SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา
นางกฤษณา ชุมภา
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
ด้วยการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา มุ่งเน้นทักษะ
กระบวนทางวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง คิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น
เพื่อให้ได้ทั้งกระบวนการ ความรู้ และเจตคติที่ดี
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการสอนรายวิชาชีววิทยาให้มีประสิทธิภาพ และส่งผล
ดียิ่งขึ้น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นและ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเรียน มีความสุขและมีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาค้นคว้า
สารวจตรวจสอบ สืบเสาะหาความรู้ เพื่อรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล นาไปสู่คาตอบ โดยศึกษาค้นคว้า
จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นตามสภาพจริงในชีวิตประจาวันด้วยตนเอง
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อ
การพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น
สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาทุกท่านที่ทาให้
ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
กฤษณา ชุมภา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คาแนะนาการใช้ ก
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 1
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง การกินอาหารของพารามีเซียม 3
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา 9
กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 17
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 19
บรรณานุกรม 21
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
ภาพที่ 1 แสดงทางเดินอาหารของพารามีเซียม 8
ภาพที่ 2 แสดงการกินอาหารของอะมีบาโดยวิธีฟาโกไซโทซิส 12
ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของยูกลีนา 13
ภาพที่ 4 แสดงรูปร่างของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ 14
ภาพที่ 5 แสดงโครงสร้างของแบคทีเรีย 15
ภาพที่ 6 แสดงลักษณะเชื้อรา 16
คาแนะนาการใช้
1. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ เรื่องระบบย่อยอาหารและการสลาย
สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน มีทั้งหมด 5 เล่ม
2. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง การย่อยอาหาร
ของจุลินทรีย์
3. ศึกษาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เข้าใจ
4. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ
5. ศึกษาเนื้อหาและศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจอย่างชัดเจน
ถ้าไม่เข้าใจให้ถามครูผู้สอน
6. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้เรื่องนี้มีทั้งหมด 3 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 เรื่องการกินอาหารของพารามีเซียม
กิจกรรมที่ 2 เรื่องการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา
กิจกรรมที่ 3 เรื่องการย่อยอาหารของจุลินทรีย์
7. ร่วมกันอภิปรายผลของกิจกรรมแต่ละกิจกรรม เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องนั้น ๆ
8. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ
9. เมื่อทาชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้จบทั้ง 5 ชุดแล้ว นักเรียนจะได้ทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งรวมเนื้อหาจากที่เรียนมาทั้งหมดจากชุดกิจกรรม
สร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว  ลงในกระดาษคาตอบ
1. การย่อยอาหารของพวกรา เกิดขึ้นโดยวิธีใด
ก. นาอาหารเข้าไปย่อยในเซลล์โดยตรง
ข. ใช้กระบวนการ phagocytes เหมือนอะมีบา
ค. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ
เซลล์ต่างได้รับอาหาร
ง. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ
เซลล์ดึงอาหารโมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วมา
ย่อยต่อ
2. การย่อยอาหารของโพรติสต์เซลล์เดียวเกิดขึ้น
บริเวณใด
ก. contractile vacuole
ข. food vacuole
ค. mitochondria
ง. nucleus
3. กระบวนการกินอาหารของอะมีบาเป็นแบบใด
ก. การแพร่ (diffusion)
ข. ออสโมซิส (osmosis)
ค. พิโนไซโทซิส (pinocytosis)
ง. ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis)
4. น้าย่อยของอะมีบาเป็นสารพวกใด
ก. กรดเกลือ
ข. อะไมเลส
ค. อินเวอร์เทส
ง. ไบคาร์บอเนต
5. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากการทางานของ
จุลินทรีย์
ก. การผลิตน้าปลา
ข. การผลิตนมเปรี้ยว
ค. การผลิตเหล้าเบียร์
ง. การผลิตเอนไซม์ทุกชนิด
6. การย่อยอาหารของรามีลักษณะการย่อย
อาหาร
คล้ายกับสิ่งมีชีวิตใด
ก. ฟองน้า
ข. ยูกลีนา
ค. อะมีบา
ง. แบคทีเรีย
7. กากอาหารที่ย่อยไม่ได้ของพารามีเซียมจะถูก
ขับออกทางใด
ก. ร่องปาก
ข. เท้าเทียม
ค. ช่องขับถ่าย
ง. ฟูดแวคิวโอล
8. สิ่งมีชีวิตข้อใดที่มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์
ก. เห็ดรา
ข. อะมีบา
ค. ฟองน้า
ง. พารามีเซียม
9. การกินอาหารของอะมีบาและพารามีเซียม
ต่างกันอย่างไร
ก. อะมีบามีเท้าเทียม พารามีเซียมมีซิเลีย
ข. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมีซิเลีย
ค. อะมีบามีร่องปากพารามีเซียมมีฟาโกไซโทซิส
ง. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมี
ร่องปาก
10. เอนไซม์ที่โพรโทซัวสร้างขึ้นเพื่อใช้
ในการย่อยอาหารสร้างมาจากแหล่งใด
ก. ไรโบโซม
ข. ไลโซโซม
ค. ฟูดแวคิวโอล
ง. ไมโทคอนเดรีย
การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
จุลินทรีย์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เช่น อะมีบา พารามีเซียม สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จาเป็นต้องกิน
อาหารเพื่อให้ได้พลังงาน แต่ไม่มีอวัยวะที่ทาหน้าที่ย่อยอาหาร
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง การกินอาหารของพารามีเซียม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สารวจตรวจสอบการกินอาหารของพารามีเซียม
2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของอาหารเมื่อเข้าไปในเซลล์ของพารามีเซียม
วัสดุอุปกรณ์
1. ยีสต์
2. พารามีเซียม
3. สารละลายกลูโคส 10 เปอร์เซ็นต์
4. สีคองโกเรต
5. เมทิลเซลลูโลส 0.1 เปอร์เซ็นต์
6. สไลด์ และกระจกปิดสไลด์
7. กล้องจุลทรรศน์
อะมีบาและพารามีเซียม
นาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร
คะ
วิธีทา
1. การเตรียมสีที่ใช้ย้อมเซลล์ยีสต์ โดยเตรียมสารละลายกลูโคส 10 เปอร์เซ็นต์ (เตรียมจาก
น้าตาลกลูโคส 10 กรัม ละลายในน้ากลั่น 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ผสมกับสีคองโกเรด (congo red)
ประมาณ 30 มิลลิกรัม ใช้แท่งแก้วคนให้เข้ากัน นาไปต้มเดือดนาน 10 นาที ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นลงจนถึง
อุณหภูมิประมาณ 40 – 50 องศาเซลเซียส
2. เติมยีสต์ผง 0.5 กรัม ลงในสารละลายในข้อ 1 ผสมให้เข้ากันโดยใช้แท่งแก้วคนให้เข้ากัน
แล้วทิ้งไว้ประมาณ 10 – 15 นาที เพื่อให้ยีสต์ติดสีอย่างทั่วถึง
3. หยดสารละลายเมทิลเซลลูโลส (methyl cellulose) เข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์ ลงบนแผ่น
สไลด์สะอาด 1 หยด เพื่อทาให้พารามีเซียมเคลื่อนที่ได้ช้าลง
4. ใช้หลอดดูด (medicine dropper) ดูดน้าที่เลี้ยงพารามีเซียมเอาไว้แล้วหยดลงบนแผน
สไลด์ที่เตรียมไว้ในข้อ 3 จากนั้นหยดสารละลายในข้อ 2 ที่มียีสต์ย้อมสีลงไปบนสไลด์นี้ อีก 1 หยด ปิด
ด้วยกระจกปิดสไลด์
5. นาสไลด์นี้ไปศึกษาการกินอาหาร ของพารามีเซียมด้วยกล้องจุลทรรศน์
คาถามก่อนทากิจกรรม
1. การทากิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์อะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่าพารามีเซียมมีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
บันทึกผลการทากิจกรรม
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
วาดภาพการย่อยอาหารของพารามีเซียมจากกล้องจุลทรรศน์
คาถามหลังทากิจกรรม
1. เซลล์ของยีสต์เมื่อเข้าสู่ภายในเซลล์ของพารามีเซียมแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหรือไม่ อย่างไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. พารามีเซียม มีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. พารามีเซียม มีของเสียหรือไม่ และมีการกาจัดออกอย่างไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. นักเรียนจะสรุปผลการทากิจกรรมนี้ได้ว่าอย่างไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
บันทึกพิเศษ
...………………………………………………………………………………
...………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
การย่อยอาหารของโปรตัวซัว (protozoa)
โพรโทซัวเป็นจุลินทรีย์ที่มีวิถีการกินอาหารโดยโอบล้อมอาหารและนาเข้าสู่เซลล์โดยวิธี เอนโด
ไซโทซีส (endocytosis) ซึ่งอาจเป็นวิธีฟาโกไซโทซีส (phagocytocis) หรือพิโนไซโทซิส
(pinocytosis) โพรโทซัวไม่มีอวัยวะสาหรับย่อยอาหารโดยเฉพาะเมื่อกินอาหารโดยโอบล้อมอาหารเข้า
ไปแล้วอาหารจะไปอยู่ในถุงฟูดแวคิวโอล (food vacuole) ที่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบ แล้วไลโซโซม
(lysosome) จะปล่อยเอนไซม์ไลโซไซม์ (lysozyme) ออกมาย่อยอาหารในฟูดแวคิวโอลนั้นจนอาหาร
กลายเป็นสารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลง แล้วลาเลียงผ่านเยื่อฟูดแวคิวโอลออกมาในไซโทพลาสซึม เพื่อ
ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของเซลล์ ส่วนที่เหลือเป็นกากอาหารจะถูกกาจัดออกนอกเซลล์ต่อไป กระบวนการ
ย่อยอาหารที่กล่าวมานี้เกิดขึ้นภายในเซลล์ จึงเรียกว่า การย่อยอาหารภายในเซลล์
(intracellular digestion) โพรโทซัวแต่ละชนิดมีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์แตกต่างกัน ได้แก่
พารามีเซียม (paramecium)
พารามีเซียมมีซีเลียอยู่ที่ร่องปาก (oral groove) คอยพัดโบกน้าที่อยู่รอบ ๆ ให้พัดพา
อาหารเข้ามาในปาก (cytostome) แล้วอาหารถูกนาเข้าสู่เซลล์โดยวิธีเอนโดไซโทซีส อาหารจะถูก
เยื่อหุ้มล้อมรอบไว้ กลายเป็นฟูดแวคิวโอล ขณะเดียวกันในเซลล์พารามีเซียมมีการไหลเวียนของ
ไซโทพลาสซึม (cytoplasmic streaming) ไปรอบ ๆ เซลล์ พร้อมกับเอนไซม์ไลโซไซม์ออกมาย่อย
อาหารในฟูดแวคิวโอลนั้น ส่วนกากอาหารที่ย่อยไม่ได้ถูกขับออกทางช่องทวาร (anal pore) โดยวิธีเอก
โซไซโทซิส (exocytosis)
อาหาร
เจลลัม
เจลลัม
ซิเลีย
ฟูดแวคิวโอล
ร่องปาก
อาหาร
ไลโซโซม
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อะมีบาได้
2. บอกลักษณะอาหารที่อยู่ในเซลล์อะมีบาได้
วัสดุอุปกรณ์
1. ภาพการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา 1 ภาพ
วิธีทา
ศึกษาภาพการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา บันทึกผล
คาถามก่อนทากิจกรรม
1. การทากิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์อะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ซูโดโพเดียม
อาหาร
2. นักเรียนคิดว่าอะมีบามีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
บันทึกผลการทากิจกรรม
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
คาถามหลังทากิจกรรม
1. อะมีบา มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ที่บริเวณใดของเซลล์
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. อะมีบา มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์โดยวิธีใด
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา เรียกว่าอะไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. นักเรียนจะสรุปผลการทากิจกรรมนี้ได้ว่าอย่างไร
คาตอบ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
บันทึกพิเศษ
...………………………………………………………………………………
...………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………...……………………………………………………………………….................
......................................................................................................................................
อะมีบา (amoeba)
อะมีบา เป็นโพรโทซัวที่เคลื่อนที่ด้วยเท้าเทียม อาหารของอะมีบาประกอบด้วยเศษ
สารอินทรีย์ เซลล์แบคทีเรีย สาหร่ายและสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ อะมีบา นาอาหารเข้าสู่เซลล์โดยการยื่นส่วน
ของเท้าเทียมที่เรียกว่าซูโดโพเดียม (pseudopodium) ออกไปโอบล้อมอาหารทาให้อาหารตกเข้าไปอยู่
ภายในเซลล์ เรียกอาหารที่อยู่ในเซลล์นี้ว่า ฟูดแวคิวโอล (food vaceuole) การกินโดยการยื่นส่วนของ
เท้าเทียมออกไปโอบล้อมอาหารนี้เรียกว่า ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) ซึ่งจะพบได้ในพวกเซลล์เม็ด
เลือดขาวด้วย ต่อจากนั้นส่วนไซโทพลาสซึมของอะมีบาก็จะสร้างน้าย่อยออกมาย่อยอาหารภายในฟูดแว
คิวโอล อีกทีหนึ่ง การเคลื่อนไหวของไซโทพลาสซึมจะทาให้สารอาหารต่าง ๆ ถูกลาเลียงไปทั่วเซลล์
ส่วนที่เหลือจากการย่อยจะถูกขับออกทางผิวของเซลล์ในรูปของกากอาหารต่อไป
ภาพที่ 2 แสดงการกินอาหารของอะมีบาโดยวิธีฟาโกไซโทซิส
(ที่มา:htt://61.19.145.8/student/web 42106/504/504-1941/file.html, 2552)
อาหาร
ซูโดโพเดียม
ยูกลีนา (euglena)
ยูกลีนา ได้อาหารโดยวิธีการสังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากมีโครมาโทฟอร์
(chromatophore) ซึ่งเป็นรงควัตถุ จึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้ นอกจากนี้ยังดารงชีพด้วยการย่อย
สารอาหารที่อยู่รอบ ๆ ตัวแล้วส่งเข้าร่องปาก ตัวยูกลีนาจะรับอาหารจากสิ่งแวดล้อมที่มีอินทรีย์สาร
ละลายอยู่ในปริมาณสูงได้ 2 วิธี คือ
1. การดูดเอาอินทรีย์สารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์โดยตรง
2. ใช้ช่องบริเวณรอบ ๆโคนแฟลกเจลลัมซึ่งที่ปลายบนสุด ของช่องนี้จะมีปาก
(mouth) เปิดอยู่ อาหารที่ลอยอยู่ในน้าจะผ่านเข้าสู่ช่องนี้ แล้วเข้าสู่ภายในเซลล์
ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของยูกลีนา
ก. แสดงภาพถ่ายยูกลีนาจากกล้องจุลทรรศน์
ข. แสดงโครงสร้างของยูกลีนา
(ที่มา : www.cartage.org.lb, 2552)
แฟลกเจลลัม
เจลลัม
คอนแท็กไทล์
แวคิวโอล
คลอโรพลาสต์
เยื่อหุ้มเซลล์
นิวเคลียส
เยื่อหุ้มเซลล์
แฟลกเจลลัม
ตา
ตา
โปรตีนแบนด์
ไพรีนอยด์
พาราไมลอน กรานูล
เยื่อหุ้มเซลล์
ก
ข
แบคทีเรีย และเห็ดรา
แบคทีเรียและเห็ดรา มีการย่อยอาหารที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่น คือ มีการปล่อยเอนไซม์
ออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์ เมื่อย่อยแล้วจึงดูดซึมอาหารเข้าสู่เซลล์ นาไปเลี้ยงเซลล์ต่อไป ตัวอย่าง
เช่น ยีสต์จะปล่อยเอนไซม์อินเวอร์เทส (invertase) ออกมาเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายน้าตาลซูโครส ทา
ให้ได้น้าตาลฟรักโทสและน้าตาลกลูโคส ยีสต์ผลิตอินเวอร์เทสออกมาในปริมาณมาก เพื่อนาน้าตาล
โมเลกุลเดี่ยวที่ได้มาใช้ในการเจริญและกิจกรรมต่าง ๆ ของยีสต์เอง เรานายีสต์มาใช้ในการผลิตทาง
อุตสาหกรรม โดยใช้อินเวอร์เทสออกผลิตน้าตาลผสมระหว่างกลูโคสและฟรักโทสหรือน้าตาลอินเวอร์
เทสเพื่อผสมในขนมเค้ก ลูกกวาด และเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ เป็นต้น โดยปกติน้าตาล
อินเวอร์เทสเป็นน้าตาลที่ได้จากหัวผักกาดหวาน (sugar beet) หรือเตรียมจากอ้อย (sugar cane) เป็น
สารตั้งต้น (substrate)
ภาพที่ 4 แสดงรูปร่างของแบคทีเรียชนิดต่างๆ
(ที่มา : www.norcalblogs.com, 2552)
จุลินทรีย์บางชนิด สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยวิธีสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthetic
autotroph) โดยอาศัยพลังงานจากแสงและแหล่งคาร์บอนอาจได้จากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หรือ
คาร์บอนอินทรีย์ โดยมีคลอโรฟิลล์ชนิดพิเศษช่วยดูดพลังงานแสง ได้แก่ แบคทีเรียสีม่วง
(purple phototrophic bacteria) และแบคทีเรียสีเขียว (green phototrophic bacteria)
ภาพที่ 5 แสดงโครงสร้างของแบคทีเรีย
(ที่มา : www.norcalblogs.com, 2552)
อาหารหลายชนิดไม่ว่ากุ้งแห้ง หอม กระเทียม ถั่วลิสงเมื่อทิ้งไว้นานมักมีรอยสีกระดากระด่าง
เกิดขึ้นนั่นคือขยุ้มรา (mycelium) หากรับประทานอาหารที่มีราเหล่านี้เข้าไปอาจเกิดอันตราย เนื่องจาก
ราบางชนิด เช่น แอสเปอร์จิลลัส ฟลาวัส (aspergillus flavus) มีสารอะฟลาทอกซิน (aflatoxxin) สาร
นี้ไม่ถูกทาลายด้วยความร้อน รวมทั้งเป็นสารก่อมะเร็งตับ และอาจทาให้มีอาการปวดท้อง อาเจียน
บวมตามเท้า และตับโต
หลายคนนิยมรับประทาานขนมปัง ไข่ดาว หมูแฮม เป็นอาหารเช้า ถ้าขนมปังหมดอายุอาจพบ
ราดาหรือราขนมปัง (rhizopus nigricans) บนแผ่นขนมปังนั้นมีลักษณะเป็นจุดดา ๆ และเมื่อทิ้งไว้
หลายวันจะมีปริมาณราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจเต็มแผ่นขนมปังนั้น การที่ราเจริญได้บนแผ่นขนมปัง
เนื่องจากรามีวิธีการนาอาหารเข้าเซลล์โดยการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร (คือแป้ง) นอกเซลล์
แล้วจึงดูดซึมสารอาหารที่ย่อยจนมีโมเลกุลเล็กแล้วเข้าสู่เซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
ไซโตพลาสซึม
ผนังเซลล์
พิไลล์
ไรโบโซม
ดีเอ็นเอ
แฟลกเจลลา
ภาพที่ 6 แสดงลักษณะของเชื้อรา
ก. ภาพแสดงเชื้อราที่เพิ่มจานวนมากขึ้นบนขนมปัง
ข. ภาพแสดงโครงสร้างของรา
(ที่มา : www.dkimages.com/discover/previews/758/330848.JPG, 2552)
แบคทีเรียและรา ต้องการสารอาหารแตกต่างกัน แบคทีเรียบางชนิดสามารถย่อยสารอินทรีย์ที่
มีโมเลกุลใหญ่และซับซ้อนได้ เนื่องจากมีเอนไซม์หลายชนิดในการย่อย ในขณะที่แบคทีเรียบางชนิดมี
เอนไซม์ไม่มาก จึงย่อยได้เฉพาะสารอินทรีย์ที่มีขนาดเล็ก ทั้งแบคทีเรียและรา ส่วนใหญ่จึงดารงชีวิตเป็น
แซโพรไฟต์ (saprophyte) โดยย่อยสลายสารอินทรีย์ให้เป็นสารโมเลกุลเล็กลง แล้วจึงดูดซึม
(absorption) เข้าสู่เซลล์ แต่ก็มีแบคทีเรียและราบางชนิดที่ดารงชีวิตเป็นปรสิต (parasite) โดยดูดซึม
สารอินทรีย์โมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วจากเซลล์โฮสต์ เข้าสู่เซลล์ ซึ่งได้แก่ แบคทีเรียและราก่อโรค
แบคทีเรียบางชนิดดารงชีวิตในสภาพไร้อากาศได้ เช่น เชื้อบาดทะยัก (clostridium tetani)
เป็นแบคทีเรียที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการดารงชีวิต แบคทีเรียบางชนิดทาให้เกิดโรค บางชนิดเป็น
ปรสิต
ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การกินอาหารนั้นต้องกินอาหารขนาดเล็ก การย่อยอาหารภายในเซลล์ไม่
ยุ่งยากซับซ้อน เอนไซม์จากไลโซไซม์เข้าไปย่อยแล้วอาหารโมเลกุลเล็ก ๆ ที่ได้ถูกดูดซึมเข้าเซลล์โดยตรง
แต่ถ้าเป็นสัตว์หลายเซลล์ มีเนื้อเยื่อ ต่าง ๆ กันหลายชนิด บางชนิดร่วมกันทาหน้าที่กลายเป็นอวัยวะ
และระบบย่อยอาหาร ระบบนี้จะทาการเปลี่ยนสภาพอาหารที่เป็นก้อนขนาดใหญ่ให้เล็กลงจนกระทั่ง
สามารถดูดซึมไปเลี้ยงร่างกายได้
ก
ข
สปอร์
อับสปอร์
สโตลอน
เจลลัม
เจลลัม
ก้านชูอับสปอร์
ขนมปัง
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)
1. จุลินทรีย์ หมายถึงอะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. อาหารที่จุลินทรีย์พวกโพรโทซัวกินข้าไปจะนาไปอยู่ในส่วนใด
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3. ฟูดแวคิวโอล คืออะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
4. จงยกตัวอย่างจุลินทรีย์ที่นักเรียนรู้จักมา 5 ชนิด
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
5. การกินอาหารของพารามีเซียมต่างกับอะมีบาอย่างไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
6. แบคทีเรีย หมายถึงอะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.
7. การย่อยอาหารของแบคทีเรียและราเป็นการย่อยแบบใด
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
8. เอนไซม์อินเวอร์เทสทาหน้าที่อะไร
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
9. ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่ผลิตเอนไซม์ชนิดใดบ้าง
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
10. จุลินทรีย์ถูกนามาใช้ประโยชน์ด้านใดบ้าง
คาตอบ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว  ลงในกระดาษคาตอบ
1. การย่อยอาหารของโพรติสต์เซลล์เดียวเกิดขึ้น
บริเวณใด
ก. nucleus
ข. food vacuole
ค. mitochondria
ง. contractile vacuole
2. สิ่งมีชีวิตข้อใดที่มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์
ก. เห็ดรา
ข. ฟองน้า
ค. อะมีบา
ง. พารามีเซียม
3. กระบวนการกินอาหารของอะมีบาเป็นแบบใด
ก. การแพร่ (diffusion)
ข. ออสโมซิส (osmosis)
ค. พิโนไซโทซิส (pinocytosis)
ง. ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis)
4. เอนไซม์ที่โพรโตซัวสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการย่อย
อาหารสร้างมาจากแหล่งใด
ก. ไลโซโซม
ข. ไรโบโซม
ค. ฟูดแวคิวโอล
ง. ไมโทคอนเดรีย
5. การย่อยอาหารของรามีลักษณะการย่อยอาหาร
คล้ายกับสิ่งมีชีวิตใด
ก. ฟองน้า
ข. ยูกลีนา
ค. อะมีบา
ง. แบคทีเรีย
6. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากการทางานของจุลินทรีย์
ก. การผลิตน้าปลา
ข. การผลิตนมเปรี้ยว
ค. การผลิตเหล้าเบียร์
ง. การผลิตเอนไซม์ทุกชนิด
7. กากอาหารที่ย่อยไม่ได้ของพารามีเซียมจะถูก
ขับออกทางใด
ก. ร่องปาก
ข. เท้าเทียม
ค. ช่องขับถ่าย
ง. ฟูดแวคิวโอล
8. น้าย่อยของอะมีบาเป็นสารพวกใด
ก. กรดเกลือ
ข. อะไมเลส
ค. อินเวอร์เทส
ง. ไบคาร์บอเนต
9. การย่อยอาหารของพวกรา เกิดขึ้นโดยวิธีใด
ก. นาอาหารเข้าไปย่อยในเซลล์โดยตรง
ข. ใช้กระบวนการ phagocytosis เหมือน
อะมีบา
ค. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ
เซลล์ต่างได้รับอาหาร
ง. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ
เซลล์ดึงอาหารโมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วมา
ย่อยต่อ
10. การกินอาหารของอะมีบาและพารามีเซียม
ต่างกันอย่างไร
ก. อะมีบามีเท้าเทียม พารามีเซียมมีซิเลีย
ข. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมีซิเลีย
ค. อะมีบามีร่องปาก พารามีเซียมมี
ฟาโกไซโทซิส
ง. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมี
ร่องปาก
บรรณานุกรม
โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา สัตววิทยา 1. พิมพ์ครั้งแรก,
กรุงเทพมหานคร : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด, 2547.
ทวีศักดิ์ ไชยมาโย. “กลวิธีการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้”
วิชาการอุดมศึกษา. 1 : 2 มกราคม – เมษายน 2535.
ประนอม เดชชัย. นวัตกรรมการเรียนการสอน และแนวปฏิบัติ. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2531.
ฝ่ายวิชาการ สานักพิมพ์ดอกหญ้า. แบบฝึกเสริมทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม
ชีววิทยา เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ จากัด,2548
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีววิทยา ม. 5. พิมพ์ครั้งที่ 1,
กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด,2547.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. แผนการจัดการเรียนรู้สองแนวทางที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ.
กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด,2548.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม
ชีววิทยา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว, 2546.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและ
เพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว, 2546.
www.cartage.org.lb, 2552
www.dkimages.com/discover/previews/758/330848.JPG, 2552
www.norcalblogs.com, 2552
htt://61.19.145.8/student/web 42106/504/504-1941/file.html, 2552

Contenu connexe

Tendances

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
Makiya Khompong
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
Sumalee Khvamsuk
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
Oui Nuchanart
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
Wann Rattiya
 

Tendances (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 

En vedette (10)

เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 

Similaire à ชุดกิจกรรม1

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
Oyl Wannapa
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
savong0
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similaire à ชุดกิจกรรม1 (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
Pb
PbPb
Pb
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
1
11
1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
 

Plus de Aon Narinchoti

Plus de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ชุดกิจกรรม1

  • 1. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา นางกฤษณา ชุมภา ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา ด้วยการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา มุ่งเน้นทักษะ กระบวนทางวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง คิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น เพื่อให้ได้ทั้งกระบวนการ ความรู้ และเจตคติที่ดี เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการสอนรายวิชาชีววิทยาให้มีประสิทธิภาพ และส่งผล ดียิ่งขึ้น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นและ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเรียน มีความสุขและมีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาค้นคว้า สารวจตรวจสอบ สืบเสาะหาความรู้ เพื่อรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล นาไปสู่คาตอบ โดยศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นตามสภาพจริงในชีวิตประจาวันด้วยตนเอง ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อ การพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาทุกท่านที่ทาให้ ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี กฤษณา ชุมภา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คาแนะนาการใช้ ก ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 1 กิจกรรมที่ 1 เรื่อง การกินอาหารของพารามีเซียม 3 กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา 9 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 17 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 19 บรรณานุกรม 21
  • 4. สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 1 แสดงทางเดินอาหารของพารามีเซียม 8 ภาพที่ 2 แสดงการกินอาหารของอะมีบาโดยวิธีฟาโกไซโทซิส 12 ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของยูกลีนา 13 ภาพที่ 4 แสดงรูปร่างของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ 14 ภาพที่ 5 แสดงโครงสร้างของแบคทีเรีย 15 ภาพที่ 6 แสดงลักษณะเชื้อรา 16
  • 5. คาแนะนาการใช้ 1. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ เรื่องระบบย่อยอาหารและการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน มีทั้งหมด 5 เล่ม 2. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้ชุดนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง การย่อยอาหาร ของจุลินทรีย์ 3. ศึกษาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เข้าใจ 4. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ 5. ศึกษาเนื้อหาและศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจอย่างชัดเจน ถ้าไม่เข้าใจให้ถามครูผู้สอน 6. ชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้เรื่องนี้มีทั้งหมด 3 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 เรื่องการกินอาหารของพารามีเซียม กิจกรรมที่ 2 เรื่องการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา กิจกรรมที่ 3 เรื่องการย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 7. ร่วมกันอภิปรายผลของกิจกรรมแต่ละกิจกรรม เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องนั้น ๆ 8. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ 9. เมื่อทาชุดกิจกรรมสร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้จบทั้ง 5 ชุดแล้ว นักเรียนจะได้ทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งรวมเนื้อหาจากที่เรียนมาทั้งหมดจากชุดกิจกรรม สร้างเสริมศักยภาพการเรียนรู้
  • 6. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว  ลงในกระดาษคาตอบ 1. การย่อยอาหารของพวกรา เกิดขึ้นโดยวิธีใด ก. นาอาหารเข้าไปย่อยในเซลล์โดยตรง ข. ใช้กระบวนการ phagocytes เหมือนอะมีบา ค. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ เซลล์ต่างได้รับอาหาร ง. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ เซลล์ดึงอาหารโมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วมา ย่อยต่อ 2. การย่อยอาหารของโพรติสต์เซลล์เดียวเกิดขึ้น บริเวณใด ก. contractile vacuole ข. food vacuole ค. mitochondria ง. nucleus 3. กระบวนการกินอาหารของอะมีบาเป็นแบบใด ก. การแพร่ (diffusion) ข. ออสโมซิส (osmosis) ค. พิโนไซโทซิส (pinocytosis) ง. ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) 4. น้าย่อยของอะมีบาเป็นสารพวกใด ก. กรดเกลือ ข. อะไมเลส ค. อินเวอร์เทส ง. ไบคาร์บอเนต 5. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากการทางานของ จุลินทรีย์ ก. การผลิตน้าปลา ข. การผลิตนมเปรี้ยว ค. การผลิตเหล้าเบียร์ ง. การผลิตเอนไซม์ทุกชนิด 6. การย่อยอาหารของรามีลักษณะการย่อย อาหาร คล้ายกับสิ่งมีชีวิตใด ก. ฟองน้า ข. ยูกลีนา ค. อะมีบา ง. แบคทีเรีย 7. กากอาหารที่ย่อยไม่ได้ของพารามีเซียมจะถูก ขับออกทางใด ก. ร่องปาก ข. เท้าเทียม ค. ช่องขับถ่าย ง. ฟูดแวคิวโอล 8. สิ่งมีชีวิตข้อใดที่มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์ ก. เห็ดรา ข. อะมีบา ค. ฟองน้า ง. พารามีเซียม
  • 7. 9. การกินอาหารของอะมีบาและพารามีเซียม ต่างกันอย่างไร ก. อะมีบามีเท้าเทียม พารามีเซียมมีซิเลีย ข. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมีซิเลีย ค. อะมีบามีร่องปากพารามีเซียมมีฟาโกไซโทซิส ง. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมี ร่องปาก 10. เอนไซม์ที่โพรโทซัวสร้างขึ้นเพื่อใช้ ในการย่อยอาหารสร้างมาจากแหล่งใด ก. ไรโบโซม ข. ไลโซโซม ค. ฟูดแวคิวโอล ง. ไมโทคอนเดรีย
  • 8. การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เช่น อะมีบา พารามีเซียม สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จาเป็นต้องกิน อาหารเพื่อให้ได้พลังงาน แต่ไม่มีอวัยวะที่ทาหน้าที่ย่อยอาหาร กิจกรรมที่ 1 เรื่อง การกินอาหารของพารามีเซียม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สารวจตรวจสอบการกินอาหารของพารามีเซียม 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของอาหารเมื่อเข้าไปในเซลล์ของพารามีเซียม วัสดุอุปกรณ์ 1. ยีสต์ 2. พารามีเซียม 3. สารละลายกลูโคส 10 เปอร์เซ็นต์ 4. สีคองโกเรต 5. เมทิลเซลลูโลส 0.1 เปอร์เซ็นต์ 6. สไลด์ และกระจกปิดสไลด์ 7. กล้องจุลทรรศน์ อะมีบาและพารามีเซียม นาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร คะ
  • 9. วิธีทา 1. การเตรียมสีที่ใช้ย้อมเซลล์ยีสต์ โดยเตรียมสารละลายกลูโคส 10 เปอร์เซ็นต์ (เตรียมจาก น้าตาลกลูโคส 10 กรัม ละลายในน้ากลั่น 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ผสมกับสีคองโกเรด (congo red) ประมาณ 30 มิลลิกรัม ใช้แท่งแก้วคนให้เข้ากัน นาไปต้มเดือดนาน 10 นาที ตั้งทิ้งไว้ให้เย็นลงจนถึง อุณหภูมิประมาณ 40 – 50 องศาเซลเซียส 2. เติมยีสต์ผง 0.5 กรัม ลงในสารละลายในข้อ 1 ผสมให้เข้ากันโดยใช้แท่งแก้วคนให้เข้ากัน แล้วทิ้งไว้ประมาณ 10 – 15 นาที เพื่อให้ยีสต์ติดสีอย่างทั่วถึง 3. หยดสารละลายเมทิลเซลลูโลส (methyl cellulose) เข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์ ลงบนแผ่น สไลด์สะอาด 1 หยด เพื่อทาให้พารามีเซียมเคลื่อนที่ได้ช้าลง 4. ใช้หลอดดูด (medicine dropper) ดูดน้าที่เลี้ยงพารามีเซียมเอาไว้แล้วหยดลงบนแผน สไลด์ที่เตรียมไว้ในข้อ 3 จากนั้นหยดสารละลายในข้อ 2 ที่มียีสต์ย้อมสีลงไปบนสไลด์นี้ อีก 1 หยด ปิด ด้วยกระจกปิดสไลด์ 5. นาสไลด์นี้ไปศึกษาการกินอาหาร ของพารามีเซียมด้วยกล้องจุลทรรศน์ คาถามก่อนทากิจกรรม 1. การทากิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์อะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 2. นักเรียนคิดว่าพารามีเซียมมีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ บันทึกผลการทากิจกรรม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 10. วาดภาพการย่อยอาหารของพารามีเซียมจากกล้องจุลทรรศน์ คาถามหลังทากิจกรรม 1. เซลล์ของยีสต์เมื่อเข้าสู่ภายในเซลล์ของพารามีเซียมแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหรือไม่ อย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. พารามีเซียม มีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 11. 3. พารามีเซียม มีของเสียหรือไม่ และมีการกาจัดออกอย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. นักเรียนจะสรุปผลการทากิจกรรมนี้ได้ว่าอย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. บันทึกพิเศษ ...……………………………………………………………………………… ...……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………
  • 12. การย่อยอาหารของโปรตัวซัว (protozoa) โพรโทซัวเป็นจุลินทรีย์ที่มีวิถีการกินอาหารโดยโอบล้อมอาหารและนาเข้าสู่เซลล์โดยวิธี เอนโด ไซโทซีส (endocytosis) ซึ่งอาจเป็นวิธีฟาโกไซโทซีส (phagocytocis) หรือพิโนไซโทซิส (pinocytosis) โพรโทซัวไม่มีอวัยวะสาหรับย่อยอาหารโดยเฉพาะเมื่อกินอาหารโดยโอบล้อมอาหารเข้า ไปแล้วอาหารจะไปอยู่ในถุงฟูดแวคิวโอล (food vacuole) ที่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบ แล้วไลโซโซม (lysosome) จะปล่อยเอนไซม์ไลโซไซม์ (lysozyme) ออกมาย่อยอาหารในฟูดแวคิวโอลนั้นจนอาหาร กลายเป็นสารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลง แล้วลาเลียงผ่านเยื่อฟูดแวคิวโอลออกมาในไซโทพลาสซึม เพื่อ ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของเซลล์ ส่วนที่เหลือเป็นกากอาหารจะถูกกาจัดออกนอกเซลล์ต่อไป กระบวนการ ย่อยอาหารที่กล่าวมานี้เกิดขึ้นภายในเซลล์ จึงเรียกว่า การย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion) โพรโทซัวแต่ละชนิดมีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์แตกต่างกัน ได้แก่ พารามีเซียม (paramecium) พารามีเซียมมีซีเลียอยู่ที่ร่องปาก (oral groove) คอยพัดโบกน้าที่อยู่รอบ ๆ ให้พัดพา อาหารเข้ามาในปาก (cytostome) แล้วอาหารถูกนาเข้าสู่เซลล์โดยวิธีเอนโดไซโทซีส อาหารจะถูก เยื่อหุ้มล้อมรอบไว้ กลายเป็นฟูดแวคิวโอล ขณะเดียวกันในเซลล์พารามีเซียมมีการไหลเวียนของ ไซโทพลาสซึม (cytoplasmic streaming) ไปรอบ ๆ เซลล์ พร้อมกับเอนไซม์ไลโซไซม์ออกมาย่อย อาหารในฟูดแวคิวโอลนั้น ส่วนกากอาหารที่ย่อยไม่ได้ถูกขับออกทางช่องทวาร (anal pore) โดยวิธีเอก โซไซโทซิส (exocytosis) อาหาร เจลลัม เจลลัม ซิเลีย ฟูดแวคิวโอล ร่องปาก อาหาร ไลโซโซม
  • 13. กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อะมีบาได้ 2. บอกลักษณะอาหารที่อยู่ในเซลล์อะมีบาได้ วัสดุอุปกรณ์ 1. ภาพการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา 1 ภาพ วิธีทา ศึกษาภาพการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา บันทึกผล คาถามก่อนทากิจกรรม 1. การทากิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์อะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ซูโดโพเดียม อาหาร
  • 14. 2. นักเรียนคิดว่าอะมีบามีวิธีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์อย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ บันทึกผลการทากิจกรรม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ คาถามหลังทากิจกรรม 1. อะมีบา มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์ที่บริเวณใดของเซลล์ คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. อะมีบา มีการนาอาหารเข้าสู่เซลล์โดยวิธีใด คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. การนาอาหารเข้าสู่เซลล์ของอะมีบา เรียกว่าอะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. นักเรียนจะสรุปผลการทากิจกรรมนี้ได้ว่าอย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................
  • 15. บันทึกพิเศษ ...……………………………………………………………………………… ...……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………...………………………………………………………………………................. ......................................................................................................................................
  • 16. อะมีบา (amoeba) อะมีบา เป็นโพรโทซัวที่เคลื่อนที่ด้วยเท้าเทียม อาหารของอะมีบาประกอบด้วยเศษ สารอินทรีย์ เซลล์แบคทีเรีย สาหร่ายและสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ อะมีบา นาอาหารเข้าสู่เซลล์โดยการยื่นส่วน ของเท้าเทียมที่เรียกว่าซูโดโพเดียม (pseudopodium) ออกไปโอบล้อมอาหารทาให้อาหารตกเข้าไปอยู่ ภายในเซลล์ เรียกอาหารที่อยู่ในเซลล์นี้ว่า ฟูดแวคิวโอล (food vaceuole) การกินโดยการยื่นส่วนของ เท้าเทียมออกไปโอบล้อมอาหารนี้เรียกว่า ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) ซึ่งจะพบได้ในพวกเซลล์เม็ด เลือดขาวด้วย ต่อจากนั้นส่วนไซโทพลาสซึมของอะมีบาก็จะสร้างน้าย่อยออกมาย่อยอาหารภายในฟูดแว คิวโอล อีกทีหนึ่ง การเคลื่อนไหวของไซโทพลาสซึมจะทาให้สารอาหารต่าง ๆ ถูกลาเลียงไปทั่วเซลล์ ส่วนที่เหลือจากการย่อยจะถูกขับออกทางผิวของเซลล์ในรูปของกากอาหารต่อไป ภาพที่ 2 แสดงการกินอาหารของอะมีบาโดยวิธีฟาโกไซโทซิส (ที่มา:htt://61.19.145.8/student/web 42106/504/504-1941/file.html, 2552) อาหาร ซูโดโพเดียม
  • 17. ยูกลีนา (euglena) ยูกลีนา ได้อาหารโดยวิธีการสังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากมีโครมาโทฟอร์ (chromatophore) ซึ่งเป็นรงควัตถุ จึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้ นอกจากนี้ยังดารงชีพด้วยการย่อย สารอาหารที่อยู่รอบ ๆ ตัวแล้วส่งเข้าร่องปาก ตัวยูกลีนาจะรับอาหารจากสิ่งแวดล้อมที่มีอินทรีย์สาร ละลายอยู่ในปริมาณสูงได้ 2 วิธี คือ 1. การดูดเอาอินทรีย์สารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์โดยตรง 2. ใช้ช่องบริเวณรอบ ๆโคนแฟลกเจลลัมซึ่งที่ปลายบนสุด ของช่องนี้จะมีปาก (mouth) เปิดอยู่ อาหารที่ลอยอยู่ในน้าจะผ่านเข้าสู่ช่องนี้ แล้วเข้าสู่ภายในเซลล์ ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของยูกลีนา ก. แสดงภาพถ่ายยูกลีนาจากกล้องจุลทรรศน์ ข. แสดงโครงสร้างของยูกลีนา (ที่มา : www.cartage.org.lb, 2552) แฟลกเจลลัม เจลลัม คอนแท็กไทล์ แวคิวโอล คลอโรพลาสต์ เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ แฟลกเจลลัม ตา ตา โปรตีนแบนด์ ไพรีนอยด์ พาราไมลอน กรานูล เยื่อหุ้มเซลล์ ก ข
  • 18. แบคทีเรีย และเห็ดรา แบคทีเรียและเห็ดรา มีการย่อยอาหารที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอื่น คือ มีการปล่อยเอนไซม์ ออกมาย่อยอาหารนอกเซลล์ เมื่อย่อยแล้วจึงดูดซึมอาหารเข้าสู่เซลล์ นาไปเลี้ยงเซลล์ต่อไป ตัวอย่าง เช่น ยีสต์จะปล่อยเอนไซม์อินเวอร์เทส (invertase) ออกมาเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายน้าตาลซูโครส ทา ให้ได้น้าตาลฟรักโทสและน้าตาลกลูโคส ยีสต์ผลิตอินเวอร์เทสออกมาในปริมาณมาก เพื่อนาน้าตาล โมเลกุลเดี่ยวที่ได้มาใช้ในการเจริญและกิจกรรมต่าง ๆ ของยีสต์เอง เรานายีสต์มาใช้ในการผลิตทาง อุตสาหกรรม โดยใช้อินเวอร์เทสออกผลิตน้าตาลผสมระหว่างกลูโคสและฟรักโทสหรือน้าตาลอินเวอร์ เทสเพื่อผสมในขนมเค้ก ลูกกวาด และเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ เป็นต้น โดยปกติน้าตาล อินเวอร์เทสเป็นน้าตาลที่ได้จากหัวผักกาดหวาน (sugar beet) หรือเตรียมจากอ้อย (sugar cane) เป็น สารตั้งต้น (substrate) ภาพที่ 4 แสดงรูปร่างของแบคทีเรียชนิดต่างๆ (ที่มา : www.norcalblogs.com, 2552) จุลินทรีย์บางชนิด สามารถสร้างอาหารได้เอง โดยวิธีสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthetic autotroph) โดยอาศัยพลังงานจากแสงและแหล่งคาร์บอนอาจได้จากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หรือ คาร์บอนอินทรีย์ โดยมีคลอโรฟิลล์ชนิดพิเศษช่วยดูดพลังงานแสง ได้แก่ แบคทีเรียสีม่วง (purple phototrophic bacteria) และแบคทีเรียสีเขียว (green phototrophic bacteria)
  • 19. ภาพที่ 5 แสดงโครงสร้างของแบคทีเรีย (ที่มา : www.norcalblogs.com, 2552) อาหารหลายชนิดไม่ว่ากุ้งแห้ง หอม กระเทียม ถั่วลิสงเมื่อทิ้งไว้นานมักมีรอยสีกระดากระด่าง เกิดขึ้นนั่นคือขยุ้มรา (mycelium) หากรับประทานอาหารที่มีราเหล่านี้เข้าไปอาจเกิดอันตราย เนื่องจาก ราบางชนิด เช่น แอสเปอร์จิลลัส ฟลาวัส (aspergillus flavus) มีสารอะฟลาทอกซิน (aflatoxxin) สาร นี้ไม่ถูกทาลายด้วยความร้อน รวมทั้งเป็นสารก่อมะเร็งตับ และอาจทาให้มีอาการปวดท้อง อาเจียน บวมตามเท้า และตับโต หลายคนนิยมรับประทาานขนมปัง ไข่ดาว หมูแฮม เป็นอาหารเช้า ถ้าขนมปังหมดอายุอาจพบ ราดาหรือราขนมปัง (rhizopus nigricans) บนแผ่นขนมปังนั้นมีลักษณะเป็นจุดดา ๆ และเมื่อทิ้งไว้ หลายวันจะมีปริมาณราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนอาจเต็มแผ่นขนมปังนั้น การที่ราเจริญได้บนแผ่นขนมปัง เนื่องจากรามีวิธีการนาอาหารเข้าเซลล์โดยการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหาร (คือแป้ง) นอกเซลล์ แล้วจึงดูดซึมสารอาหารที่ย่อยจนมีโมเลกุลเล็กแล้วเข้าสู่เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโตพลาสซึม ผนังเซลล์ พิไลล์ ไรโบโซม ดีเอ็นเอ แฟลกเจลลา
  • 20. ภาพที่ 6 แสดงลักษณะของเชื้อรา ก. ภาพแสดงเชื้อราที่เพิ่มจานวนมากขึ้นบนขนมปัง ข. ภาพแสดงโครงสร้างของรา (ที่มา : www.dkimages.com/discover/previews/758/330848.JPG, 2552) แบคทีเรียและรา ต้องการสารอาหารแตกต่างกัน แบคทีเรียบางชนิดสามารถย่อยสารอินทรีย์ที่ มีโมเลกุลใหญ่และซับซ้อนได้ เนื่องจากมีเอนไซม์หลายชนิดในการย่อย ในขณะที่แบคทีเรียบางชนิดมี เอนไซม์ไม่มาก จึงย่อยได้เฉพาะสารอินทรีย์ที่มีขนาดเล็ก ทั้งแบคทีเรียและรา ส่วนใหญ่จึงดารงชีวิตเป็น แซโพรไฟต์ (saprophyte) โดยย่อยสลายสารอินทรีย์ให้เป็นสารโมเลกุลเล็กลง แล้วจึงดูดซึม (absorption) เข้าสู่เซลล์ แต่ก็มีแบคทีเรียและราบางชนิดที่ดารงชีวิตเป็นปรสิต (parasite) โดยดูดซึม สารอินทรีย์โมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วจากเซลล์โฮสต์ เข้าสู่เซลล์ ซึ่งได้แก่ แบคทีเรียและราก่อโรค แบคทีเรียบางชนิดดารงชีวิตในสภาพไร้อากาศได้ เช่น เชื้อบาดทะยัก (clostridium tetani) เป็นแบคทีเรียที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการดารงชีวิต แบคทีเรียบางชนิดทาให้เกิดโรค บางชนิดเป็น ปรสิต ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การกินอาหารนั้นต้องกินอาหารขนาดเล็ก การย่อยอาหารภายในเซลล์ไม่ ยุ่งยากซับซ้อน เอนไซม์จากไลโซไซม์เข้าไปย่อยแล้วอาหารโมเลกุลเล็ก ๆ ที่ได้ถูกดูดซึมเข้าเซลล์โดยตรง แต่ถ้าเป็นสัตว์หลายเซลล์ มีเนื้อเยื่อ ต่าง ๆ กันหลายชนิด บางชนิดร่วมกันทาหน้าที่กลายเป็นอวัยวะ และระบบย่อยอาหาร ระบบนี้จะทาการเปลี่ยนสภาพอาหารที่เป็นก้อนขนาดใหญ่ให้เล็กลงจนกระทั่ง สามารถดูดซึมไปเลี้ยงร่างกายได้ ก ข สปอร์ อับสปอร์ สโตลอน เจลลัม เจลลัม ก้านชูอับสปอร์ ขนมปัง
  • 21. กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. จุลินทรีย์ หมายถึงอะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 2. อาหารที่จุลินทรีย์พวกโพรโทซัวกินข้าไปจะนาไปอยู่ในส่วนใด คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. ฟูดแวคิวโอล คืออะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 4. จงยกตัวอย่างจุลินทรีย์ที่นักเรียนรู้จักมา 5 ชนิด คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 5. การกินอาหารของพารามีเซียมต่างกับอะมีบาอย่างไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 22. 6. แบคทีเรีย หมายถึงอะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... . 7. การย่อยอาหารของแบคทีเรียและราเป็นการย่อยแบบใด คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 8. เอนไซม์อินเวอร์เทสทาหน้าที่อะไร คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 9. ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่ผลิตเอนไซม์ชนิดใดบ้าง คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 10. จุลินทรีย์ถูกนามาใช้ประโยชน์ด้านใดบ้าง คาตอบ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 23. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว  ลงในกระดาษคาตอบ 1. การย่อยอาหารของโพรติสต์เซลล์เดียวเกิดขึ้น บริเวณใด ก. nucleus ข. food vacuole ค. mitochondria ง. contractile vacuole 2. สิ่งมีชีวิตข้อใดที่มีการย่อยอาหารภายนอกเซลล์ ก. เห็ดรา ข. ฟองน้า ค. อะมีบา ง. พารามีเซียม 3. กระบวนการกินอาหารของอะมีบาเป็นแบบใด ก. การแพร่ (diffusion) ข. ออสโมซิส (osmosis) ค. พิโนไซโทซิส (pinocytosis) ง. ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) 4. เอนไซม์ที่โพรโตซัวสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการย่อย อาหารสร้างมาจากแหล่งใด ก. ไลโซโซม ข. ไรโบโซม ค. ฟูดแวคิวโอล ง. ไมโทคอนเดรีย 5. การย่อยอาหารของรามีลักษณะการย่อยอาหาร คล้ายกับสิ่งมีชีวิตใด ก. ฟองน้า ข. ยูกลีนา ค. อะมีบา ง. แบคทีเรีย 6. ข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากการทางานของจุลินทรีย์ ก. การผลิตน้าปลา ข. การผลิตนมเปรี้ยว ค. การผลิตเหล้าเบียร์ ง. การผลิตเอนไซม์ทุกชนิด 7. กากอาหารที่ย่อยไม่ได้ของพารามีเซียมจะถูก ขับออกทางใด ก. ร่องปาก ข. เท้าเทียม ค. ช่องขับถ่าย ง. ฟูดแวคิวโอล 8. น้าย่อยของอะมีบาเป็นสารพวกใด ก. กรดเกลือ ข. อะไมเลส ค. อินเวอร์เทส ง. ไบคาร์บอเนต
  • 24. 9. การย่อยอาหารของพวกรา เกิดขึ้นโดยวิธีใด ก. นาอาหารเข้าไปย่อยในเซลล์โดยตรง ข. ใช้กระบวนการ phagocytosis เหมือน อะมีบา ค. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ เซลล์ต่างได้รับอาหาร ง. ปล่อยเอนไซม์ออกไปย่อยนอกเซลล์ แต่ละ เซลล์ดึงอาหารโมเลกุลเล็กที่ย่อยแล้วมา ย่อยต่อ 10. การกินอาหารของอะมีบาและพารามีเซียม ต่างกันอย่างไร ก. อะมีบามีเท้าเทียม พารามีเซียมมีซิเลีย ข. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมีซิเลีย ค. อะมีบามีร่องปาก พารามีเซียมมี ฟาโกไซโทซิส ง. อะมีบามีฟาโกไซโทซิส พารามีเซียมมี ร่องปาก
  • 25. บรรณานุกรม โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. ชีววิทยา สัตววิทยา 1. พิมพ์ครั้งแรก, กรุงเทพมหานคร : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด, 2547. ทวีศักดิ์ ไชยมาโย. “กลวิธีการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้” วิชาการอุดมศึกษา. 1 : 2 มกราคม – เมษายน 2535. ประนอม เดชชัย. นวัตกรรมการเรียนการสอน และแนวปฏิบัติ. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2531. ฝ่ายวิชาการ สานักพิมพ์ดอกหญ้า. แบบฝึกเสริมทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ จากัด,2548 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีววิทยา ม. 5. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด,2547. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. แผนการจัดการเรียนรู้สองแนวทางที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด,2548. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว, 2546. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและ เพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพร้าว, 2546. www.cartage.org.lb, 2552 www.dkimages.com/discover/previews/758/330848.JPG, 2552 www.norcalblogs.com, 2552 htt://61.19.145.8/student/web 42106/504/504-1941/file.html, 2552