SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  39
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2000-1401 โครงสร้างอะตอม Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
1.  โครงสร้างอะตอม ผู้คิดค้น  :  เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด และนีลส์โบร์ นิวเคลียส ,  โปรตรอน ,  นิวตรอน ,  อิเลคตรอน
มวลอิเลคตรอน ประมาณ มวลโปรตอน /2,000  1.1  ประจุ และมวลของอนุภาค
1.1  ประจุ และมวลของอนุภาค
1.2  เลขอะตอม  (Atomic number) บอกถึงจำนวนโปรตรอน หรือจำนวนอิเลคตรอน เลขอะตอม  =  จำนวนโปรตรอน  =  จำนวนอิเลคตรอน @  อะตอมมีสภาพเป็นกลาง
1.3  เลขมวล  ( Mass Number ) เลขมวล  =  จำนวนโปรตรอน  +  จำนวนนิวตรอน จำนวนนิวตรอน  =  เลขมวล  -  เลขอะตอม ดังนั้น
ตัวย่อทางเคมี  ( อลูมิเนียม ) จำนวนโปรตรอน  =  จำนวนอิเลคตรอน  =  เลขอะตอม  = 13 จำนวนนิวตรอน  =  เลขมวล -  เลขอะตอม  = 27-13= 14
1.4  มวลอะตอม (Atomic mass, A.M.) มวลของ  6.02  x 10 23   อะตอมของธาตุนั้น  ( กรัม )  [ หรือเท่ากับ  1  โมล ]
มวลอะตอม  ( ต่อ ) (Atomic mass, A.M.) น้ำหนักของธาตุ  1  อะตอม  = A.M. x 1.66 x 10 -24   ( กรัม ) เช่น  A.M.  ของอลูมิเนียม  =  26.98 อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 x 1.66 x 10 -24   กรัม อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 A.M.U. หรือ อลูมิเนียมมีน้ำหนัก    = 26.98  กรัม / โมล
โมเลกุล  ( อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่สามารถอยู่ได้เป็นอิสระ ) น้ำหนักของสาร  1  โมเลกุล  = M.W. *1.66*10 -24   ( กรัม ) เช่น  A.M.  ของอลูมิเนียม (Al)   =  26.98  = M.W. อลูมิเนียม  1  โมเลกุล หนัก  = 26.98 x 1.66 x 10 -24   กรัม อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 x 1.66 x 10 -24   กรัม หรือ อลูมิเนียม  1  โมลมีน้ำหนัก    = 26.98  กรัม
เช่น  A.M.  ของสาร  (O 2 )   = 16 M.W.  ของสาร  (O 2 )   = 16*2=32 O 2  1  โมเลกุล หนัก  = 32 x 1.66 x 10 -24   กรัม O 2  1  อะตอม หนัก  = 16 x 1.66 x 10 -24   กรัม หรือ  O 2   1  โมลอะตอมมีน้ำหนัก    = 16  กรัม หรือ  O 2   1  โมลมีน้ำหนัก    = 32  กรัม
มวลอะตอมสัมพัทธ์  (Relative atomic mass, R.A.M.) มวลของอะตอมมีค่าน้อยมาก จึงใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของอะตอม ที่เบาที่สุด คือ “ไฮโดรเจน” โดยกำหนดให้มีมวล  =  1
มวลอะตอมสัมพัทธ์  ( ต่อ ) (Relative atomic mass, R.A.M.)
มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล ตัวอย่าง  การหามวลของโมเลกุล ของคาร์บอนไดออกไซด์  CO 2 คาร์บอน  =  1  อะตอม , R.A.M. = 12 ออกซิเจน  =  2  อะตอม , R . A . M . =  16 ดังนั้นมวลโมเลกุล  =  (1 x 12)+(2  x 16)  =  44 ดังนั้นสรุปว่า  CO 2   หนักเป็น  44  เท่าของไฮโดรเจน  1  อะตอม
มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล  ( ต่อ )
1.5  ชั้นของอิเล็กตรอน  ( ออบิทัล ,  Orbital) จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดแต่ละชั้น  =  2 n 2
1.6  ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน To move an electron from the first to the second orbit requires energy to overcome the attraction of the nucleus.
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน  ( ต่อ ) อิเล็กตรอนแต่ละตัวจะมีพลังงานไม่เท่ากับ ,  ตัวที่อยู่ชั้นนอกนอกจะมีพลังงานสูงกว่า ความถี่ของโฟตอน  (v) = (E1-E2)/h
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน  ( ต่อ ) นิลส์ บอร์ ได้สร้างโมเดลสำหรับไฮโดรเจนซึ่งมีอิเล็กตรอน  1  ตัว เพื่อหาพลังงานของอิเล็กตรอนที่ระดับต่างๆ คือ E:  พลังงานของโฟตอนที่ให้ออกมา E=(-13.6/n 2 ) eV E=(-13.6/n 2 ) eV x(1.9x10 -19 /eV)  จูล
1.7  โครงสร้างอะตอมของตัวนำ อะตอมทองแดง   :  2-8-18-1 :   แรงดึงดูดอิเล็กตรอนต่ำสุดกรณีตัวที่อยู่วงนอกสุด  (valence orbit, free electron)   ซึ่งเคลื่อนที่ไปอะตอมอื่นได้อย่างง่ายดาย  ( เป็นตัวนำที่ดี )  ดังนั้นจุดสำคัญอยู่ที่อิเล็กตรอนวงนอกสุด
1.8  โครงสร้างอะตอมของสารกี่งตัวนำ Germanium:  2-8-18-4  :  4-Valence Electrons Silicon:  2-8-4 :  4-Valence Electrons ในกรณีของวัสดุฉนวน  จะมี  8 -Valence Electrons
1.9  ไอโซโทป  ( อะตอมที่มีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน ) ไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาเคมีเหมือนกัน เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอนเท่านั้น
2.  พันธะอะตอม และพันธะโมเลกุล  2.1  พันธะที่มีความแข็งแรง 2.1.1  พันธะไอออนิก 2.1.2  พันธะโควาเลนต์ 2.1.3  พันธะโลหะ 2.2  พันธะที่ไม่แข็งแรง 2.2.1  Permanent Dipole Bonds 2 .2.2  Fluctuating Dipole Bonds
2.1.1  พันธะไอออนิก  ( พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างธาตุโลหะ กับ อโลหะ ) อะตอมธาตุหนึ่งถ่ายเทไปให้อีกธาตุหนึ่ง ทำให้เกิดไอออนบวก และ ลบ จึงเกิดแรงดึงดูดกัน   ( แข็งแรง ) อะตอมโซเดียมต้องเสียอิเล็กตรอน  1  ตัวให้กับอะตอมของคลอรีน  เพื่อเติมเต็มอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดให้กับคลอรีน
ดังนั้นอะตอมจะเสียสภาพความเป็นกลาง และเรียกว่า “ ไอออน ” -  โซเดียมไอออนจะเป็นบวก , Na + -  คลอรีนไอออนจะเป็นลบ , Cl - ดังนั้นจึงมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน เป็นพันธะไอออนิก  ของโซเดียมคลอไรด์  ( NaCl )
พันธะไอออนิก   ของแมกนีเซียมคลอไรด์ ระหว่าง แมกนีเซียม  Mg  กับ คลอรีน  Cl แมกนีเซียมจะต้องให้อิเล็กตรอนกับคลอรีน  2  อะตอม
แมกนีเซียม  1  อะตอมให้อิเล็กตรอนกับคลอรีน  2  อะตอม MgCl2 :  แมกนีเซียมคลอไรด์
พันธะไอออนิกของโซเดียมคลอไรด์
พันธะไอออนิก แรงดึงดูดระหว่างอะตอม :   (F attractive  ) (F attractive  ) ={(-Z1  x  e)(Z2  x  e)}/(4  x  π   x   o  x  a 2 ) Z1 :  จำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ Z2 :  จำนวนอิเล็กตรอนที่รับ e  :  ประจุ  1.60  x  10 -19   C a  :  รัศมีระหว่างไอออน
พันธะโคเวเลนต์ ตัวอย่าง  สารประกอบไฮโดรคาร์บอน  ( มีเทน )  CH 4 -  อะตอมคาร์บอนต้องการอิเล็กตรอนอีก  4  ตัว -  อะตอมของไฮโดรเจนต้องการอิเล็กตรอนอีก  1  ตัว พันธะโควาเลนต์  :  การใช้อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของธาตุอโลหะ
พันธะโควาเลนต์เดี่ยว  4  พันธะ ของมีเทน
พันธะโควาเลนต์คู่  1  พันธะ ของออกซิเจน  (O 2 ) คุณสมบัติ 1.  มีจุดหลอมเหลวสูง  ( ซิลิคอนไดออกไซด์ ,  ทราย ) 2.  ไม่ละลายน้ำเนื่องจากไม่มีประจุ 3.  ไม่นำไฟฟ้าเนื่องจากไม่มีไอออน ,  อิเล็กตรอนอิสระ 4.  แข็ง  ( เพชร )
พันธะโลหะ การยึดกันของอะตอมในโลหะนั้นแตกต่างไปจาก พันธะไอออนิก และโควาเลนต์ อะตอมของโลหะยึดกันด้วย “ทะเลอิเล็กตรอน”
พันธะโลหะ อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ (non directional)
อะตอมของโลหะให้อิเล็กตรอน  1  หรือมากกว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก และสามารถถ่ายเทความร้อนด้วย
2.2  พันธะที่ไม่แข็งแรง  (Weak Bonding) พลังงานของพันธะต่ำ  (4-42 kJ/mol )  แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของขั้วไฟฟ้า  (electric dipoles)   ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม หรือโมเลกุล
2.2.1  Fluctuation Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอะตอมที่มีการกระจายของประจุอิเล็กตรอนที่ไม่ท่ากัน ทำให้เกิดขั้วไฟฟ้าขึ้น เช่นอะตอมของแก๊สเฉื่อย
2.2.2  Permanent Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากมักเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุล  โควาเลนต์ ที่มี  Permanent Dipoles ,   โดยทั่วไปโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาวิตี้สูง และเป็น  asymmetric molecule  จะทำให้โมเลกุลนั้นมีขั้ว
ขอขอบคุณข้อมูลที่ได้เรียบเรียงจาก เว็บไซต์ออนไลน์เพื่อการศึกษาทุกข้อมูล ครูธงชัย  พานิชสิติ วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ 15  พฤศจิกายน  2548

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 

Tendances (20)

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 

Similaire à Atom

พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์babyoam
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 

Similaire à Atom (20)

พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 

Atom

  • 2. 1. โครงสร้างอะตอม ผู้คิดค้น : เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด และนีลส์โบร์ นิวเคลียส , โปรตรอน , นิวตรอน , อิเลคตรอน
  • 3. มวลอิเลคตรอน ประมาณ มวลโปรตอน /2,000 1.1 ประจุ และมวลของอนุภาค
  • 4. 1.1 ประจุ และมวลของอนุภาค
  • 5. 1.2 เลขอะตอม (Atomic number) บอกถึงจำนวนโปรตรอน หรือจำนวนอิเลคตรอน เลขอะตอม = จำนวนโปรตรอน = จำนวนอิเลคตรอน @ อะตอมมีสภาพเป็นกลาง
  • 6. 1.3 เลขมวล ( Mass Number ) เลขมวล = จำนวนโปรตรอน + จำนวนนิวตรอน จำนวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม ดังนั้น
  • 7. ตัวย่อทางเคมี ( อลูมิเนียม ) จำนวนโปรตรอน = จำนวนอิเลคตรอน = เลขอะตอม = 13 จำนวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 27-13= 14
  • 8. 1.4 มวลอะตอม (Atomic mass, A.M.) มวลของ 6.02 x 10 23 อะตอมของธาตุนั้น ( กรัม ) [ หรือเท่ากับ 1 โมล ]
  • 9. มวลอะตอม ( ต่อ ) (Atomic mass, A.M.) น้ำหนักของธาตุ 1 อะตอม = A.M. x 1.66 x 10 -24 ( กรัม ) เช่น A.M. ของอลูมิเนียม = 26.98 อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 x 1.66 x 10 -24 กรัม อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 A.M.U. หรือ อลูมิเนียมมีน้ำหนัก = 26.98 กรัม / โมล
  • 10. โมเลกุล ( อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่สามารถอยู่ได้เป็นอิสระ ) น้ำหนักของสาร 1 โมเลกุล = M.W. *1.66*10 -24 ( กรัม ) เช่น A.M. ของอลูมิเนียม (Al) = 26.98 = M.W. อลูมิเนียม 1 โมเลกุล หนัก = 26.98 x 1.66 x 10 -24 กรัม อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 x 1.66 x 10 -24 กรัม หรือ อลูมิเนียม 1 โมลมีน้ำหนัก = 26.98 กรัม
  • 11. เช่น A.M. ของสาร (O 2 ) = 16 M.W. ของสาร (O 2 ) = 16*2=32 O 2 1 โมเลกุล หนัก = 32 x 1.66 x 10 -24 กรัม O 2 1 อะตอม หนัก = 16 x 1.66 x 10 -24 กรัม หรือ O 2 1 โมลอะตอมมีน้ำหนัก = 16 กรัม หรือ O 2 1 โมลมีน้ำหนัก = 32 กรัม
  • 12. มวลอะตอมสัมพัทธ์ (Relative atomic mass, R.A.M.) มวลของอะตอมมีค่าน้อยมาก จึงใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของอะตอม ที่เบาที่สุด คือ “ไฮโดรเจน” โดยกำหนดให้มีมวล = 1
  • 13. มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( ต่อ ) (Relative atomic mass, R.A.M.)
  • 14. มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล ตัวอย่าง การหามวลของโมเลกุล ของคาร์บอนไดออกไซด์ CO 2 คาร์บอน = 1 อะตอม , R.A.M. = 12 ออกซิเจน = 2 อะตอม , R . A . M . = 16 ดังนั้นมวลโมเลกุล = (1 x 12)+(2 x 16) = 44 ดังนั้นสรุปว่า CO 2 หนักเป็น 44 เท่าของไฮโดรเจน 1 อะตอม
  • 16. 1.5 ชั้นของอิเล็กตรอน ( ออบิทัล , Orbital) จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดแต่ละชั้น = 2 n 2
  • 17. 1.6 ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน To move an electron from the first to the second orbit requires energy to overcome the attraction of the nucleus.
  • 18. ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ( ต่อ ) อิเล็กตรอนแต่ละตัวจะมีพลังงานไม่เท่ากับ , ตัวที่อยู่ชั้นนอกนอกจะมีพลังงานสูงกว่า ความถี่ของโฟตอน (v) = (E1-E2)/h
  • 19. ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ( ต่อ ) นิลส์ บอร์ ได้สร้างโมเดลสำหรับไฮโดรเจนซึ่งมีอิเล็กตรอน 1 ตัว เพื่อหาพลังงานของอิเล็กตรอนที่ระดับต่างๆ คือ E: พลังงานของโฟตอนที่ให้ออกมา E=(-13.6/n 2 ) eV E=(-13.6/n 2 ) eV x(1.9x10 -19 /eV) จูล
  • 20. 1.7 โครงสร้างอะตอมของตัวนำ อะตอมทองแดง : 2-8-18-1 : แรงดึงดูดอิเล็กตรอนต่ำสุดกรณีตัวที่อยู่วงนอกสุด (valence orbit, free electron) ซึ่งเคลื่อนที่ไปอะตอมอื่นได้อย่างง่ายดาย ( เป็นตัวนำที่ดี ) ดังนั้นจุดสำคัญอยู่ที่อิเล็กตรอนวงนอกสุด
  • 21. 1.8 โครงสร้างอะตอมของสารกี่งตัวนำ Germanium: 2-8-18-4 : 4-Valence Electrons Silicon: 2-8-4 : 4-Valence Electrons ในกรณีของวัสดุฉนวน จะมี 8 -Valence Electrons
  • 22. 1.9 ไอโซโทป ( อะตอมที่มีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน ) ไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาเคมีเหมือนกัน เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอนเท่านั้น
  • 23. 2. พันธะอะตอม และพันธะโมเลกุล 2.1 พันธะที่มีความแข็งแรง 2.1.1 พันธะไอออนิก 2.1.2 พันธะโควาเลนต์ 2.1.3 พันธะโลหะ 2.2 พันธะที่ไม่แข็งแรง 2.2.1 Permanent Dipole Bonds 2 .2.2 Fluctuating Dipole Bonds
  • 24. 2.1.1 พันธะไอออนิก ( พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างธาตุโลหะ กับ อโลหะ ) อะตอมธาตุหนึ่งถ่ายเทไปให้อีกธาตุหนึ่ง ทำให้เกิดไอออนบวก และ ลบ จึงเกิดแรงดึงดูดกัน ( แข็งแรง ) อะตอมโซเดียมต้องเสียอิเล็กตรอน 1 ตัวให้กับอะตอมของคลอรีน เพื่อเติมเต็มอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดให้กับคลอรีน
  • 25. ดังนั้นอะตอมจะเสียสภาพความเป็นกลาง และเรียกว่า “ ไอออน ” - โซเดียมไอออนจะเป็นบวก , Na + - คลอรีนไอออนจะเป็นลบ , Cl - ดังนั้นจึงมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน เป็นพันธะไอออนิก ของโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl )
  • 26. พันธะไอออนิก ของแมกนีเซียมคลอไรด์ ระหว่าง แมกนีเซียม Mg กับ คลอรีน Cl แมกนีเซียมจะต้องให้อิเล็กตรอนกับคลอรีน 2 อะตอม
  • 27. แมกนีเซียม 1 อะตอมให้อิเล็กตรอนกับคลอรีน 2 อะตอม MgCl2 : แมกนีเซียมคลอไรด์
  • 29. พันธะไอออนิก แรงดึงดูดระหว่างอะตอม : (F attractive ) (F attractive ) ={(-Z1 x e)(Z2 x e)}/(4 x π x  o x a 2 ) Z1 : จำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ Z2 : จำนวนอิเล็กตรอนที่รับ e : ประจุ 1.60 x 10 -19 C a : รัศมีระหว่างไอออน
  • 30. พันธะโคเวเลนต์ ตัวอย่าง สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ( มีเทน ) CH 4 - อะตอมคาร์บอนต้องการอิเล็กตรอนอีก 4 ตัว - อะตอมของไฮโดรเจนต้องการอิเล็กตรอนอีก 1 ตัว พันธะโควาเลนต์ : การใช้อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของธาตุอโลหะ
  • 31. พันธะโควาเลนต์เดี่ยว 4 พันธะ ของมีเทน
  • 32. พันธะโควาเลนต์คู่ 1 พันธะ ของออกซิเจน (O 2 ) คุณสมบัติ 1. มีจุดหลอมเหลวสูง ( ซิลิคอนไดออกไซด์ , ทราย ) 2. ไม่ละลายน้ำเนื่องจากไม่มีประจุ 3. ไม่นำไฟฟ้าเนื่องจากไม่มีไอออน , อิเล็กตรอนอิสระ 4. แข็ง ( เพชร )
  • 33. พันธะโลหะ การยึดกันของอะตอมในโลหะนั้นแตกต่างไปจาก พันธะไอออนิก และโควาเลนต์ อะตอมของโลหะยึดกันด้วย “ทะเลอิเล็กตรอน”
  • 35. อะตอมของโลหะให้อิเล็กตรอน 1 หรือมากกว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก และสามารถถ่ายเทความร้อนด้วย
  • 36. 2.2 พันธะที่ไม่แข็งแรง (Weak Bonding) พลังงานของพันธะต่ำ (4-42 kJ/mol ) แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของขั้วไฟฟ้า (electric dipoles) ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม หรือโมเลกุล
  • 37. 2.2.1 Fluctuation Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอะตอมที่มีการกระจายของประจุอิเล็กตรอนที่ไม่ท่ากัน ทำให้เกิดขั้วไฟฟ้าขึ้น เช่นอะตอมของแก๊สเฉื่อย
  • 38. 2.2.2 Permanent Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากมักเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุล โควาเลนต์ ที่มี Permanent Dipoles , โดยทั่วไปโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาวิตี้สูง และเป็น asymmetric molecule จะทำให้โมเลกุลนั้นมีขั้ว