไปอันเอก เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อ
ทาให้ แจ้ งซึ่งพระนิพพานคือให้ มีสติ
พิจารณากากับดูสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทัน
ตามความเป็นจริง โดยไม่ให้ถูกครอบงาไว้
ด้วยอานาจกิเลสต่าง ๆ โดยมีแนวปฏิบัติ
เป็ นขั้นตอน ๔ ระดับ คือ พิจารณากาย,
ความรู้สึก (เวทนา), จิต, และธรรมที่เกิดใน
จิต
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีคิดเกี่ยวกับร่างกายไว้ ๑๔ แบบ คือ
อานาปานบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องอานาปานสติคือลมหายใจเข้าออก
อิริยาบถบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ท่าทางของมนุษย์ ใน ๔ อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน
สัมปชัญญบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องโคจรสัมปชัญญะ คือการเคลื่อนไหวของมนุษย์
ธาตุมนสิการบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ไฟ ลม
ปฏิกูลมนสิการบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง กายคตาสติ คือ องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ทั้ง
๓๒
นวสีวถิกาบรรพ - อธิบายแนวพิจารณาคิดเรื่องนวสีหรือ ซากศพ ๙ วาระ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับอารมณ์
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากการได้สัมผัสรับรู้ไว้ ๑ แบบ คือ
เวทนาบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องเวทนา คือ ความรู้สึก
สุข ทุกข์ เฉยๆ ที่เกิดจากการสัมผัสรับรู้ ที่เมื่อพิจารณาตามให้มาก
แล้วจะสามารถละคลายอนุสัยกิเลสได้.
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับ
การรับรู้ไว้ ๑ แบบ คือ
จิตตบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องจิตคือ การรับรู้-
ความคิดคานึงมี กิริยาจิต ทั้ง ๑๑ เป็นต้น ที่เมื่อพิจารณา
ตามให้มากแล้วจะสามารถละคลายอนุสัยกิเลสได้
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับการรับรู้ไว้ ๕ แบบ คือ
นิวรณบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง จิตใจฝ่ายชั่วร้าย ๕ กลุ่ม ตามการจัดหมวดแบบนิวรณ์ ๕
ขันธบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ร่างกายและจิตใจทั้งหมด ตามการจัดหมวดแบบขันธ์ ๕
อายตนบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง การรับรู้ทางประสาทสัมผัสทั้ง ๖ ตามการจัดหมวดแบบ
อายตนะ๑๒ โดยพิจารณาตามการยึดติดที่ผูกมัดจิตของเหล่าสัตว์ของสังโยชน์ ๑๐ ที่ผูกจิตในทุก
ปัจจุบันขณะ
โพชฌังคบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง จิตใจฝ่ายดีงามพร้อมจะตรัสรู้ ๗ อย่าง อันส่งเสริม
ปัญญา
สัจจะบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง สภาวะอันเป็นปรมัตถ์ ตามการจัดหมวดแบบอริยสัจ ๔
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุควรเจริญธรรม ๔ ประการ
ธรรม ๔ ประการ คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
๑.) พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจัด
อภิชฌาและโทมนัสในโลกได้
๒.) พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ...
๓.) พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ...
๔.) พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจัด
อภิชฌาและโทมนัสในโลกได้
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุควรเจริญธรรม ๔ ประการนี้เพื่อรู้ยิ่งราคะ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต สติปัฏฐานสูตร
สติปัฏฐาน ๔
หัวข้อหลัก
มูลกาเนิดมหาสติปัฏฐานสูตร
บาลีวิภังค์
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สรุปความ
อานิสงส์
อรรถกถาทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติ
ปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐
เป็นสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสแก่ชาวกุรุ ซึ่งเป็นผู้ที่มีร่างกายจิตใจสมบูรณ์ เป็น
แคว้นที่สัปปายะ ผู้คนมีความพร้อมจะรับฟังธรรมเทศนานี้หลังจากได้ฟังแล้ว
ทุกคนในแคว้นต่างพากันเจริญสติปัฏฐานไม่มีเว้น
กัมมัฏฐาน ๒๑ คือ อานาปานบรรพ ๑ จตุอิริยาบถบรรพ ๑ จตุสัมปชัญญบรรพ
๑ ทวัตดึงสาการ ๑ จตุธาตุววัฏฐานะ ๑ สีวถิกา ๙ เวทนานุปัสสนา ๑ จิตตา
นุปัสสนา ๑ นีวรณปริคคหะ ๑ ขันธปริคคหะ ๑ อายตนปริคคหะ ๑ โพชฌงค
ปริคคหะ ๑ สัจจปริคคหะ ๑
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางดาเนินอันเอก เพื่อความหมดจดแห่งสัตว์
ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงโสกะและปริเทวะ เพื่อดับทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย
ธรรม เพื่อทาให้แจ้งพระนิพพาน นี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ด้วยประการฉะนี้คาอันใด
อันเรากล่าวแล้วอย่างนี้คานั้นเราอาศัยทางอันเอกนี้กล่าวแล้ว
สติปัฏฐาน ๔
อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูล
ปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค สติ
ปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
หัวข้อหลัก
ที่มา เหตุที่ตรัสสติปัฏฐาน ๔
อย่าง
มติของอรรถกถา
พิจารณาดูกายโดยอิริยาบท
เวทนานุปัสสนา
แก้จิตตานุปัสสนา
แก้ธรรมานุปัสสนา
อานิสงส์การเจริญสติปัฏฐาน
เหตุที่ตรัสสติปัฏฐาน ๔ อย่างเพราะทรงเกื้อกูลแก่เวไนยสัตว์ที่มีจริต
ต่างกัน เช่น บุคคลผู้มีตัณหาจริตอ่อน พึงปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏ
ฐาน บุคคลผู้มีตัณหาจริตกล้า พึงปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
บุคคลผู้มีทิฏฐิจริตอ่อน พึงปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน บุคคลผู้
มีทิฏฐิจริตกล้า พึงปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นต้น
ฝ่ายพระโบราณาจารย์หมายเอาบุคคลผู้มีปัญญาแก่กล้า จึงกล่าวไว้
ว่า “บุคคลผู้มีปัญญาแก่กล้า ได้รับคาสอนในตอนเช้า ก็จักบรรลุคุณ
วิเศษได้ในตอนเย็น ได้รับคาสอน ในตอนเย็น ก็จักบรรลุคุณวิเศษได้
ในตอนเช้า”
สติปัฏฐาน ๔
สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่า
ทันตามความเป็นจริง, การมีสติกากับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูก
ครอบงาด้วยความยินดียินร้าย ที่ทาให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอานาจกิเลส มี ๔ อย่างคือ
๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณากาย, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย
๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาเวทนา, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันเวทนา
๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการ
ของจิต
๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันธรรม เรียกสั้นๆ ว่า กาย
เวทนา จิต ธรรม
โพธิปักขิยธรรม ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมที่เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี ๓๗ ประการ คือ สติปัฏ
ฐาน ๔, สัมมัปปธาน ๔, อิทธิบาท ๔, อินทรีย์ ๕, พละ ๕, โพชฌงค์ ๗, มรรคมีองค์ ๘
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
สติปัฏฐาน ๔
สติปัฏฐาน ๔ (ที่ตั้งของสติ, การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง คือ ตามที่สิ่งนั้นๆ
มันเป็นของมันเอง - foundations of mindfulness)
๑.) กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณากายให้รู้เห็นตามเป็นจริง ว่า เป็นเพียงกาย ไม่ใช่สัตว์
บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of the body; mindfulness as regards the body) ท่านจาแนก
ปฏิบัติไว้หลายอย่าง คือ อานาปานสติ กาหนดลมหายใจ ๑ อิริยาบถ กาหนดรู้ทันอิริยาบถ ๑ สัมปชัญญะ สร้าง
สัมปชัญญะในการกระทาความเคลื่อนไหวทุกอย่าง ๑ ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาส่วนประกอบอันไม่สะอาด
ทั้งหลายที่ประชุมเข้าเป็นร่างกายนี้๑ ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็นร่างกายของตนโดยสักว่าเป็นธาตุแต่ละอย่างๆ 1
นวสีวถิกา พิจารณาซากศพในสภาพต่างๆ อันแปลกกันไปใน ๙ ระยะเวลา ให้เห็นคติธรรมดาของร่างกาย ของ
ผู้อื่นเช่นใด ของตนก็จักเป็นเช่นนั้น
๒.) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาเวทนา ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงเวทนา
ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of feelings; mindfulness as regards feelings) คือ มีสติรู้
ชัดเวทนาอันเป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี เฉยๆ ก็ดี ทั้งที่เป็นสามิส และเป็นนิรามิสตามที่เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
สติปัฏฐาน ๔
๓.) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงจิต
ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind; mindfulness as regards thoughts)
คือ มีสติรู้ชัดจิตของตนที่มีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มีโมหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว
ฟุ้ งซ่านหรือเป็นสมาธิ ฯลฯ อย่างไรๆ ตามที่เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ
๔.) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียง
ธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind-objects; mindfulness as
regards ideas) คือ มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อริยสัจ
๔ ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ์ และดับไปได้อย่างไร เป็นต้น ตามที่เป็น
จริงของมันอย่างนั้นๆ
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
สติปัฏฐาน ๔
กล่าวถึงสติปัฏฐานไว้ว่าเป็นหลักธรรมในหมวด “สัมมาสติ” แปลว่า ที่ตั้งของสติ เป็นวิธีปฏิบัติ
ที่มีพร้อมทั้งสมถะและวิปัสสนา ประกอบด้วย
๑.) กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การพิจารณากาย ตามดูรู้ทันกาย
๒.) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันเวทนา ความรู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ
๓.) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันจิตว่ามีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มี
โมหะ ไม่มีโมหะ
๔.) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันธรรม คือ นิวรณ์ ขันธ์ อายตนะ โพชฌงค์ และ
อริยสัจ
กล่าวว่าสติปัฏฐานไม่จาเป็นต้องปลีกวิเวกเท่านั้น แต่ปฏิบัติได้ในชีวิตประจาวันด้วย ซึ่งการ
ปฏิบัติสติปัฏฐาน ไม่ได้ใช้แค่สติ แต่ยังต้องมีสมาธิ (อย่างน้อยในขั้นอ่อนๆ) อยู่ด้วย
หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
สติปัฏฐาน ๔
กระบวนการปฏิบัติ – มีองค์ประกอบ ๒ ส่วนคือ ฝ่ายที่
ถูกกาหนดหรือตามรู้ทัน เช่น ร่างกาย หรือความคิด และ
ฝ่ายที่คอยกาหนดหรือตามรู้ทัน คือ สติ และ สัมปชัญญะ
การตามดูรู้ทัน คือการดูให้เห็นว่าเป็นอย่างไรเท่านั้น ไม่
ใส่ความรู้สึกหรือความเห็นใดๆ
ผลของการปฏิบัติ – คุมกระแสความคิดให้บริสุทธิ์ ไม่
เปิดช่องให้กิเลส เมื่อจิตบริสุทธิ์ ก็จะเป็นอิสระจากกิเลส
และเกิดปัญญารู้ตามเป็นจริง นาไปสู่ทางแห่งความพ้น
ทุกข์
หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
สติปัฏฐาน ๔
สติปัฏฐาน ๔ คือ การตั้งสติความระลึกได้ไว้ในกาย ในเวทนา ในจิต และในธรรม
ตั้งสติพิจารณากาย ว่าด้วยลมหายใจเข้าออก อิริยาบถต่างๆ อาการต่างๆ ธาตุ ๔ ป่าช้า และ
ศพ
ตั้งสติพิจารณาเวทนา คือ กาหนดรู้ความสุข ความทุกข์ และความเป็นกลาง
ตั้งสติพิจารณาจิต คือ กาหนดดูจิตใจ ว่ามี ราคะ โทสะ โมหะ หรือไม่
ตั้งสติพิจารณาธรรม คือ กาหนดดูธรรมะทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นในจิต คือ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕
อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และ อริยสัจ ๔
ทางปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔ คือ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม โดยเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
เพื่อให้เกิดปัญญา และปล่อยวาง
หนังสือสัมมาทิฏฐิ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร)
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน มี ๕ ส่วนคือ
๑.) นิวรณบรรพ – พิจารณาว่า กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา มีอยู่
ในจิตหรือไม่ จะเกิดขึ้นได้ด้วยประการใด จะละได้ด้วยประการใด เมื่อละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกด้วย
ประการใด
๒.) ขันธบรรพ – พิจารณาถึงความเกิดขึ้น ความดับไป แห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร และ
วิญญาณ
๓.) อายตนบรรพ – พิจารณาถึงอายตนะภายในและภายนอก รู้ชัดถึงสังโยชน์ที่อาศัยอายตนะ
ภายในและภายนอกนั้นเกิดขึ้น รู้ชัดว่าจะละสังโยชน์ที่เกิดขึ้นแล้วได้อย่างไร รู้ชัดว่าสังโยชน์ที่ละได้
แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔.) โพชฌงค์ ๗ – พิจารณาว่า สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปีติ
ปัสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา มีอยู่ภายในจิตหรือไม่ จะเกิดขึ้นได้
ด้วยประการใด จะเจริญบริบูรณ์ด้วยประการใด
๕.) อริยสัจ ๔ – พิจารณาตามความเป็นจริงว่าอุปทานขันธ์
๕ (วงจรปฏิจสมุปบาท) เป็นทุกข์ ตัณหาและราคะเป็นสมุทัย
ความดับแห่งตัณหาและราคะเป็นนิโรธ และมรรค ๘ คือทาง
ดับแห่งทุกข์
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ดังพรรณนามานี้ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้ง
ภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรม
บ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรม
คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อนึ่ง สติของเธอ
ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึก
เท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่น
อะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณา
เห็นธรรมในธรรม คือ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และ
อริยสัจ ๔ อยู่
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เหตุเกิดกามฉันท์ - อโยนิโสมนสิการ (การใส่ใจโดยไม่แยบคาย) ในสุภนิมิต (สิ่งที่งาม อารมณ์ที่งาม)
เหตุละกามฉันท์ - โยนิโสมนสิการ (การใส่ใจโดยแยบคาย) ในอสุภนิมิต (สิ่งที่ไม่งาม อารมณ์ที่ไม่
งาม)
ธรรมสาหรับละกามฉันท์ - การเรียนอสุภนิมิต การบาเพ็ญอสุภภาวนา ความเป็นผู้คุ้มครองทวารไว้
ได้ในอินทรีย์ทั้งหลาย ความเป็นผู้รู้จักประมาณโภชนะ ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการสนทนาเรื่อง
ที่เป็นสัปปายะ
เหตุเกิดพยาบาท – อโยนิโสมนสิการในปฏิฆนิมิต (ความขุ่นใจ)
เหตุละพยาบาท – โยนิโสมนสิการในเมตตาเจโตวิมุตติ (เจริญเมตตาทั้งอัปปนาสมาธิ และอุปจาร
สมาธิ)
ธรรมสาหรับละพยาบาท – การเรียนเมตตานิมิต การบาเพ็ญเมตตาภาวนา การพิจารณาว่าสัตว์
ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน ความเป็นผู้มากด้วยการพิจารณา ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการ
สนทนาถึงเรื่องที่เป็นสัปปายะ
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เหตุเกิดถีนมิทธะ – อโยนิโสมนสิการในอรติ (ริษยา) ตันที (ขี้เกียจ) วิชัมภิตา (มึนเพราะอาหาร)
และภัตตสัมมทะ (ความย่อหย่อนแห่งจิต)
เหตุละถีนมิทธะ – โยนิโสมนสิการในอารภธาตุ (ความเพียรแรกเริ่ม) นิกกมธาตุ (ความเพียรขั้น
สูงขึ้น) และ ปรักกมธาตุ (ความบากบั่น)
ธรรมสาหรับละถีนมิทธะ - การเอานิมิตในการบริโภคมากเกินไป การผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ
มนสิการถึงอาโลกสัญญา การอยู่ในที่กลางแจ้ง ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการสนทนาถึงเรื่องที่
เป็นสัปปายะ
เหตุเกิดอุทธัจจกุกกุจจะ – อโยนิโสมนสิการในอวูปสมะ (ความไม่สงบแห่งใจ)
เหตุละอุทธัจจกุกกุจจะ - โยนิโสมนสิการในความสงบแห่งใจ (สมาธิ)
ธรรมสาหรับละอุทธัจจกุกกุจจะ – ความเป็นพหูสูต ความเป็นผู้สอบถาม ความเป็นผู้รู้ปกติใน
พระวินัย การคบหาคนเจริญแล้ว ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการกล่าวถ้อยคาที่เป็นสัปปายะ
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เหตุเกิดวิจิกิจฉา - อโยนิโสมนสิการในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉา. ความเคลือบแคลง
สงสัย
เหตุละวิจิกิจฉา - โยนิโสมนสิการในธรรมมีกุศล
ธรรมสาหรับละวิจิกิจฉา - ความเป็นพหูสูต ความเป็นผู้สอบถาม เป็นผู้รู้ปกติในพระวินัย ความ
เป็นผู้มากด้วยอธิโมกข์ ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการกล่าวถ้อยคาที่เป็นสัปปายะ
สติกาหนดนิวรณ์เป็นอริยสัจ ๔ - สติอันกาหนดนิวรณ์เป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ บัณฑิตพึง
ทราบว่าเป็นทางปฏิบัตินาออกจากทุกข์ของภิกษุผู้กาหนดนิวรณ์เป็นอารมณ์
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
อุปาทานขันธ์ ๕ คือกองอุปาทาน คือกลุ่มธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งอุปาทาน พึงพิจารณาว่า นี้คือรูป
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณอื่นนอกจากนี้ไม่มี
ความเกิดแห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเกิดแห่งอวิชชาเป็นต้นย่อมมีด้วยอาการ
อย่างนี้ความดับแห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยดับอวิชชาเป็นต้นย่อมมีด้วยอาการ
อย่างนี้
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายของตน ในธรรมทั้งหลายของคนอื่น หรือในธรรมทั้งหลายของตน
ตามกาล ของคนอื่นตามกาล ด้วยการกาหนดขันธ์ ๕ อย่างนี้อยู่ ก็ความเกิดและความเสื่อมในคาว่า
พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดและความเสื่อม บัณฑิตพึงนามาเทียบเคียงโดยลักษณะขันธ์ ๕ ว่า
เพราะอวิชชาเกิด รูปจึงเกิดดังนี้เป็นต้น
สติกาหนดขันธ์เป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ ดังนี้แล้ว พึงทราบว่า เป็นทางปฏิบัตินาออกจากทุกข์ของ
ภิกษุผู้กาหนดขันธ์เป็นอารมณ์
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - ขันธบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
รู้ชัดอายตนะภายในและภายนอก รู้ชัดถึงสังโยชน์ที่อาศัยอายตนะภายในและภายนอกเกิดขึ้นมา เช่น
เมื่อเกิดอารมณ์ยินดีเพลิดเพลินในรูปที่มากระทบตา สังโยชน์คือ กามราคะ ก็เกิด เป็นต้น รู้เหตุละ
สังโยชน์ ว่าเกิดขึ้นแล้วจะละได้อย่างไร เมื่อละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกได้อย่างไร นั่นคือ สังโยชน์ ๕ จะ
ละได้ด้วยโสดาปัตติมรรค สังโยชน์ ๒ อย่างหยาบ จะละได้ด้วยสกทาคามิมรรค สังโยชน์ ๒ อย่าง
ละเอียดจะละได้ด้วย อนาคามิมรรค และสังโยชน์ ๓ เบื้องสูงจะละได้ด้วย อรหัตตมรรค
พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายของตน ด้วยการกาหนดอายตนะภายใน ในธรรมทั้งหลายของคนอื่น
ด้วยการกาหนดอายตนะภายนอก หรือในธรรมทั้งหลายของตนตามกาล ของคนอื่นตามกาล อย่างนี้อยู่
ก็ความเกิดและความเสื่อมในอายตนบรรพนี้พึงนามาเทียบรูปายตนะลงในรูปขันธ์ มนายตนะในอรู
ปายตนะทั้งหลายลงในวิญญาณขันธ์ ธัมมายตนะลงในขันธ์ที่เหลือ ไม่พึงถือว่า โลกุตตรธรรม
สติกาหนดอายตนะเป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ ดังนี้เป็นต้นแล้ว พึงทราบว่า เป็นทางปฏิบัตินาทุกข์ออกไป
ของภิกษุผู้กาหนดอายตนะเป็นอารมณ์
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - อายตนบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เหตุเกิดแห่งสติสัมโพชฌงค์
- สติสัมปชัญญะ
- การเว้นจากบุคคลผู้มีสติหลงลืม
- การคบหาสมาคมกับบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น
- ความเป็นผู้น้อมไปหาสตินั้น
เหตุเกิดแห่งธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
- การสอบถาม
- การทาวัตถุให้ผ่องใส
- การปรับอินทรีย์ให้สม่าเสมอ
- การเว้นบุคคลผู้มีปัญญาทราม
- การคบหาสมาคมกับผู้มีปัญญา
- การพิจารณาความประพฤติด้วยญาณอันลึกซึ้ง
- การน้อมใจไปในธัมมวิจยะนั้น
เหตุเกิดแห่งวิริยสัมโพชฌงค์
- การพิจารณาเห็นภัยในอบาย
- การเห็นอานิสงส์
- การพิจารณาเห็นทางดาเนินไป
- การประพฤติอ่อนน้อมต่อบิณฑบาต
- การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดย
ความเป็นทายาท
- การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่ของพระ
ศาสดา
- การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดยชาติ
- การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดยเป็น
เพื่อนสพรหมจารี
- การเว้นบุคคลผู้เกียจคร้าน
- การคบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร
- ความเป็นผู้มีจิตน้อมไปในวิริย
สัมโพชฌงค์นั้น
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ –
โพชฌงคบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เหตุเกิดแห่งปีติสัมโพชฌงค์
- พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุส
สติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตา
นุสสติ และอุปสมานุสสติ
- การหลีกเว้นบุคคลผู้เป็นโทษ
- การคบหาบุคคลผู้เป็นคุณ
- การพิจารณาถึงพระสูตรอันเป็นที่ตั้ง
แห่งความเลื่อมใส
- ความเป็นผู้น้อมไปในปีติสัม
โพชฌงค์นั้น
เหตุเกิดแห่งปัสสัทธิสัมโพชฌงค์
- การบริโภคโภชนะอันประณีต
- การเสพสุขตามฤดู
- การเสพสุขตามอิริยาบถ
- ความเป็นผู้มีมัชฌัตตัปปโยคะ
- การหลีกเว้นบุคคลผู้มีกาย
กระสับกระส่าย
- การคบหาบุคคลผู้มีกายสงบ
- ความเป็นผู้น้อมไปในปัสสัทธิ
สัมโพชฌงค์นั้น
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - โพชฌงคบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานเหตุเกิดแห่งสมาธิสัมโพชฌงค์
- การทาวัตถุให้สะอาดหมดจด
- การประคับประคองอินทรีย์ให้ดาเนินไป
อย่างสม่าเสมอ
- ความเป็นผู้ฉลาดในนิมิต
- การยกจิตในสมัย (ที่ควรยก)
- การข่มจิตในสมัย (ที่ควรข่ม)
- การทาจิตให้ร่าเริงในสมัย (ที่ควรทาจิตให้
ร่าเริง)
- การเพ่งดูจิตเฉยๆ ในสมัย (ที่ควรเพ่งดู)
- การหลีกเว้นบุคคลผู้มีจิตไม่เป็นสมาธิ
- การคบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ
- การพิจารณาฌานและวิโมกข์
- ความเป็นผู้น้อมไปในสมาธิสัมโพชฌงค์
นั้น
เหตุเกิดแห่งอุเบกขาสัมโพชฌงค์
- ความเป็นผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์
- ความเป็นผู้วางตนเป็นกลางในสังขาร
- การหลีกเว้นบุคคลผู้ผูกพันในสัตว์สังขาร
- การคบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์สังขาร
- ความเป็นผู้น้อมไปในอุเบกขาสัมโพชฌงค์นั้น
สติที่กาหนดโพชฌงค์เป็นทุกขสัจอย่างเดียว
นักศึกษาพึงทราบทางแห่งธรรมเครื่องนาออก
ของภิกษุผู้กาหนดโพชฌงค์ เพราะการ
ประกอบความดังว่ามานี้แล
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ -
โพชฌงคบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
รู้ชัดถึงอริยสัจ ๔ คือ รู้ว่า ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข
โทมนัส อุปายาส เป็นทุกข์
รู้ว่า กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา เป็นสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์)
รู้ว่า ภาวะที่ตัณหาดับไป เป็นนิโรธ (ความดับแห่งทุกข์)
รู้ว่า มรรค ๘ เป็นทางอันเจริญไปสู่นิโรธ (ทางสู่ความดับแห่งทุกข์)
สติเครื่องกาหนดสัจจะ ๔ เป็นทุกขสัจอย่างเดียว บัณฑิตพึงทราบ
ทางแห่งธรรมเป็นเครื่องนาออกของภิกษุผู้กาหนดสัจจะ เพราะการ
ประกอบความดังว่ามานี้แล
อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - สัจจบรรพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ฉบับประมวลศัพท์
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันธรรม
ฉบับประมวลธรรม
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียง
ธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind-objects; mindfulness
as regards ideas) คือ มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์
๗ อริยสัจ ๔ ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ์ และดับไปได้อย่างไร เป็น
ต้น ตามที่เป็นจริงของมันอย่างนั้นๆ.
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ และประมวลธรรม
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนา การตามดูรู้ทันธรรม คือ
๑.) นิวรณ์ คือ รู้ชัดในขณะนั้นๆ ว่า นิวรณ์๕ แต่ละอย่างๆ มีอยู่ในใจตนหรือไม่ที่ยังไม่เกิด เกิด
ขึ้นได้อย่างไร ที่เกิดขึ้นแล้ว ละเสียได้อย่างไร ที่ละได้แล้ว ไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปอย่างไร รู้ชัดตามที่
เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ
๒.) ขันธ์ คือ กาหนดรู้ว่าขันธ์๕ แต่ละอย่าง คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร ดับไปได้อย่างไร
๓.) อายตนะ คือ รู้ชัดในอายตนะภายในภายนอกแต่ละอย่างๆ รู้ชัดในสัญโญชน์ที่เกิดขึ้นเพราะ
อาศัยอายตนะนั้นๆ รู้ชัดว่าสัญโญชน์ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้นได้อย่างไร ที่เกิดขึ้นแล้ว ละเสียได้
อย่างไร ที่ละได้แล้ว ไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปอย่างไร
๔.) โพชฌงค์ คือ รู้ชัดในขณะนั้นๆ ว่า โพชฌงค์๗ แต่ละอย่างๆ มีอยู่ในใจตนหรือไม่ที่ยังไม่เกิด
เกิดขึ้นได้อย่างไรที่เกิดขึ้นแล้ว เจริญเต็มบริบูรณ์ได้อย่างไร
๕.) อริยสัจ คือ รู้ชัดอริยสัจ ๔ แต่ละอย่างๆ ตามความเป็นจริง ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร
หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตั้งสติพิจารณาธรรม กาหนดดูธรรมะทั้งหลายที่เกิดขึ้น
ในจิต ตั้งแต่
- ตั้งสติกาหนดดูนิวรณ์ ๕ คือกิเลสที่เป็นเครื่องกั้นจิต มีกามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ
อุธัจจกุกกุจจะ และ วิจิกิจฉา ว่ามีอยู่ในจิตหรือไม่
- ตั้งสติกาหนดดูความเกิด ดับ ของขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
- ตั้งสติดูอายตนะภายในและภายนอกทั้ง ๖ ที่กระทบกัน และเกิดสังโยชน์ขึ้น ให้รู้ความ
เกิดของสังโยชน์ ความดับของสังโยชน์ และสังโยชน์ที่ดับแล้วจะไม่เกิดขึ้น
- ตั้งสติกาหนดดูโพชฌงค์ ๗ คือ องค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ และทาให้เจริญขึ้น
- ตั้งสติกาหนดดูอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
หนังสือสัมมาทิฏฐิ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร)
ฝากทิ้งท้าย
ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็ นที่ไปอันเอก เพื่อ
ความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและ
ปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์โทมนัส เพื่อ
บรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ประการ ฉะนี้แล คาที่
เรากล่าว ดังพรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมร
รคกล่าวแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้
แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ยินดี ชื่นชมภาษิตของพระผู้มี
พระภาคแล้ว ฉะนี้แล ฯ
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆ
นิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร)
บรรณานุกรม
๑. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร
๒. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐาน
สูตร
๓. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต สติปัฏฐานสูตร
๔. อรรถกถาทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐
๕. อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค สติปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
๖. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต)
๗. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต)
๘. หนังสือพุทธธรรม ฉบับขยายความ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต)
๙. หนังสือสัมมาทิฏฐิ ตามเถราธิบายของท่านพระสารีบุตรเถระ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)
จบการนาเสนอ
ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้
จะทาให้ท่านได้รู้จักและเห็นถึงคุณค่าของสติปัฏฐาน ๔ อัน
เป็นทางสายเอกที่มุ่งสู่การหลุดพ้น เข้าใจรายละเอียดของ
สติปัฏฐานในหมวดธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างแจ่มแจ้ง
และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพุทธศาสนาของทุกท่านทั้ง
ทางปริยัติและปฏิบัติต่อไป
ขออนุโมทนาในบุญทุกประการของทุกท่าน
และขอให้ทุกท่านเจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ
สาธุ...

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 

Tendances (20)

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 

En vedette

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 

En vedette (12)

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 

Similaire à ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
080จิตภาวนา
080จิตภาวนา080จิตภาวนา
080จิตภาวนาniralai
 

Similaire à ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (20)

บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
080จิตภาวนา
080จิตภาวนา080จิตภาวนา
080จิตภาวนา
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha (14)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

  • 1. ศึกษาวิเคราะห์สติปัฏฐาน ๔ ในหมวด “ธัมมานุปัสสนา” เพื่อนาเสนอ พระครูประวิตรวรานุยุต,ดร. ในรายวิชา กรรมฐาน ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา จัดทาโดย นางสาวอัญชลี จตุรานน
  • 2. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้เข้าใจถึงความหมาย วิธีการ และอานิสงส์ของสติ ปัฏฐาน ๔ ๒. เพื่อให้เข้าใจถึงความหมายโดยละเอียด วิธีการปฏิบัติ และผลลัพธ์จากการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๓. เพื่อให้สามารถนาความรู้โดยละเอียดเกี่ยวกับธัมมา นุปัสสนาสติปัฏฐาน ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภาวนา เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในการภาวนาที่ดียิ่งๆขึ้นไป
  • 3. โครงร่างเนื้อหาสาระ ๑.) ความหมายโดยรวมของสติปัฏฐาน ๔ ในพระไตรปิฎก อรรถกถา และหนังสือต่างๆ ๒.) ความหมายโดยละเอียด รวมถึงวิธีการปฏิบัติ และอานิสงส์จากการ ปฏิบัติ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในพระไตรปิฎก อรรถกถา และ หนังสือต่างๆ ก) นิวรณบรรพ ข) ขันธบรรพ ค) อายตนบรรพ ง) โพชฌงคบรรพ จ) สัจจบรรพ ๓.) สรุปเนื้อหาสาระ ๔.) บรรณานุกรม
  • 4. สติปัฏฐาน ๔ เป็ นพระสูตรสาคัญในพระพุทธศาสนาที่ พระพุทธเจ้าตรัสแก่ชาวกุรุชนบท เป็นพระ สูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นหนทางนี้เป็น ที่ไปอันเอก เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อ ทาให้ แจ้ งซึ่งพระนิพพานคือให้ มีสติ พิจารณากากับดูสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทัน ตามความเป็นจริง โดยไม่ให้ถูกครอบงาไว้ ด้วยอานาจกิเลสต่าง ๆ โดยมีแนวปฏิบัติ เป็ นขั้นตอน ๔ ระดับ คือ พิจารณากาย, ความรู้สึก (เวทนา), จิต, และธรรมที่เกิดใน จิต พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 5. สติปัฏฐาน ๔ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีคิดเกี่ยวกับร่างกายไว้ ๑๔ แบบ คือ อานาปานบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องอานาปานสติคือลมหายใจเข้าออก อิริยาบถบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ท่าทางของมนุษย์ ใน ๔ อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน สัมปชัญญบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องโคจรสัมปชัญญะ คือการเคลื่อนไหวของมนุษย์ ธาตุมนสิการบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ธาตุ ๔ คือ ดิน น้า ไฟ ลม ปฏิกูลมนสิการบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง กายคตาสติ คือ องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ทั้ง ๓๒ นวสีวถิกาบรรพ - อธิบายแนวพิจารณาคิดเรื่องนวสีหรือ ซากศพ ๙ วาระ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 6. สติปัฏฐาน ๔ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากการได้สัมผัสรับรู้ไว้ ๑ แบบ คือ เวทนาบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องเวทนา คือ ความรู้สึก สุข ทุกข์ เฉยๆ ที่เกิดจากการสัมผัสรับรู้ ที่เมื่อพิจารณาตามให้มาก แล้วจะสามารถละคลายอนุสัยกิเลสได้. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 7. สติปัฏฐาน ๔ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับ การรับรู้ไว้ ๑ แบบ คือ จิตตบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่องจิตคือ การรับรู้- ความคิดคานึงมี กิริยาจิต ทั้ง ๑๑ เป็นต้น ที่เมื่อพิจารณา ตามให้มากแล้วจะสามารถละคลายอนุสัยกิเลสได้ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 8. สติปัฏฐาน ๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อธิบายวิธีพิจารณาเกี่ยวกับการรับรู้ไว้ ๕ แบบ คือ นิวรณบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง จิตใจฝ่ายชั่วร้าย ๕ กลุ่ม ตามการจัดหมวดแบบนิวรณ์ ๕ ขันธบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง ร่างกายและจิตใจทั้งหมด ตามการจัดหมวดแบบขันธ์ ๕ อายตนบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง การรับรู้ทางประสาทสัมผัสทั้ง ๖ ตามการจัดหมวดแบบ อายตนะ๑๒ โดยพิจารณาตามการยึดติดที่ผูกมัดจิตของเหล่าสัตว์ของสังโยชน์ ๑๐ ที่ผูกจิตในทุก ปัจจุบันขณะ โพชฌังคบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง จิตใจฝ่ายดีงามพร้อมจะตรัสรู้ ๗ อย่าง อันส่งเสริม ปัญญา สัจจะบรรพ - อธิบายแนวคิดพิจารณาเรื่อง สภาวะอันเป็นปรมัตถ์ ตามการจัดหมวดแบบอริยสัจ ๔ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 9. สติปัฏฐาน ๔ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุควรเจริญธรรม ๔ ประการ ธรรม ๔ ประการ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๑.) พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจัด อภิชฌาและโทมนัสในโลกได้ ๒.) พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ... ๓.) พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ... ๔.) พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจัด อภิชฌาและโทมนัสในโลกได้ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุควรเจริญธรรม ๔ ประการนี้เพื่อรู้ยิ่งราคะ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต สติปัฏฐานสูตร
  • 10. สติปัฏฐาน ๔ หัวข้อหลัก มูลกาเนิดมหาสติปัฏฐานสูตร บาลีวิภังค์ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน สรุปความ อานิสงส์ อรรถกถาทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติ ปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เป็นสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสแก่ชาวกุรุ ซึ่งเป็นผู้ที่มีร่างกายจิตใจสมบูรณ์ เป็น แคว้นที่สัปปายะ ผู้คนมีความพร้อมจะรับฟังธรรมเทศนานี้หลังจากได้ฟังแล้ว ทุกคนในแคว้นต่างพากันเจริญสติปัฏฐานไม่มีเว้น กัมมัฏฐาน ๒๑ คือ อานาปานบรรพ ๑ จตุอิริยาบถบรรพ ๑ จตุสัมปชัญญบรรพ ๑ ทวัตดึงสาการ ๑ จตุธาตุววัฏฐานะ ๑ สีวถิกา ๙ เวทนานุปัสสนา ๑ จิตตา นุปัสสนา ๑ นีวรณปริคคหะ ๑ ขันธปริคคหะ ๑ อายตนปริคคหะ ๑ โพชฌงค ปริคคหะ ๑ สัจจปริคคหะ ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางดาเนินอันเอก เพื่อความหมดจดแห่งสัตว์ ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงโสกะและปริเทวะ เพื่อดับทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย ธรรม เพื่อทาให้แจ้งพระนิพพาน นี้คือ สติปัฏฐาน ๔ ด้วยประการฉะนี้คาอันใด อันเรากล่าวแล้วอย่างนี้คานั้นเราอาศัยทางอันเอกนี้กล่าวแล้ว
  • 11. สติปัฏฐาน ๔ อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูล ปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค สติ ปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ หัวข้อหลัก ที่มา เหตุที่ตรัสสติปัฏฐาน ๔ อย่าง มติของอรรถกถา พิจารณาดูกายโดยอิริยาบท เวทนานุปัสสนา แก้จิตตานุปัสสนา แก้ธรรมานุปัสสนา อานิสงส์การเจริญสติปัฏฐาน เหตุที่ตรัสสติปัฏฐาน ๔ อย่างเพราะทรงเกื้อกูลแก่เวไนยสัตว์ที่มีจริต ต่างกัน เช่น บุคคลผู้มีตัณหาจริตอ่อน พึงปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏ ฐาน บุคคลผู้มีตัณหาจริตกล้า พึงปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน บุคคลผู้มีทิฏฐิจริตอ่อน พึงปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน บุคคลผู้ มีทิฏฐิจริตกล้า พึงปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นต้น ฝ่ายพระโบราณาจารย์หมายเอาบุคคลผู้มีปัญญาแก่กล้า จึงกล่าวไว้ ว่า “บุคคลผู้มีปัญญาแก่กล้า ได้รับคาสอนในตอนเช้า ก็จักบรรลุคุณ วิเศษได้ในตอนเย็น ได้รับคาสอน ในตอนเย็น ก็จักบรรลุคุณวิเศษได้ ในตอนเช้า”
  • 12. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่า ทันตามความเป็นจริง, การมีสติกากับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูก ครอบงาด้วยความยินดียินร้าย ที่ทาให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอานาจกิเลส มี ๔ อย่างคือ ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณากาย, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาเวทนา, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันเวทนา ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการ ของจิต ๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันธรรม เรียกสั้นๆ ว่า กาย เวทนา จิต ธรรม โพธิปักขิยธรรม ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมที่เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี ๓๗ ประการ คือ สติปัฏ ฐาน ๔, สัมมัปปธาน ๔, อิทธิบาท ๔, อินทรีย์ ๕, พละ ๕, โพชฌงค์ ๗, มรรคมีองค์ ๘ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 13. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ (ที่ตั้งของสติ, การตั้งสติกาหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง คือ ตามที่สิ่งนั้นๆ มันเป็นของมันเอง - foundations of mindfulness) ๑.) กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณากายให้รู้เห็นตามเป็นจริง ว่า เป็นเพียงกาย ไม่ใช่สัตว์ บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of the body; mindfulness as regards the body) ท่านจาแนก ปฏิบัติไว้หลายอย่าง คือ อานาปานสติ กาหนดลมหายใจ ๑ อิริยาบถ กาหนดรู้ทันอิริยาบถ ๑ สัมปชัญญะ สร้าง สัมปชัญญะในการกระทาความเคลื่อนไหวทุกอย่าง ๑ ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาส่วนประกอบอันไม่สะอาด ทั้งหลายที่ประชุมเข้าเป็นร่างกายนี้๑ ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็นร่างกายของตนโดยสักว่าเป็นธาตุแต่ละอย่างๆ 1 นวสีวถิกา พิจารณาซากศพในสภาพต่างๆ อันแปลกกันไปใน ๙ ระยะเวลา ให้เห็นคติธรรมดาของร่างกาย ของ ผู้อื่นเช่นใด ของตนก็จักเป็นเช่นนั้น ๒.) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาเวทนา ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงเวทนา ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of feelings; mindfulness as regards feelings) คือ มีสติรู้ ชัดเวทนาอันเป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี เฉยๆ ก็ดี ทั้งที่เป็นสามิส และเป็นนิรามิสตามที่เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 14. สติปัฏฐาน ๔ ๓.) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาจิต ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงจิต ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind; mindfulness as regards thoughts) คือ มีสติรู้ชัดจิตของตนที่มีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มีโมหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว ฟุ้ งซ่านหรือเป็นสมาธิ ฯลฯ อย่างไรๆ ตามที่เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ ๔.) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียง ธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind-objects; mindfulness as regards ideas) คือ มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อริยสัจ ๔ ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ์ และดับไปได้อย่างไร เป็นต้น ตามที่เป็น จริงของมันอย่างนั้นๆ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 15. สติปัฏฐาน ๔ กล่าวถึงสติปัฏฐานไว้ว่าเป็นหลักธรรมในหมวด “สัมมาสติ” แปลว่า ที่ตั้งของสติ เป็นวิธีปฏิบัติ ที่มีพร้อมทั้งสมถะและวิปัสสนา ประกอบด้วย ๑.) กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การพิจารณากาย ตามดูรู้ทันกาย ๒.) เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันเวทนา ความรู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ ๓.) จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันจิตว่ามีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มี โมหะ ไม่มีโมหะ ๔.) ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน – การตามดูรู้ทันธรรม คือ นิวรณ์ ขันธ์ อายตนะ โพชฌงค์ และ อริยสัจ กล่าวว่าสติปัฏฐานไม่จาเป็นต้องปลีกวิเวกเท่านั้น แต่ปฏิบัติได้ในชีวิตประจาวันด้วย ซึ่งการ ปฏิบัติสติปัฏฐาน ไม่ได้ใช้แค่สติ แต่ยังต้องมีสมาธิ (อย่างน้อยในขั้นอ่อนๆ) อยู่ด้วย หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 16. สติปัฏฐาน ๔ กระบวนการปฏิบัติ – มีองค์ประกอบ ๒ ส่วนคือ ฝ่ายที่ ถูกกาหนดหรือตามรู้ทัน เช่น ร่างกาย หรือความคิด และ ฝ่ายที่คอยกาหนดหรือตามรู้ทัน คือ สติ และ สัมปชัญญะ การตามดูรู้ทัน คือการดูให้เห็นว่าเป็นอย่างไรเท่านั้น ไม่ ใส่ความรู้สึกหรือความเห็นใดๆ ผลของการปฏิบัติ – คุมกระแสความคิดให้บริสุทธิ์ ไม่ เปิดช่องให้กิเลส เมื่อจิตบริสุทธิ์ ก็จะเป็นอิสระจากกิเลส และเกิดปัญญารู้ตามเป็นจริง นาไปสู่ทางแห่งความพ้น ทุกข์ หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 17. สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ คือ การตั้งสติความระลึกได้ไว้ในกาย ในเวทนา ในจิต และในธรรม ตั้งสติพิจารณากาย ว่าด้วยลมหายใจเข้าออก อิริยาบถต่างๆ อาการต่างๆ ธาตุ ๔ ป่าช้า และ ศพ ตั้งสติพิจารณาเวทนา คือ กาหนดรู้ความสุข ความทุกข์ และความเป็นกลาง ตั้งสติพิจารณาจิต คือ กาหนดดูจิตใจ ว่ามี ราคะ โทสะ โมหะ หรือไม่ ตั้งสติพิจารณาธรรม คือ กาหนดดูธรรมะทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นในจิต คือ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และ อริยสัจ ๔ ทางปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔ คือ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม โดยเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพื่อให้เกิดปัญญา และปล่อยวาง หนังสือสัมมาทิฏฐิ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร)
  • 18. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน มี ๕ ส่วนคือ ๑.) นิวรณบรรพ – พิจารณาว่า กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา มีอยู่ ในจิตหรือไม่ จะเกิดขึ้นได้ด้วยประการใด จะละได้ด้วยประการใด เมื่อละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกด้วย ประการใด ๒.) ขันธบรรพ – พิจารณาถึงความเกิดขึ้น ความดับไป แห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ๓.) อายตนบรรพ – พิจารณาถึงอายตนะภายในและภายนอก รู้ชัดถึงสังโยชน์ที่อาศัยอายตนะ ภายในและภายนอกนั้นเกิดขึ้น รู้ชัดว่าจะละสังโยชน์ที่เกิดขึ้นแล้วได้อย่างไร รู้ชัดว่าสังโยชน์ที่ละได้ แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกด้วยประการใด พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 19. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๔.) โพชฌงค์ ๗ – พิจารณาว่า สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปีติ ปัสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา มีอยู่ภายในจิตหรือไม่ จะเกิดขึ้นได้ ด้วยประการใด จะเจริญบริบูรณ์ด้วยประการใด ๕.) อริยสัจ ๔ – พิจารณาตามความเป็นจริงว่าอุปทานขันธ์ ๕ (วงจรปฏิจสมุปบาท) เป็นทุกข์ ตัณหาและราคะเป็นสมุทัย ความดับแห่งตัณหาและราคะเป็นนิโรธ และมรรค ๘ คือทาง ดับแห่งทุกข์ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 20. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ดังพรรณนามานี้ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้ง ภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรม บ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรม คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อนึ่ง สติของเธอ ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึก เท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่น อะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณา เห็นธรรมในธรรม คือ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และ อริยสัจ ๔ อยู่ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐานสูตร
  • 21. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุเกิดกามฉันท์ - อโยนิโสมนสิการ (การใส่ใจโดยไม่แยบคาย) ในสุภนิมิต (สิ่งที่งาม อารมณ์ที่งาม) เหตุละกามฉันท์ - โยนิโสมนสิการ (การใส่ใจโดยแยบคาย) ในอสุภนิมิต (สิ่งที่ไม่งาม อารมณ์ที่ไม่ งาม) ธรรมสาหรับละกามฉันท์ - การเรียนอสุภนิมิต การบาเพ็ญอสุภภาวนา ความเป็นผู้คุ้มครองทวารไว้ ได้ในอินทรีย์ทั้งหลาย ความเป็นผู้รู้จักประมาณโภชนะ ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการสนทนาเรื่อง ที่เป็นสัปปายะ เหตุเกิดพยาบาท – อโยนิโสมนสิการในปฏิฆนิมิต (ความขุ่นใจ) เหตุละพยาบาท – โยนิโสมนสิการในเมตตาเจโตวิมุตติ (เจริญเมตตาทั้งอัปปนาสมาธิ และอุปจาร สมาธิ) ธรรมสาหรับละพยาบาท – การเรียนเมตตานิมิต การบาเพ็ญเมตตาภาวนา การพิจารณาว่าสัตว์ ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน ความเป็นผู้มากด้วยการพิจารณา ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการ สนทนาถึงเรื่องที่เป็นสัปปายะ อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
  • 22. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุเกิดถีนมิทธะ – อโยนิโสมนสิการในอรติ (ริษยา) ตันที (ขี้เกียจ) วิชัมภิตา (มึนเพราะอาหาร) และภัตตสัมมทะ (ความย่อหย่อนแห่งจิต) เหตุละถีนมิทธะ – โยนิโสมนสิการในอารภธาตุ (ความเพียรแรกเริ่ม) นิกกมธาตุ (ความเพียรขั้น สูงขึ้น) และ ปรักกมธาตุ (ความบากบั่น) ธรรมสาหรับละถีนมิทธะ - การเอานิมิตในการบริโภคมากเกินไป การผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ มนสิการถึงอาโลกสัญญา การอยู่ในที่กลางแจ้ง ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการสนทนาถึงเรื่องที่ เป็นสัปปายะ เหตุเกิดอุทธัจจกุกกุจจะ – อโยนิโสมนสิการในอวูปสมะ (ความไม่สงบแห่งใจ) เหตุละอุทธัจจกุกกุจจะ - โยนิโสมนสิการในความสงบแห่งใจ (สมาธิ) ธรรมสาหรับละอุทธัจจกุกกุจจะ – ความเป็นพหูสูต ความเป็นผู้สอบถาม ความเป็นผู้รู้ปกติใน พระวินัย การคบหาคนเจริญแล้ว ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการกล่าวถ้อยคาที่เป็นสัปปายะ อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
  • 23. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุเกิดวิจิกิจฉา - อโยนิโสมนสิการในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งวิจิกิจฉา. ความเคลือบแคลง สงสัย เหตุละวิจิกิจฉา - โยนิโสมนสิการในธรรมมีกุศล ธรรมสาหรับละวิจิกิจฉา - ความเป็นพหูสูต ความเป็นผู้สอบถาม เป็นผู้รู้ปกติในพระวินัย ความ เป็นผู้มากด้วยอธิโมกข์ ความเป็นผู้มีกัลยาณมิตร และการกล่าวถ้อยคาที่เป็นสัปปายะ สติกาหนดนิวรณ์เป็นอริยสัจ ๔ - สติอันกาหนดนิวรณ์เป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ บัณฑิตพึง ทราบว่าเป็นทางปฏิบัตินาออกจากทุกข์ของภิกษุผู้กาหนดนิวรณ์เป็นอารมณ์ อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - นิวรณบรรพ
  • 24. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อุปาทานขันธ์ ๕ คือกองอุปาทาน คือกลุ่มธรรมอันเป็นปัจจัยแห่งอุปาทาน พึงพิจารณาว่า นี้คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณอื่นนอกจากนี้ไม่มี ความเกิดแห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยความเกิดแห่งอวิชชาเป็นต้นย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้ความดับแห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โดยดับอวิชชาเป็นต้นย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้ พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายของตน ในธรรมทั้งหลายของคนอื่น หรือในธรรมทั้งหลายของตน ตามกาล ของคนอื่นตามกาล ด้วยการกาหนดขันธ์ ๕ อย่างนี้อยู่ ก็ความเกิดและความเสื่อมในคาว่า พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดและความเสื่อม บัณฑิตพึงนามาเทียบเคียงโดยลักษณะขันธ์ ๕ ว่า เพราะอวิชชาเกิด รูปจึงเกิดดังนี้เป็นต้น สติกาหนดขันธ์เป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ ดังนี้แล้ว พึงทราบว่า เป็นทางปฏิบัตินาออกจากทุกข์ของ ภิกษุผู้กาหนดขันธ์เป็นอารมณ์ อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - ขันธบรรพ
  • 25. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน รู้ชัดอายตนะภายในและภายนอก รู้ชัดถึงสังโยชน์ที่อาศัยอายตนะภายในและภายนอกเกิดขึ้นมา เช่น เมื่อเกิดอารมณ์ยินดีเพลิดเพลินในรูปที่มากระทบตา สังโยชน์คือ กามราคะ ก็เกิด เป็นต้น รู้เหตุละ สังโยชน์ ว่าเกิดขึ้นแล้วจะละได้อย่างไร เมื่อละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นอีกได้อย่างไร นั่นคือ สังโยชน์ ๕ จะ ละได้ด้วยโสดาปัตติมรรค สังโยชน์ ๒ อย่างหยาบ จะละได้ด้วยสกทาคามิมรรค สังโยชน์ ๒ อย่าง ละเอียดจะละได้ด้วย อนาคามิมรรค และสังโยชน์ ๓ เบื้องสูงจะละได้ด้วย อรหัตตมรรค พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายของตน ด้วยการกาหนดอายตนะภายใน ในธรรมทั้งหลายของคนอื่น ด้วยการกาหนดอายตนะภายนอก หรือในธรรมทั้งหลายของตนตามกาล ของคนอื่นตามกาล อย่างนี้อยู่ ก็ความเกิดและความเสื่อมในอายตนบรรพนี้พึงนามาเทียบรูปายตนะลงในรูปขันธ์ มนายตนะในอรู ปายตนะทั้งหลายลงในวิญญาณขันธ์ ธัมมายตนะลงในขันธ์ที่เหลือ ไม่พึงถือว่า โลกุตตรธรรม สติกาหนดอายตนะเป็นอารมณ์ เป็นทุกขสัจ ดังนี้เป็นต้นแล้ว พึงทราบว่า เป็นทางปฏิบัตินาทุกข์ออกไป ของภิกษุผู้กาหนดอายตนะเป็นอารมณ์ อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - อายตนบรรพ
  • 26.
  • 27. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุเกิดแห่งสติสัมโพชฌงค์ - สติสัมปชัญญะ - การเว้นจากบุคคลผู้มีสติหลงลืม - การคบหาสมาคมกับบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น - ความเป็นผู้น้อมไปหาสตินั้น เหตุเกิดแห่งธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ - การสอบถาม - การทาวัตถุให้ผ่องใส - การปรับอินทรีย์ให้สม่าเสมอ - การเว้นบุคคลผู้มีปัญญาทราม - การคบหาสมาคมกับผู้มีปัญญา - การพิจารณาความประพฤติด้วยญาณอันลึกซึ้ง - การน้อมใจไปในธัมมวิจยะนั้น เหตุเกิดแห่งวิริยสัมโพชฌงค์ - การพิจารณาเห็นภัยในอบาย - การเห็นอานิสงส์ - การพิจารณาเห็นทางดาเนินไป - การประพฤติอ่อนน้อมต่อบิณฑบาต - การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดย ความเป็นทายาท - การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่ของพระ ศาสดา - การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดยชาติ - การพิจารณาเห็นความเป็นใหญ่โดยเป็น เพื่อนสพรหมจารี - การเว้นบุคคลผู้เกียจคร้าน - การคบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร - ความเป็นผู้มีจิตน้อมไปในวิริย สัมโพชฌงค์นั้น อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ – โพชฌงคบรรพ
  • 28. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุเกิดแห่งปีติสัมโพชฌงค์ - พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุส สติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตา นุสสติ และอุปสมานุสสติ - การหลีกเว้นบุคคลผู้เป็นโทษ - การคบหาบุคคลผู้เป็นคุณ - การพิจารณาถึงพระสูตรอันเป็นที่ตั้ง แห่งความเลื่อมใส - ความเป็นผู้น้อมไปในปีติสัม โพชฌงค์นั้น เหตุเกิดแห่งปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ - การบริโภคโภชนะอันประณีต - การเสพสุขตามฤดู - การเสพสุขตามอิริยาบถ - ความเป็นผู้มีมัชฌัตตัปปโยคะ - การหลีกเว้นบุคคลผู้มีกาย กระสับกระส่าย - การคบหาบุคคลผู้มีกายสงบ - ความเป็นผู้น้อมไปในปัสสัทธิ สัมโพชฌงค์นั้น อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - โพชฌงคบรรพ
  • 29. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานเหตุเกิดแห่งสมาธิสัมโพชฌงค์ - การทาวัตถุให้สะอาดหมดจด - การประคับประคองอินทรีย์ให้ดาเนินไป อย่างสม่าเสมอ - ความเป็นผู้ฉลาดในนิมิต - การยกจิตในสมัย (ที่ควรยก) - การข่มจิตในสมัย (ที่ควรข่ม) - การทาจิตให้ร่าเริงในสมัย (ที่ควรทาจิตให้ ร่าเริง) - การเพ่งดูจิตเฉยๆ ในสมัย (ที่ควรเพ่งดู) - การหลีกเว้นบุคคลผู้มีจิตไม่เป็นสมาธิ - การคบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ - การพิจารณาฌานและวิโมกข์ - ความเป็นผู้น้อมไปในสมาธิสัมโพชฌงค์ นั้น เหตุเกิดแห่งอุเบกขาสัมโพชฌงค์ - ความเป็นผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์ - ความเป็นผู้วางตนเป็นกลางในสังขาร - การหลีกเว้นบุคคลผู้ผูกพันในสัตว์สังขาร - การคบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์สังขาร - ความเป็นผู้น้อมไปในอุเบกขาสัมโพชฌงค์นั้น สติที่กาหนดโพชฌงค์เป็นทุกขสัจอย่างเดียว นักศึกษาพึงทราบทางแห่งธรรมเครื่องนาออก ของภิกษุผู้กาหนดโพชฌงค์ เพราะการ ประกอบความดังว่ามานี้แล อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - โพชฌงคบรรพ
  • 30. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน รู้ชัดถึงอริยสัจ ๔ คือ รู้ว่า ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาส เป็นทุกข์ รู้ว่า กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา เป็นสมุทัย (เหตุให้เกิดทุกข์) รู้ว่า ภาวะที่ตัณหาดับไป เป็นนิโรธ (ความดับแห่งทุกข์) รู้ว่า มรรค ๘ เป็นทางอันเจริญไปสู่นิโรธ (ทางสู่ความดับแห่งทุกข์) สติเครื่องกาหนดสัจจะ ๔ เป็นทุกขสัจอย่างเดียว บัณฑิตพึงทราบ ทางแห่งธรรมเป็นเครื่องนาออกของภิกษุผู้กาหนดสัจจะ เพราะการ ประกอบความดังว่ามานี้แล อรรถกถาของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ เล่มที่ ๑๒ - สัจจบรรพ
  • 31. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฉบับประมวลศัพท์ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกากับดูรู้เท่าทันธรรม ฉบับประมวลธรรม ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (การตั้งสติกาหนดพิจารณาธรรม ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียง ธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา - contemplation of mind-objects; mindfulness as regards ideas) คือ มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลาย ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อริยสัจ ๔ ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ์ และดับไปได้อย่างไร เป็น ต้น ตามที่เป็นจริงของมันอย่างนั้นๆ. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ และประมวลธรรม
  • 32. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนา การตามดูรู้ทันธรรม คือ ๑.) นิวรณ์ คือ รู้ชัดในขณะนั้นๆ ว่า นิวรณ์๕ แต่ละอย่างๆ มีอยู่ในใจตนหรือไม่ที่ยังไม่เกิด เกิด ขึ้นได้อย่างไร ที่เกิดขึ้นแล้ว ละเสียได้อย่างไร ที่ละได้แล้ว ไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปอย่างไร รู้ชัดตามที่ เป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ ๒.) ขันธ์ คือ กาหนดรู้ว่าขันธ์๕ แต่ละอย่าง คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร ดับไปได้อย่างไร ๓.) อายตนะ คือ รู้ชัดในอายตนะภายในภายนอกแต่ละอย่างๆ รู้ชัดในสัญโญชน์ที่เกิดขึ้นเพราะ อาศัยอายตนะนั้นๆ รู้ชัดว่าสัญโญชน์ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้นได้อย่างไร ที่เกิดขึ้นแล้ว ละเสียได้ อย่างไร ที่ละได้แล้ว ไม่เกิดขึ้นได้อีกต่อไปอย่างไร ๔.) โพชฌงค์ คือ รู้ชัดในขณะนั้นๆ ว่า โพชฌงค์๗ แต่ละอย่างๆ มีอยู่ในใจตนหรือไม่ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้นได้อย่างไรที่เกิดขึ้นแล้ว เจริญเต็มบริบูรณ์ได้อย่างไร ๕.) อริยสัจ คือ รู้ชัดอริยสัจ ๔ แต่ละอย่างๆ ตามความเป็นจริง ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร หนังสือพุทธธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์)
  • 33. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตั้งสติพิจารณาธรรม กาหนดดูธรรมะทั้งหลายที่เกิดขึ้น ในจิต ตั้งแต่ - ตั้งสติกาหนดดูนิวรณ์ ๕ คือกิเลสที่เป็นเครื่องกั้นจิต มีกามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุธัจจกุกกุจจะ และ วิจิกิจฉา ว่ามีอยู่ในจิตหรือไม่ - ตั้งสติกาหนดดูความเกิด ดับ ของขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ - ตั้งสติดูอายตนะภายในและภายนอกทั้ง ๖ ที่กระทบกัน และเกิดสังโยชน์ขึ้น ให้รู้ความ เกิดของสังโยชน์ ความดับของสังโยชน์ และสังโยชน์ที่ดับแล้วจะไม่เกิดขึ้น - ตั้งสติกาหนดดูโพชฌงค์ ๗ คือ องค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ และทาให้เจริญขึ้น - ตั้งสติกาหนดดูอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค หนังสือสัมมาทิฏฐิ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร)
  • 34.
  • 35. ฝากทิ้งท้าย ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็ นที่ไปอันเอก เพื่อ ความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและ ปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์โทมนัส เพื่อ บรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ประการ ฉะนี้แล คาที่ เรากล่าว ดังพรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมร รคกล่าวแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้ แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ยินดี ชื่นชมภาษิตของพระผู้มี พระภาคแล้ว ฉะนี้แล ฯ (พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆ นิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร)
  • 36. บรรณานุกรม ๑. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร ๒. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มหาสติปัฏฐาน สูตร ๓. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต สติปัฏฐานสูตร ๔. อรรถกถาทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ๕. อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค สติปัฏฐานสูตร อรรถาธิบาย เนื้อความ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ ๖. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต) ๗. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต) ๘. หนังสือพุทธธรรม ฉบับขยายความ (โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต) ๙. หนังสือสัมมาทิฏฐิ ตามเถราธิบายของท่านพระสารีบุตรเถระ (โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก)
  • 37. จบการนาเสนอ ขอขอบพระคุณในการติดตามชม หวังว่าการนาเสนอครั้งนี้ จะทาให้ท่านได้รู้จักและเห็นถึงคุณค่าของสติปัฏฐาน ๔ อัน เป็นทางสายเอกที่มุ่งสู่การหลุดพ้น เข้าใจรายละเอียดของ สติปัฏฐานในหมวดธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานอย่างแจ่มแจ้ง และเกิดประโยชน์แก่การศึกษาพุทธศาสนาของทุกท่านทั้ง ทางปริยัติและปฏิบัติต่อไป ขออนุโมทนาในบุญทุกประการของทุกท่าน และขอให้ทุกท่านเจริญร่มเย็นในธรรม ตลอดกาลเทอญ สาธุ...