SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
ประวัตและความเป็ นมาภาษาบาลี
ิ
โครงร่ างเนือหาสาระ
้
• ความเป็ นมาและพัฒนาการของภาษาบาลี
• ความสาคัญและประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี
• หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๑ – ๙
• โครงสร้ างบาลีไวยกรณ์
ความหมายของภาษาบาลี
• ”บาลี" หมายถึง ภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ เอาไว้
• ภาษาบาลีมีลักษณะเฉพาะตัวคือ คาทุกคา ไม่ ว่าจะเป็ นคานามหรื อ
คากริยา ล้ วนแต่ มีรากศัพท์ หรื อผ่ านการประกอบรู ปศัพท์ ทังสิน ไม่ ใช่
้ ้
จะสาเร็จเป็ นคาศัพท์ เลยทีเดียว และเมื่อจะนาไปใช้ จะต้ องมีการแจก
รู ปเสียก่ อน เพื่อทาหน้ าที่ต่างๆ ในประโยคเช่ น เป็ นประธาน เป็ นกรรม
เป็ นต้ น
• ภาษาไทยรั บเอาคาบาลีและสันสกฤตมาใช้ ในภาษาไทยค่ อนข้ างมาก
อาจกล่ าวได้ ว่ามากกว่ าภาษาอื่นๆ
กาเนิดภาษาบาลี
• ภาษาบาลี ไม่ ปรากฏที่มาที่ชัดเจน และเป็ นที่ถกเถียงเรื่ อยมาโดยไม่ มี
ข้ อสรุ ป
• พระพุทธโฆสาจารย์ อธิบายว่ าภาษาบาลีเป็ น "สกานิรุตติ" คือภาษาที่
พระพุทธเจ้ าตรั ส พระพุทธเจ้ าทรงแสดงธรรมด้ วยภาษาบาลี เพราะใน
สมัยนัน ประเทศอินเดียมีภาษาหลักอยู่ ๒ ตระกูล คือ ภาษาปรากฤต
้
และ ภาษาสันสกฤต
ตระกูลภาษาปรากฤต
แบ่ งย่ อยออกเป็ น ๖ ภาษา คือ
• ภาษามาคธี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นมคธ
ู
่
• ภาษามหาราษฎรี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นมหาราษฎร์
ู
่
• ภาษาอรรถมาคธี ภาษากึงมาคธี เรี ยกอีกอย่างหนึงว่า ภาษาอารษ
่
่
ปรากฤต
• ภาษาเศารนี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นศูรเสน
ู
่
• ภาษาไปศาจี ภาษี ปีศาจ หรื อภาษาชันต่า
้
• ภาษาอปภรั งศ ภาษาปรากฤตรุ่นหลังที่ไวยากรณ์ได้ เปลี่ยนไปเกือบ
หมดแล้ ว
ภาษาบาลี ใช้ ถ่ายทอดเผยแผ่ และบันทึกพุทธพจน์ เรื่อยมา จน
กลายเป็ นภาษาที่ใช้ เป็ นหลัก ในพระพุทธศาสนานิกายเถร
วาท มีพระไตรปิ ฎกเป็ นต้ น ในการเขียนภาษาบาลีไม่ มีอักษร
ชนิดใด สาหรับใช้ เขียนโดยเฉพาะสันนิษฐานว่ า น่ าจะเป็ น
อักษรมาคธี แต่ สามารถประยุกต์ ใช้ กับภาษาของประเทศนัน
้
ๆ ที่พระพุทธศาสนาเผยแผ่ ถึง เช่ น พระพุทธศาสนาเผยแผ่ ถึง
ประเทศไทย ก็ใช้ อักษรไทย เป็ นต้ น
พัฒนาการของภาษาบาลี
ยุคคาถา (Gatha Language)
มีลักษณะเหมือนภาษาอินเดียโบราณ เพราะการใช้ คายังเกี่ยวข้ องกับภาษาไวทิกะที่
ใช้ บนทึกคัมภีร์พระเวท
ั
ยุคร้ อยแก้ ว (Prose Language)
ได้ แก่ ภาษาร้ อยแก้ ว ที่มีในพระไตรปิ ฎก
ยุคร้ อยแก้ วระยะหลัง (Post-canonical Prose Language)
เรียกชื่ออีกอย่ างว่ า “ร้ อยแก้ วรุ่ นอรรถกถา” ได้ แก่ บทร้ อยแก้ วที่แต่ งขึนทีหลัง โดย
้
พระอรรถกถาจารย์ ต่างๆ
ยุคร้ อยกรองประดิษฐ์ (Artificial Poetry)
ภาษาที่ใช้ ในยุคนีเ้ ป็ นการผสม ผสานระห่ วงภาษาเก่ าและภาษาใหม่ เพื่อให้ ไพเราะ
ดูและสวยงามและเหมาะสมกับการเวลาในช่ วงนันๆ
้
สาเหตุท่ เปลี่ยนชื่อจากภาษามาคธี
ี
เป็ นภาษาบาลี
• ถ้ อยคาสานวนของภาษามาคธีหรื อภาษาของชาวมคธสมัยพุทธกาล ก็ได้
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลากลายเป็ นภาษามาคธีในยุคใหม่ จึงเรี ยกเสียใหม่
ว่า “ภาษาบาลี” เพื่อตัดปั ญหาความเข้ าใจผิดที่จะนาภาษาบาลีไปเปรี ยบเทียบ
กับภาษามาคธีสมัยใหม่
• เนื่องด้ วยพระพุทธเจ้ าได้ ทรงปรับปรุงแก้ ไขภาษาสุทธมาคธี ซึงชันเดิมเป็ น
่ ้
ภาษาปรากฤตให้ ดีขึ ้น เมื่อเป็ นภาษามาคธีที่ดีและไพเราะขึ ้นด้ วยอานุภาพของ
พระพุทธเจ้ าแล้ ว ภาษามาคธีก็มีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า “บาลี“ ซึงแปลว่า
่
่
“แบบแผน“
ความสาคัญของภาษาบาลี
• เป็ นภาษาอันเป็ นโวหารของพระพุทธเจ้ า (สัมพุทธโวหารภาสา)
• เป็ นภาษาอันเป็ นโวหารของพระอริยเจ้ า (อริยโวหารภาสา)
• เป็ นภาษาที่ใช้ บนทึกสภาวธรรม (ยถาภุจจพรหมโวหารภาสา)
ั
• เป็ นภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ (ปาลีภาสา)
ความสาคัญของภาษาบาลี (ต่ อ)
นอกจากนี ้ นักไวยากรณ์บาลียงได้ กล่าวถึงความสาคัญภาษาบาลีไว้ ดงนี ้
ั
ั
• มูลภาสา คือภาษาหลักหรื อภาษาดังเดิมของเสฏฐบุคคล ๔ จาพวกคือ อาทิ
้
กัปปิ ยบุคคล พรหม อัสสุตาลาปบุคคล และ พระสัมพุทธเจ้ า
• นติภาสา คือภาษาที่มีแบบแผน มีกฎไวยากรณ์ ดี
• สกานิรุตติ คือ ภาษาที่พระพุทธเจ้ าตรัสและเป็ นภาษาหลักในการประกาศ
• อุตตมภาสา คือภาษาชันสูง การที่ภาษาบาลีจดเป็ นอุตตมภาสานัน พระเทพ
้
ั
้
เมธาจารย์ (เช้ า ฐิ ตปญโญ) เพราะเป็ นภาษาที่พระพุทธเจ้ าทรงใช้ ประกาศ
ศาสนา, เป็ นภาษาที่ใช้ ในการสังคายนา, เป็ นภาษาที่ใช้ ในการสวดมนต์
ประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี
ประโยชน์ ในการศึกษาพุทธศาสนา
ประโยชน์ลาดับแรกในการศึกษาภาษาบาลีก็คือ ช่วยให้ เกิดความเข้ าใจใน
ความหมายของศัพท์ธรรมะในพระพุทธศาสนายิ่งขึ ้น ทาให้ ผ้ ศกษาสามารถ
ู ึ
เข้ าใจคาสอนที่อยูในพระไตรปิ ฎกฉบับภาษาบาลี ซึงเป็ นหลักฐานชันแรกสุดได้
่
่
้
เป็ นอย่างดี พระไตรปิ ฎกภาษาบาลีถือว่าเป็ นคัมภีร์ทางพุทธศาสนาที่มีคณค่า
ุ
อย่างยิ่งยวด เป็ นคัมภีร์ที่รักษาพุทธพจน์ได้ อย่างชัดเจนที่สด การทาความเข้ าใจ
ุ
กับคัมภีร์ชนแรกสุด เป็ นการปองกันการเข้ าใจหรื อการแปลภาษาที่ผิดพลาดไป
ั้
้
ได้ อย่างดีที่สด
ุ
ประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี (ต่ อ)
ประโยชน์ ทางด้ านภาษา
• ทาให้ เข้ าใจความหมายของคาต่างๆ เช่นคาราชาศัพท์, ชื่อสถานที่ตางๆ, ชื่อวัด,
่
ชื่อคน, ชื่อเดือน, คาในบทร้ อยกรองต่างๆ และคาในวรรณคดี ได้ เป็ นอย่างดี
• ใช้ คา หรื อประกอบคาภาษาบาลีได้ อย่างถูกต้ อง เช่นคาว่า อานิสงส์ (มาจาก
ภาษาบาลีคือ อานิสส) หากไม่เข้ าใจอาจใช้ ผิดไปเป็ น อานิสงส์
• ช่วยให้ เรี ยนภาษาไทยหรื อไวยากรณ์ไทยได้ ง่าย
• ช่วยให้ สามารถใช้ คาภาษาบาลีได้ อย่างไพเราะสละสลวย ทังในบทร้ อยกรอง
้
และร้ อยแก้ ว
• ช่วยในการบัญญัติศพท์ วิทยาการสมัยใหม่แขนงต่างๆ
ั
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๑-๒
ประโยค ๑
๑. วิชาบาลีไวยากรณ์ หลักสูตรใช้ หนังสือ บาลีไวยากรณ์ประเภทสอบถาม
ความจา

ประโยค ๒
๑. วิชาแปลมคธเป็ นไทย โดยพยัญชนะและโดยอรรถ หลักสูตรใช้ หนังสือ
ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๑-๔
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๓
๑.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย โดยพยัญชนะและโดยอรรถ หลักสูตรใช้ หนังสือ
ธมฺมปทฏฺกถา ภาค ๕-๘
๒.) วิชาสัมพันธ์ไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๕-๘
๓.) วิชาบาลีไวยากรณ์ หลักสูตรใช้ หนังสือ บาลีไวยากรณ์ ประเภทสอบถาม
ความจาและความเข้ าใจประกอบกัน
๔.) วิชาบุรพภาค ข้ อเขียนภาษาไทย โดยแก้ ไขให้ ถกต้ องตามระเบียบลักษณะ
ู
วรรคตอน
ตัวอักษรตามสมัยนิยม หลักสูตรใช้ หนังสือที่ควรรู้ เช่น จดหมายทางราชการ เป็ น
ต้ น
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๔ - ๕
ประโยค ป.ธ. ๔
๑. วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑-๒
๒. วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใชัหนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๑
ประโยค ป.ธ. ๕
๑. วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๓-๕
๒. วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใชัหนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๒
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๖
๑.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธหลักสูตรใช้ หนังสือ ตติยสมันตปาสาทิกา – ปั ญจม
สมันตปาสาทิกา
๒.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ตติย-จตุตฺถ-ปญฺจมสมนฺตปาสาทิกา
หมายเหตุ
แต่ในการสอบกรรมการจะแปลประโยคที่ออกสอบเป็ นความไทยโดยสันทัด
หรื ออาจดัดแปลงสานวนและท้ องเรื่ อง หรื อตัดตอนที่ตางๆ มาเรี ยงติดต่อกันเป็ น
่
ประโยค สอบไล่ก็ได้
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๗
๑.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล – ทุติย
สมันตปาสาทิกาแปล
๒.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐม-ทุติยสมนฺตปาสาทิกา
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๘
๑.) วิชาแต่งฉันท์มคธ แต่งฉันท์เป็ นภาษามคธ ๓ ฉันท์ใน จานวน ๖ ฉันท์ คือ
(๑) ปั ฐยาวัตร (๒) อินทรวิเชียร
(๓) อุเปนทรวิเชียร (๔) อินทรวงศ์
(๕) วังสัฏฐะ (๖) วสันตดิลก
หมายเหตุ ข้ อความแล้ วแต่กรรมการจะกาหนดให้
๒.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐมสมนฺต-ปาสาทิกา และวิสทธิ
ุ
มรรคแปล
๓.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ วิสทฺธิมคฺค
ุ
หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๙
๑.) วิชาแต่งไทยเป็ นมคธ แต่งมคธจากภาษาไทยล้ วนข้ อความแล้ วแต่กรรมการจะ
กาหนดให้
๒.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ อภิธมมัตถสังคหบาลี และ
ั
อภิธมมัตถวิภาวีนีฎีกา
ั
๓.) วิชาแปลมคธเป็ นไทยหลักสูตรใช้ หนังสือ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี
บาลีไวยกรณ์
วจีวภาค
ิ

อักขรวิธี

นาม

สมัญญาภิธาน

อัพพยยศัพท์

สนธิ

อาขยาต
กิตก์
สมาส
ตัทธิต

วจีวิภาค – ส่วน
แห่งคาพูด ๖ อย่าง
อักขรวิธี – อักษร
ในภาษาบาลี
(เรี ยนในหลักสูตร
เปรี ยญธรรม
ประโยค ๑-๒)

วากยสัมพันธ์
ว่ าด้ วยการสัมพันธ์
คาพูดในประโยค
(เรี ยนในหลักสูตร
เปรี ยญธรรม
ประโยค ๓)

ฉันทลักษณ์
ว่ าด้ วยการแต่ ง
ฉันท์
(เรี ยนในหลักสูตร
เปรี ยญธรรม
ประโยค ๘)
ศึกษาภาษาบาลีเพิ่มเติม ได้ ท่ ี
www.buddhabucha.net/pali

Contenu connexe

Tendances

การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระkingkarn somchit
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
โครงเรื่อง
โครงเรื่องโครงเรื่อง
โครงเรื่องjustymew
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์Parit_Blue
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 

Tendances (20)

การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
โครงเรื่อง
โครงเรื่องโครงเรื่อง
โครงเรื่อง
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 

En vedette

ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นPrasit Koeiklang
 
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82Korrakot Intanon
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีTheyok Tanya
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

En vedette (11)

ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 

Similaire à ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 

Similaire à ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี (20)

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha

โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 

Plus de Anchalee BuddhaBucha (11)

โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดียพุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
พุทธศาสนาเถรวาทในอินเดีย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 

ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี

  • 1. ประวัตและความเป็ นมาภาษาบาลี ิ โครงร่ างเนือหาสาระ ้ • ความเป็ นมาและพัฒนาการของภาษาบาลี • ความสาคัญและประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี • หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๑ – ๙ • โครงสร้ างบาลีไวยกรณ์
  • 2. ความหมายของภาษาบาลี • ”บาลี" หมายถึง ภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ เอาไว้ • ภาษาบาลีมีลักษณะเฉพาะตัวคือ คาทุกคา ไม่ ว่าจะเป็ นคานามหรื อ คากริยา ล้ วนแต่ มีรากศัพท์ หรื อผ่ านการประกอบรู ปศัพท์ ทังสิน ไม่ ใช่ ้ ้ จะสาเร็จเป็ นคาศัพท์ เลยทีเดียว และเมื่อจะนาไปใช้ จะต้ องมีการแจก รู ปเสียก่ อน เพื่อทาหน้ าที่ต่างๆ ในประโยคเช่ น เป็ นประธาน เป็ นกรรม เป็ นต้ น • ภาษาไทยรั บเอาคาบาลีและสันสกฤตมาใช้ ในภาษาไทยค่ อนข้ างมาก อาจกล่ าวได้ ว่ามากกว่ าภาษาอื่นๆ
  • 3. กาเนิดภาษาบาลี • ภาษาบาลี ไม่ ปรากฏที่มาที่ชัดเจน และเป็ นที่ถกเถียงเรื่ อยมาโดยไม่ มี ข้ อสรุ ป • พระพุทธโฆสาจารย์ อธิบายว่ าภาษาบาลีเป็ น "สกานิรุตติ" คือภาษาที่ พระพุทธเจ้ าตรั ส พระพุทธเจ้ าทรงแสดงธรรมด้ วยภาษาบาลี เพราะใน สมัยนัน ประเทศอินเดียมีภาษาหลักอยู่ ๒ ตระกูล คือ ภาษาปรากฤต ้ และ ภาษาสันสกฤต
  • 4. ตระกูลภาษาปรากฤต แบ่ งย่ อยออกเป็ น ๖ ภาษา คือ • ภาษามาคธี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นมคธ ู ่ • ภาษามหาราษฎรี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นมหาราษฎร์ ู ่ • ภาษาอรรถมาคธี ภาษากึงมาคธี เรี ยกอีกอย่างหนึงว่า ภาษาอารษ ่ ่ ปรากฤต • ภาษาเศารนี ภาษาที่ใช้ พดกันอยูในแคว้ นศูรเสน ู ่ • ภาษาไปศาจี ภาษี ปีศาจ หรื อภาษาชันต่า ้ • ภาษาอปภรั งศ ภาษาปรากฤตรุ่นหลังที่ไวยากรณ์ได้ เปลี่ยนไปเกือบ หมดแล้ ว
  • 5. ภาษาบาลี ใช้ ถ่ายทอดเผยแผ่ และบันทึกพุทธพจน์ เรื่อยมา จน กลายเป็ นภาษาที่ใช้ เป็ นหลัก ในพระพุทธศาสนานิกายเถร วาท มีพระไตรปิ ฎกเป็ นต้ น ในการเขียนภาษาบาลีไม่ มีอักษร ชนิดใด สาหรับใช้ เขียนโดยเฉพาะสันนิษฐานว่ า น่ าจะเป็ น อักษรมาคธี แต่ สามารถประยุกต์ ใช้ กับภาษาของประเทศนัน ้ ๆ ที่พระพุทธศาสนาเผยแผ่ ถึง เช่ น พระพุทธศาสนาเผยแผ่ ถึง ประเทศไทย ก็ใช้ อักษรไทย เป็ นต้ น
  • 6. พัฒนาการของภาษาบาลี ยุคคาถา (Gatha Language) มีลักษณะเหมือนภาษาอินเดียโบราณ เพราะการใช้ คายังเกี่ยวข้ องกับภาษาไวทิกะที่ ใช้ บนทึกคัมภีร์พระเวท ั ยุคร้ อยแก้ ว (Prose Language) ได้ แก่ ภาษาร้ อยแก้ ว ที่มีในพระไตรปิ ฎก ยุคร้ อยแก้ วระยะหลัง (Post-canonical Prose Language) เรียกชื่ออีกอย่ างว่ า “ร้ อยแก้ วรุ่ นอรรถกถา” ได้ แก่ บทร้ อยแก้ วที่แต่ งขึนทีหลัง โดย ้ พระอรรถกถาจารย์ ต่างๆ ยุคร้ อยกรองประดิษฐ์ (Artificial Poetry) ภาษาที่ใช้ ในยุคนีเ้ ป็ นการผสม ผสานระห่ วงภาษาเก่ าและภาษาใหม่ เพื่อให้ ไพเราะ ดูและสวยงามและเหมาะสมกับการเวลาในช่ วงนันๆ ้
  • 7. สาเหตุท่ เปลี่ยนชื่อจากภาษามาคธี ี เป็ นภาษาบาลี • ถ้ อยคาสานวนของภาษามาคธีหรื อภาษาของชาวมคธสมัยพุทธกาล ก็ได้ เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลากลายเป็ นภาษามาคธีในยุคใหม่ จึงเรี ยกเสียใหม่ ว่า “ภาษาบาลี” เพื่อตัดปั ญหาความเข้ าใจผิดที่จะนาภาษาบาลีไปเปรี ยบเทียบ กับภาษามาคธีสมัยใหม่ • เนื่องด้ วยพระพุทธเจ้ าได้ ทรงปรับปรุงแก้ ไขภาษาสุทธมาคธี ซึงชันเดิมเป็ น ่ ้ ภาษาปรากฤตให้ ดีขึ ้น เมื่อเป็ นภาษามาคธีที่ดีและไพเราะขึ ้นด้ วยอานุภาพของ พระพุทธเจ้ าแล้ ว ภาษามาคธีก็มีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า “บาลี“ ซึงแปลว่า ่ ่ “แบบแผน“
  • 8. ความสาคัญของภาษาบาลี • เป็ นภาษาอันเป็ นโวหารของพระพุทธเจ้ า (สัมพุทธโวหารภาสา) • เป็ นภาษาอันเป็ นโวหารของพระอริยเจ้ า (อริยโวหารภาสา) • เป็ นภาษาที่ใช้ บนทึกสภาวธรรม (ยถาภุจจพรหมโวหารภาสา) ั • เป็ นภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ (ปาลีภาสา)
  • 9. ความสาคัญของภาษาบาลี (ต่ อ) นอกจากนี ้ นักไวยากรณ์บาลียงได้ กล่าวถึงความสาคัญภาษาบาลีไว้ ดงนี ้ ั ั • มูลภาสา คือภาษาหลักหรื อภาษาดังเดิมของเสฏฐบุคคล ๔ จาพวกคือ อาทิ ้ กัปปิ ยบุคคล พรหม อัสสุตาลาปบุคคล และ พระสัมพุทธเจ้ า • นติภาสา คือภาษาที่มีแบบแผน มีกฎไวยากรณ์ ดี • สกานิรุตติ คือ ภาษาที่พระพุทธเจ้ าตรัสและเป็ นภาษาหลักในการประกาศ • อุตตมภาสา คือภาษาชันสูง การที่ภาษาบาลีจดเป็ นอุตตมภาสานัน พระเทพ ้ ั ้ เมธาจารย์ (เช้ า ฐิ ตปญโญ) เพราะเป็ นภาษาที่พระพุทธเจ้ าทรงใช้ ประกาศ ศาสนา, เป็ นภาษาที่ใช้ ในการสังคายนา, เป็ นภาษาที่ใช้ ในการสวดมนต์
  • 10. ประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี ประโยชน์ ในการศึกษาพุทธศาสนา ประโยชน์ลาดับแรกในการศึกษาภาษาบาลีก็คือ ช่วยให้ เกิดความเข้ าใจใน ความหมายของศัพท์ธรรมะในพระพุทธศาสนายิ่งขึ ้น ทาให้ ผ้ ศกษาสามารถ ู ึ เข้ าใจคาสอนที่อยูในพระไตรปิ ฎกฉบับภาษาบาลี ซึงเป็ นหลักฐานชันแรกสุดได้ ่ ่ ้ เป็ นอย่างดี พระไตรปิ ฎกภาษาบาลีถือว่าเป็ นคัมภีร์ทางพุทธศาสนาที่มีคณค่า ุ อย่างยิ่งยวด เป็ นคัมภีร์ที่รักษาพุทธพจน์ได้ อย่างชัดเจนที่สด การทาความเข้ าใจ ุ กับคัมภีร์ชนแรกสุด เป็ นการปองกันการเข้ าใจหรื อการแปลภาษาที่ผิดพลาดไป ั้ ้ ได้ อย่างดีที่สด ุ
  • 11. ประโยชน์ ในการศึกษาภาษาบาลี (ต่ อ) ประโยชน์ ทางด้ านภาษา • ทาให้ เข้ าใจความหมายของคาต่างๆ เช่นคาราชาศัพท์, ชื่อสถานที่ตางๆ, ชื่อวัด, ่ ชื่อคน, ชื่อเดือน, คาในบทร้ อยกรองต่างๆ และคาในวรรณคดี ได้ เป็ นอย่างดี • ใช้ คา หรื อประกอบคาภาษาบาลีได้ อย่างถูกต้ อง เช่นคาว่า อานิสงส์ (มาจาก ภาษาบาลีคือ อานิสส) หากไม่เข้ าใจอาจใช้ ผิดไปเป็ น อานิสงส์ • ช่วยให้ เรี ยนภาษาไทยหรื อไวยากรณ์ไทยได้ ง่าย • ช่วยให้ สามารถใช้ คาภาษาบาลีได้ อย่างไพเราะสละสลวย ทังในบทร้ อยกรอง ้ และร้ อยแก้ ว • ช่วยในการบัญญัติศพท์ วิทยาการสมัยใหม่แขนงต่างๆ ั
  • 12. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๑-๒ ประโยค ๑ ๑. วิชาบาลีไวยากรณ์ หลักสูตรใช้ หนังสือ บาลีไวยากรณ์ประเภทสอบถาม ความจา ประโยค ๒ ๑. วิชาแปลมคธเป็ นไทย โดยพยัญชนะและโดยอรรถ หลักสูตรใช้ หนังสือ ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๑-๔
  • 13. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๓ ๑.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย โดยพยัญชนะและโดยอรรถ หลักสูตรใช้ หนังสือ ธมฺมปทฏฺกถา ภาค ๕-๘ ๒.) วิชาสัมพันธ์ไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๕-๘ ๓.) วิชาบาลีไวยากรณ์ หลักสูตรใช้ หนังสือ บาลีไวยากรณ์ ประเภทสอบถาม ความจาและความเข้ าใจประกอบกัน ๔.) วิชาบุรพภาค ข้ อเขียนภาษาไทย โดยแก้ ไขให้ ถกต้ องตามระเบียบลักษณะ ู วรรคตอน ตัวอักษรตามสมัยนิยม หลักสูตรใช้ หนังสือที่ควรรู้ เช่น จดหมายทางราชการ เป็ น ต้ น
  • 14. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๔ - ๕ ประโยค ป.ธ. ๔ ๑. วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑-๒ ๒. วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใชัหนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๑ ประโยค ป.ธ. ๕ ๑. วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๓-๕ ๒. วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใชัหนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๒
  • 15. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๖ ๑.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธหลักสูตรใช้ หนังสือ ตติยสมันตปาสาทิกา – ปั ญจม สมันตปาสาทิกา ๒.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ตติย-จตุตฺถ-ปญฺจมสมนฺตปาสาทิกา หมายเหตุ แต่ในการสอบกรรมการจะแปลประโยคที่ออกสอบเป็ นความไทยโดยสันทัด หรื ออาจดัดแปลงสานวนและท้ องเรื่ อง หรื อตัดตอนที่ตางๆ มาเรี ยงติดต่อกันเป็ น ่ ประโยค สอบไล่ก็ได้
  • 16. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๗ ๑.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล – ทุติย สมันตปาสาทิกาแปล ๒.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐม-ทุติยสมนฺตปาสาทิกา
  • 17. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๘ ๑.) วิชาแต่งฉันท์มคธ แต่งฉันท์เป็ นภาษามคธ ๓ ฉันท์ใน จานวน ๖ ฉันท์ คือ (๑) ปั ฐยาวัตร (๒) อินทรวิเชียร (๓) อุเปนทรวิเชียร (๔) อินทรวงศ์ (๕) วังสัฏฐะ (๖) วสันตดิลก หมายเหตุ ข้ อความแล้ วแต่กรรมการจะกาหนดให้ ๒.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ ปฐมสมนฺต-ปาสาทิกา และวิสทธิ ุ มรรคแปล ๓.) วิชาแปลมคธเป็ นไทย หลักสูตรใช้ หนังสือ วิสทฺธิมคฺค ุ
  • 18. หลักสูตรเปรี ยญธรรม ประโยค ๙ ๑.) วิชาแต่งไทยเป็ นมคธ แต่งมคธจากภาษาไทยล้ วนข้ อความแล้ วแต่กรรมการจะ กาหนดให้ ๒.) วิชาแปลไทยเป็ นมคธ หลักสูตรใช้ หนังสือ อภิธมมัตถสังคหบาลี และ ั อภิธมมัตถวิภาวีนีฎีกา ั ๓.) วิชาแปลมคธเป็ นไทยหลักสูตรใช้ หนังสือ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี
  • 19. บาลีไวยกรณ์ วจีวภาค ิ อักขรวิธี นาม สมัญญาภิธาน อัพพยยศัพท์ สนธิ อาขยาต กิตก์ สมาส ตัทธิต วจีวิภาค – ส่วน แห่งคาพูด ๖ อย่าง อักขรวิธี – อักษร ในภาษาบาลี (เรี ยนในหลักสูตร เปรี ยญธรรม ประโยค ๑-๒) วากยสัมพันธ์ ว่ าด้ วยการสัมพันธ์ คาพูดในประโยค (เรี ยนในหลักสูตร เปรี ยญธรรม ประโยค ๓) ฉันทลักษณ์ ว่ าด้ วยการแต่ ง ฉันท์ (เรี ยนในหลักสูตร เปรี ยญธรรม ประโยค ๘)