SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
๑      ความหมายของ
       เศรษฐกิจพอเพียง

          ในการคนหาความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น โดยทั่วไป
แลวสามารถทําได ๒ วิธีคือ คิดคนหาความหมายจากเชิงทฤษฎี
(Deductive) หรือ กลั่นกรองความหมายโดยการนําประสบการณที่มีอยู
มาสังเคราะห (Inductive) เพื่อถอดออกมาเปนขอคิดและหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง การสัมมนาครั้งนี้ไดถอดความหมายของเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยใชวิธีการแบบหลัง คือกลั่นกรองขอคิดจากประสบการณ
ของผูปฏิบัติจริงในพื้นที่ โดยเชิญผูนําชุมชนจากภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ
มาแลกเปลี่ยนประสบการณเกี่ยวกับกิจกรรมที่ชุมชนของตนเองทําอยู
ในสวนที่เห็นวาเกี่ยวของกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แลวแลกเปลี่ยน
ความคิด เห็ นเกี่ยวกับความหมายของเศรษฐกิ จพอเพี ยง ตามความ
เขาใจของแตละคน ผานประสบการณที่เกิดจากกิจกรรมและแนวทาง
ปฏิบัติในแตละชุมชน
๑.๑ กิจกรรมในชุมชนที่สอดคลองกับ
        ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
           ผูนําชุมชนไดใชเวลาทบทวนและแลกเปลี่ยนประสบการณตางๆ
ที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ทําในพื้นที่ของตน โดยเฉพาะกิจกรรมที่เห็นวาสอด
คลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยที่ยังไมมีการกลาวถึงความ
หมายของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเราสามารถจัดประเภทของกิจกรรมที่ผู
นําชุมชนเสนอไดเปน ๓ กลุมกิจกรรมหลัก ประกอบดวยกิจกรรมตางๆ
ดังนี้

           กิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ที่ไมทําลาย
           สิ่งแวดลอมแตใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอยางคุมคา ดวยการ
           หมุนเวียนทุนธรรมชาติภายในพื้นที่ และดวยวิธีการทําเกษตร
           ที่เนนปลูกเพื่อกินเองกอน ที่ผานมาชุมชนไดทํากิจกรรมตางๆ
           ที่เปน มิ ตรกับสิ่งแวดลอม เชน กิจกรรมการทํ าปุยชีวภาพ
           การปลูกผักและขาวที่ปลอดสารพิษ การทําสวนสมุนไพรของ
           ชุมชน การคิดคนสารไลแมลงสมุนไพร การทําถานชีวภาพ
           การรวมกลุ มขยายพั นธุ ปลา การแปรรู ปผลผลิ ตและการทํ าการ
           เกษตรผสมผสาน เปนตน




                                   การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๗
แผนภาพที่ ๑-๑




๘   การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การรวมกลุมกันเพื่อทํากิจกรรมรวมกันของสมาชิกในชุมชน
ดวยทุนทางสังคมที่มีอยู ชุมชนไดรวมตัวกันทํากิจกรรมตางๆ ที่
เกิดจากความรักและความเอื้ออาทรของสมาชิกในชุมชน เชน กิจ
กรรมตอตานยาเสพติด การนมัสการพระใหมาชวยสอนจริย
ธรรมและศีลธรรมในโรงเรียนของชุมชน กิจกรรมการรวม
กลุ มเพื่ อเรี ยนรู ร วมกั น ผ านศู นย การเรี ยนรู หรื อโรงเรี ยน
เกษตรกรในหมูบาน การรวมมือรวมใจของสมาชิกในชุมชนทํากิจ
กรรมตางๆภายในวัด การจัดตั้งรานคาที่เปนของชุมชนเอง การ
จัดทําแผนแมบทชุมชน การจัดตั้งกลุมออมทรัพย การจัดตั้งกอง
ทุ นสวัสดิ การ การรวมกลุ มอนุ รักษ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ ง
แวดล อ ม และกิ จ กรรมการผลิ ต ของกลุ ม ต า งๆ เช น
การรวมกลุมทําขนมของแมบาน หรือรวมกลุมเพื่อปลูกพืชผัก
สวนครัว นอกจากนี้ชุมชน ยังไดตั้งกองทุนขาวสารรวมกับ
ชุมชนอื่นๆในตางภูมิภาค เพื่อคาขายหรือผลิตระหวางกัน
รวมทั้ งเพื่ อการเรียนรู แลกเปลี่ยนประสบการณ และขยายผล
การพัฒนาไปยังเครือขายชุมชนอื่นๆ ดวย

กิจกรรมที่สงเสริมคุณธรรม จิตสํานึกทองถิ่น สงเสริมวิถีชีวิต
และวัฒนธรรมของเศรษฐกิจพอเพี ยง ชุมชนไดริ่เริ่มกิ จกรรม
ที่มุงปลูกฝงจริยธรรมความดีงามและจิตสํานึกรักทองถิ่นให
เกิดขึ้นแกสมาชิกของชุมชน เชน กิจกรรมที่ปลูกฝงสมาชิก
ในชุมชนใหมีความเอื้ออาทรตอกันมากกวาคํานึงถึงตัวเงิน

                             การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   ๙
หรือวัตถุเปนพื้นฐานความสัมพันธ กิจกรรมที่สงเสริมใหสมาชิกทํา
              บัญชีอยางโปรงใสและสุจริต กิจกรรมการพัฒนาครูในชุมชนใหมี
              คุ ณ ภาพและมี จิ ต ผู ก พั น กั บ ท อ งถิ่ น เป น สํ า คั ญ รวมทั้ งกิ จ
              กรรมที่สงเสริมใหสมาชิกในชุมชนพึ่งตนเองกอนที่จะพึ่งหรือ
              ขอความชวยเหลือจากคนอื่น

๑.๒ ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง
          จากมุมมองของชุมชน
             หลั ง จากที่ ผู นํ า ชุ ม ชนได ท บทวนถึ ง กิ จ กรรมที่ ต นเองทํ า อยู
และคิดวาสอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว ผูนําชุมชน
ยั งได ร ว มกั น ค น หาความหมายและให คํ า นิ ย ามเกี่ ย วกั บ ปรั ช ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง จากประสบการณของแตละคน ซึ่งอาจมีมุมมองที่แตก
ตางกัน โดยสามารถสรุปและแบงแยกความหมายของหลักปรัชญาดัง
กล าว ได เป น ๓ ระดั บ คื อ ระดั บ จิ ต สํ านึ ก ระดั บ ปฏิ บั ติ และระดั บ
ปฏิเวธ (ผลที่เกิดจาการปฏิบัติ) ดังนี้คือ

              ระดับจิตสํานึก เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกในชุมชนแตละคน
              ตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใชชีวิตอยางพอดี
              (ความสั น โดษ) และรูสึ ก ถึ งความพอเพี ย ง คื อ ดํ า เนิ น ชี วิ ต




๑๐ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
”อยางสมถะ” ประกอบสัมมาอาชีพหาเลี้ยงตนเองไดอยางถูก
ตอง ไมใหอดอยาก หรือโลภแลวตักตวงหรือเบียดเบียนผูอื่นจน
เกินความจําเปน แตคิดเผื่อแผแบงปนไปยังสมาชิกคนอื่นๆใน
ชุ ม ชนด วย อย า งไรก็ ต ามแม ว า ระดั บ ความพอเพี ย งของ
สมาชิกแตละคนจะไมเทาเทียมกัน แตสมาชิกทุกคนที่ดําเนิน
ชีวิตตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเห็นสอดคลองกันในการ
ยึดมั่นหลักการ ๓ ประการ คือ
   การใชชีวิตบนพื้นฐานของการรูจักตนเอง รูจักพัฒนาตนเอง
   ดวยการพยายามทําจิตใจใหผองใส รวมทั้งมีความเจริญ
   และมีความเย็นในจิตใจอยูเปนประจําอยางตอเนื่อง
   การคิดพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกันในการดําเนิน
   กิจกรรมตางๆ คือเมื่อมีปญหาจากการดําเนินชีวิต ก็ใหใช
   สติ ป ญ ญาไตร ต รองหาสาเหตุ ข องป ญ หาและแก ไขไป
   ตามเหตุและปจจัย ดวยความสามารถและศักยภาพที่ตน
   เองมีอยู กอนที่จะคิดพึ่งผูอื่น และมีการปรึกษาหารือ ถอย
   ทีถอยอาศัย ชวยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน เปนตน
   การใชชีวิตอยางพอเพียง รูจักลดกิเลสและลดความตองการ
   ของตนเองลง เพื่อใหเหลือแรงและเวลาในการพัฒนาคุณ
   ภาพชีวิต ตลอดจนทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากขึ้น


                        การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑
ระดับปฏิบัติ จากการที่ไดจัดเวทีระดมความคิดเห็นใหผูนํา
              ของแตละชุมชนทบทวนกิจกรรมที่ตนเองไดทํามา พรอมกับ
              สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของปรัชญาของ
              เศรษฐกิจพอเพียง ตามมุมมองของผูแทนในแตละชุมชนวา
              มีความเห็นเกี่ยวกับความหมายของหลักปรัชญาดังกลาววาอยางไร
              พบวา ผูนําชุมชนจากแตละพื้นที่ไดรวมกันแสดงความคิดเห็น
              อยางหลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปเปนแนวทาง ในการนําหลักการ
              เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช ในระดั บ ปฏิ บั ติ ได เป น ๔ ขั้ น คื อ
              (๑) พึ่ ง ตนเองได (๒) อยู ไ ด อ ย า งพอเพี ย ง (๓) อยู ร ว มกั น
              อยางเอื้ออาทร และ (๔) อยูดียิ่งขึ้นดวยการเรียนรู โดยแต
              ละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี้
   ขั้นแรก       สมาชิ ก ในชุ ม ชนควรยึ ด หลั ก ของการ “พึ่ ง ตนเอง” คื อ
                 ต อ งพยายามพึ ่ง ตนเองใหไ ด ในระดับ ครอบครัว กอ น
                 ใหแ ตล ะครอบครัว มีก ารบริห ารจัด การอยา งพอดีแ ละ
                 ประหยัด ไมฟุม เฟอ ย โดยสมาชิก แตล ะคนจะตอ งรูจัก
                 ตนเอง เชน รูขอมูลรายรับ-รายจายในครอบครัวของตนเอง
                 และสามารถรักษาระดับการใชจายของตนไมใหเปนหนี้
                 และสมาชิ กจะต องรู จั กดึ งศั กยภาพที่ มี อยู ในตนเองออก
                 มาใชใหไดเกิดประโยชนที่สุด โดยเฉพาะควรสามารถพึ่ง
                 ตนเองในเรื่องของปจจัยสี่ ใหไดระดับหนึ่ง



๑๒ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่สอง   หลังจากที่สมาชิกพึ่งตนเองในดานปจจัยสี่ดังกลาวขางตน
             ได แ ล ว สมาชิ ก ทุ ก คนควรพั ฒ นาตนเองให ส ามารถ
             “อยูไดอยางพอเพียง” คือ ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักทาง
             สายกลางมัชฌิมาปฏิปทา ใหตนเองอยูไดอยางสมดุล คือ
             มีความสุขที่แท โดยไมใหรูสึกขาดแคลนจนตองเบียดเบียน
             ตนเอง หรือดําเนินชีวิตอยางเกินพอดีจนตองเบียดเบียน
             ผูอื่นหรือเบียดเบียนสิ่งแวดลอม แตใหดําเนินชีวิตดังที่
             สมาชิกในภาคเหนือเรียกวา เปนดําเนินชีวิตดวยการทํา
             เกษตรแบบ “แกงโฮะ” คือ ใหมุงทําเกษตรแบบพออยู
             พอกิน ปลูกไวกินเองกอน หากเหลือจึงขาย และขยายพันธุ
             รวมทั้ งสนั บสนุ นให มี การลงแขกเพื่ อเสริ มสร างความ
             สัมพันธระหวางสมาชิกแทนการใชเครื่องจักรเพื่อทุนแรง
ขั้นที่สาม   สมาชิกในชุมชนควร“อยูรวมกันอยางเอื้ออาทร” คือ
             มีความคิดที่จะแจกจายแบงปนไปใหผูอื่น ซึ่งจะทําให
             ได เพื่ อนและเกิ ดเป นวั ฒนธรรมที่ ดี ที่ จะช วยลดความ
             เห็นแกตัวและสรางความพอเพียงใหเกิดขึ้นในจิตใจ
             เชน ในการจัดการทรัพยากรปานั้น สมาชิกที่อาศัยอยู
             บริเวณปาจะมุงเก็บผลผลิตจากปา เพื่อมาใชในการยังชีพ
             ใหพออยูพอกิน พอเหลือจึงคอยแจกจายออกไปดวยวิธี
             ใหไมใชดวยวิธีการขาย ซึ่งเมื่อทําไดดังนี้ก็จะทําใหสมาชิก
             มีทรัพยากรใชหมุนเวียนไดตลอดทั้งปอยางพอเพียง


                                 การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๓
เพราะเก็บไปเพื่อกิน ไมไดเก็บไปขายเพื่อเรงหาเงิน ซึ่งการ
                     มีจิตใจที่แบงปนกันนี้จะเปนพื้นฐานทําใหเกิดการรวม
                     กลุ ม ทางสั งคม สร างเป น เครื อข ายเชื่ อมโยงระหว าง
                     สมาชิกตอไป

     ขั้นสุดทาย สมาชิกควร “อยูดียิ่งขึ้นดวยการเรียนรู” คือ ตองรูจัก
                 พัฒนาตนเอง โดยการเรียนรูจากธรรมชาติและประสบการณ
                 ในโลกกวางดวยตนเองหรือจากการแลกเปลี่ยนรวมกับผู
                 อื่น ใหเกิดเปนชุมชนแหงการเรียนรูที่ทุกคนชวยกัน
                 พัฒนาชีวิตของตนเองและผูอื่นรวมกัน มีการสืบทอด
                 และเรียนรูเพื่อพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและพัฒนาให
                 เปน สัง คมที่มั่น คงและยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจ
                 พอเพียง โดยใชคุณธรรมและวัฒนธรรมเปนตัวนํา ไมได
                 ใชเงินเปนตัวตั้ง

              ระดั บ ปฏิ เวธ(ผลที่ เกิ ด จากการปฏิ บั ติ ) ความหมายของ
              ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากประสบการณที่แลกเปลี่ยนกันนั้น
              ครอบคลุมไปถึงการวัดผลจากการปฏิบัติตามหลักการขางตนดวย
              กลาวคือ สมาชิกในแตละชุมชนไดพัฒนาชีวิตของตนเองใหดีขึ้น
              โดยเริ่มจากการพัฒนาจิตใจ ใหเกิดความพอเพียงในทุกระดับ
              ของการดําเนินชีวิต ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และขยาย
              ไปถึงในระดับสังคม ดังนี้


๑๔ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอเพี ยงในระดั บ ครอบครัว คื อ การที่ ส มาชิ ก ใน
ครอบครัวมีความเปนอยูในลักษณะที่พึ่งพาตนเองไดอยาง
มี ความสุ ข ทั้ งทางกายและทางใจ สามารถดํ าเนิ น ชีวิต
ไดโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น รวมทั้งไมเปนหนี้หรือ
มีภาระดานหนี้สินของตนเองและครอบครัว แตสามารถ
หาปจจัย ๔ มาเลี้ยงตนเองไดโดยที่ยังมีเหลือเปนสวนออม
ของครอบครัวดวย
ความพอเพียงในระดับชุมชน เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกจาก
แตละครอบครัวในชุมชนมีความพอเพียงในระดับครอบครัว
กอน ที่จะรูจักรวมกลุมกันทําประโยชนเพื่อสวนรวม เชน
บริ ห ารจั ด การป จ จั ย ต า งๆ เช น ทรั พ ยากร ภู มิ ป ญ ญา
หรือศักยภาพของสมาชิกในทองถิ่น ที่มีอยูใหสามารถนํา
ไปใชดํ าเนิ น ชีวิต ได อ ยางถู กต อ งและสมดุ ล เพื่ อ ให เกิ ด
ความเปนอยูที่พอเพียงของชุมชนโดยรวมในที่สุด
ความพอเพียงในระดับสังคม เกิดขึ้นจากการรวมกลุมของ
ชุมชนหลายๆแหงที่มีความพอเพียง มารวมกันแลกเปลี่ยน
ความรู สืบทอดภูมิปญญาและรวมกันพัฒนาตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสรางเปนเครือขายเชื่อมโยงระหวาง
ชุมชน ใหเกิดเปนสังคมแหงความพอเพียงในที่สุด




                         การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕

Contenu connexe

En vedette

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
Aon Narinchoti
 
ใบงานหาด้านที่เหลือ
ใบงานหาด้านที่เหลือใบงานหาด้านที่เหลือ
ใบงานหาด้านที่เหลือ
kroojaja
 
หน้าจอของ Google doc
หน้าจอของ Google docหน้าจอของ Google doc
หน้าจอของ Google doc
Aon Narinchoti
 
รายชื่อนักเรียนม.5
รายชื่อนักเรียนม.5รายชื่อนักเรียนม.5
รายชื่อนักเรียนม.5
kroojaja
 
แบบฝึกเรื่อง ฟังก์ชัน
แบบฝึกเรื่อง   ฟังก์ชันแบบฝึกเรื่อง   ฟังก์ชัน
แบบฝึกเรื่อง ฟังก์ชัน
kroojaja
 
นร.มผ.
นร.มผ.นร.มผ.
นร.มผ.
kroojaja
 
ความสัมพันธ์พีทากอรัส
ความสัมพันธ์พีทากอรัสความสัมพันธ์พีทากอรัส
ความสัมพันธ์พีทากอรัส
kroojaja
 
อัตราส่วนและร้อยละ1
อัตราส่วนและร้อยละ1อัตราส่วนและร้อยละ1
อัตราส่วนและร้อยละ1
kroojaja
 

En vedette (20)

Graph
GraphGraph
Graph
 
Real number system full
Real  number  system fullReal  number  system full
Real number system full
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Set language and notation
Set language and notationSet language and notation
Set language and notation
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
ใบงานหาด้านที่เหลือ
ใบงานหาด้านที่เหลือใบงานหาด้านที่เหลือ
ใบงานหาด้านที่เหลือ
 
หน้าจอของ Google doc
หน้าจอของ Google docหน้าจอของ Google doc
หน้าจอของ Google doc
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
รายชื่อนักเรียนม.5
รายชื่อนักเรียนม.5รายชื่อนักเรียนม.5
รายชื่อนักเรียนม.5
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓
 
แบบฝึกเรื่อง ฟังก์ชัน
แบบฝึกเรื่อง   ฟังก์ชันแบบฝึกเรื่อง   ฟังก์ชัน
แบบฝึกเรื่อง ฟังก์ชัน
 
นร.มผ.
นร.มผ.นร.มผ.
นร.มผ.
 
ความสัมพันธ์พีทากอรัส
ความสัมพันธ์พีทากอรัสความสัมพันธ์พีทากอรัส
ความสัมพันธ์พีทากอรัส
 
อัตราส่วนและร้อยละ1
อัตราส่วนและร้อยละ1อัตราส่วนและร้อยละ1
อัตราส่วนและร้อยละ1
 

Similaire à Se appl chapter 1

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
sukhom
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Suriyakan Yunin
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
T Ton Ton
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 

Similaire à Se appl chapter 1 (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 

Plus de Aon Narinchoti

01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
Aon Narinchoti
 

Plus de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
History
HistoryHistory
History
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 

Se appl chapter 1

  • 1. ความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง ในการคนหาความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น โดยทั่วไป แลวสามารถทําได ๒ วิธีคือ คิดคนหาความหมายจากเชิงทฤษฎี (Deductive) หรือ กลั่นกรองความหมายโดยการนําประสบการณที่มีอยู มาสังเคราะห (Inductive) เพื่อถอดออกมาเปนขอคิดและหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง การสัมมนาครั้งนี้ไดถอดความหมายของเศรษฐกิจ พอเพียงโดยใชวิธีการแบบหลัง คือกลั่นกรองขอคิดจากประสบการณ ของผูปฏิบัติจริงในพื้นที่ โดยเชิญผูนําชุมชนจากภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ มาแลกเปลี่ยนประสบการณเกี่ยวกับกิจกรรมที่ชุมชนของตนเองทําอยู ในสวนที่เห็นวาเกี่ยวของกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แลวแลกเปลี่ยน ความคิด เห็ นเกี่ยวกับความหมายของเศรษฐกิ จพอเพี ยง ตามความ เขาใจของแตละคน ผานประสบการณที่เกิดจากกิจกรรมและแนวทาง ปฏิบัติในแตละชุมชน
  • 2. ๑.๑ กิจกรรมในชุมชนที่สอดคลองกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผูนําชุมชนไดใชเวลาทบทวนและแลกเปลี่ยนประสบการณตางๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ทําในพื้นที่ของตน โดยเฉพาะกิจกรรมที่เห็นวาสอด คลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยที่ยังไมมีการกลาวถึงความ หมายของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเราสามารถจัดประเภทของกิจกรรมที่ผู นําชุมชนเสนอไดเปน ๓ กลุมกิจกรรมหลัก ประกอบดวยกิจกรรมตางๆ ดังนี้ กิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ที่ไมทําลาย สิ่งแวดลอมแตใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอยางคุมคา ดวยการ หมุนเวียนทุนธรรมชาติภายในพื้นที่ และดวยวิธีการทําเกษตร ที่เนนปลูกเพื่อกินเองกอน ที่ผานมาชุมชนไดทํากิจกรรมตางๆ ที่เปน มิ ตรกับสิ่งแวดลอม เชน กิจกรรมการทํ าปุยชีวภาพ การปลูกผักและขาวที่ปลอดสารพิษ การทําสวนสมุนไพรของ ชุมชน การคิดคนสารไลแมลงสมุนไพร การทําถานชีวภาพ การรวมกลุ มขยายพั นธุ ปลา การแปรรู ปผลผลิ ตและการทํ าการ เกษตรผสมผสาน เปนตน การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๗
  • 3. แผนภาพที่ ๑-๑ ๘ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 4. การรวมกลุมกันเพื่อทํากิจกรรมรวมกันของสมาชิกในชุมชน ดวยทุนทางสังคมที่มีอยู ชุมชนไดรวมตัวกันทํากิจกรรมตางๆ ที่ เกิดจากความรักและความเอื้ออาทรของสมาชิกในชุมชน เชน กิจ กรรมตอตานยาเสพติด การนมัสการพระใหมาชวยสอนจริย ธรรมและศีลธรรมในโรงเรียนของชุมชน กิจกรรมการรวม กลุ มเพื่ อเรี ยนรู ร วมกั น ผ านศู นย การเรี ยนรู หรื อโรงเรี ยน เกษตรกรในหมูบาน การรวมมือรวมใจของสมาชิกในชุมชนทํากิจ กรรมตางๆภายในวัด การจัดตั้งรานคาที่เปนของชุมชนเอง การ จัดทําแผนแมบทชุมชน การจัดตั้งกลุมออมทรัพย การจัดตั้งกอง ทุ นสวัสดิ การ การรวมกลุ มอนุ รักษ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และกิ จ กรรมการผลิ ต ของกลุ ม ต า งๆ เช น การรวมกลุมทําขนมของแมบาน หรือรวมกลุมเพื่อปลูกพืชผัก สวนครัว นอกจากนี้ชุมชน ยังไดตั้งกองทุนขาวสารรวมกับ ชุมชนอื่นๆในตางภูมิภาค เพื่อคาขายหรือผลิตระหวางกัน รวมทั้ งเพื่ อการเรียนรู แลกเปลี่ยนประสบการณ และขยายผล การพัฒนาไปยังเครือขายชุมชนอื่นๆ ดวย กิจกรรมที่สงเสริมคุณธรรม จิตสํานึกทองถิ่น สงเสริมวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของเศรษฐกิจพอเพี ยง ชุมชนไดริ่เริ่มกิ จกรรม ที่มุงปลูกฝงจริยธรรมความดีงามและจิตสํานึกรักทองถิ่นให เกิดขึ้นแกสมาชิกของชุมชน เชน กิจกรรมที่ปลูกฝงสมาชิก ในชุมชนใหมีความเอื้ออาทรตอกันมากกวาคํานึงถึงตัวเงิน การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๙
  • 5. หรือวัตถุเปนพื้นฐานความสัมพันธ กิจกรรมที่สงเสริมใหสมาชิกทํา บัญชีอยางโปรงใสและสุจริต กิจกรรมการพัฒนาครูในชุมชนใหมี คุ ณ ภาพและมี จิ ต ผู ก พั น กั บ ท อ งถิ่ น เป น สํ า คั ญ รวมทั้ งกิ จ กรรมที่สงเสริมใหสมาชิกในชุมชนพึ่งตนเองกอนที่จะพึ่งหรือ ขอความชวยเหลือจากคนอื่น ๑.๒ ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง จากมุมมองของชุมชน หลั ง จากที่ ผู นํ า ชุ ม ชนได ท บทวนถึ ง กิ จ กรรมที่ ต นเองทํ า อยู และคิดวาสอดคลองกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว ผูนําชุมชน ยั งได ร ว มกั น ค น หาความหมายและให คํ า นิ ย ามเกี่ ย วกั บ ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จากประสบการณของแตละคน ซึ่งอาจมีมุมมองที่แตก ตางกัน โดยสามารถสรุปและแบงแยกความหมายของหลักปรัชญาดัง กล าว ได เป น ๓ ระดั บ คื อ ระดั บ จิ ต สํ านึ ก ระดั บ ปฏิ บั ติ และระดั บ ปฏิเวธ (ผลที่เกิดจาการปฏิบัติ) ดังนี้คือ ระดับจิตสํานึก เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกในชุมชนแตละคน ตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใชชีวิตอยางพอดี (ความสั น โดษ) และรูสึ ก ถึ งความพอเพี ย ง คื อ ดํ า เนิ น ชี วิ ต ๑๐ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 6. ”อยางสมถะ” ประกอบสัมมาอาชีพหาเลี้ยงตนเองไดอยางถูก ตอง ไมใหอดอยาก หรือโลภแลวตักตวงหรือเบียดเบียนผูอื่นจน เกินความจําเปน แตคิดเผื่อแผแบงปนไปยังสมาชิกคนอื่นๆใน ชุ ม ชนด วย อย า งไรก็ ต ามแม ว า ระดั บ ความพอเพี ย งของ สมาชิกแตละคนจะไมเทาเทียมกัน แตสมาชิกทุกคนที่ดําเนิน ชีวิตตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเห็นสอดคลองกันในการ ยึดมั่นหลักการ ๓ ประการ คือ การใชชีวิตบนพื้นฐานของการรูจักตนเอง รูจักพัฒนาตนเอง ดวยการพยายามทําจิตใจใหผองใส รวมทั้งมีความเจริญ และมีความเย็นในจิตใจอยูเปนประจําอยางตอเนื่อง การคิดพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกันในการดําเนิน กิจกรรมตางๆ คือเมื่อมีปญหาจากการดําเนินชีวิต ก็ใหใช สติ ป ญ ญาไตร ต รองหาสาเหตุ ข องป ญ หาและแก ไขไป ตามเหตุและปจจัย ดวยความสามารถและศักยภาพที่ตน เองมีอยู กอนที่จะคิดพึ่งผูอื่น และมีการปรึกษาหารือ ถอย ทีถอยอาศัย ชวยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน เปนตน การใชชีวิตอยางพอเพียง รูจักลดกิเลสและลดความตองการ ของตนเองลง เพื่อใหเหลือแรงและเวลาในการพัฒนาคุณ ภาพชีวิต ตลอดจนทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากขึ้น การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๑
  • 7. ระดับปฏิบัติ จากการที่ไดจัดเวทีระดมความคิดเห็นใหผูนํา ของแตละชุมชนทบทวนกิจกรรมที่ตนเองไดทํามา พรอมกับ สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตามมุมมองของผูแทนในแตละชุมชนวา มีความเห็นเกี่ยวกับความหมายของหลักปรัชญาดังกลาววาอยางไร พบวา ผูนําชุมชนจากแตละพื้นที่ไดรวมกันแสดงความคิดเห็น อยางหลากหลาย ซึ่งสามารถสรุปเปนแนวทาง ในการนําหลักการ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช ในระดั บ ปฏิ บั ติ ได เป น ๔ ขั้ น คื อ (๑) พึ่ ง ตนเองได (๒) อยู ไ ด อ ย า งพอเพี ย ง (๓) อยู ร ว มกั น อยางเอื้ออาทร และ (๔) อยูดียิ่งขึ้นดวยการเรียนรู โดยแต ละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี้ ขั้นแรก สมาชิ ก ในชุ ม ชนควรยึ ด หลั ก ของการ “พึ่ ง ตนเอง” คื อ ต อ งพยายามพึ ่ง ตนเองใหไ ด ในระดับ ครอบครัว กอ น ใหแ ตล ะครอบครัว มีก ารบริห ารจัด การอยา งพอดีแ ละ ประหยัด ไมฟุม เฟอ ย โดยสมาชิก แตล ะคนจะตอ งรูจัก ตนเอง เชน รูขอมูลรายรับ-รายจายในครอบครัวของตนเอง และสามารถรักษาระดับการใชจายของตนไมใหเปนหนี้ และสมาชิ กจะต องรู จั กดึ งศั กยภาพที่ มี อยู ในตนเองออก มาใชใหไดเกิดประโยชนที่สุด โดยเฉพาะควรสามารถพึ่ง ตนเองในเรื่องของปจจัยสี่ ใหไดระดับหนึ่ง ๑๒ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 8. ขั้นที่สอง หลังจากที่สมาชิกพึ่งตนเองในดานปจจัยสี่ดังกลาวขางตน ได แ ล ว สมาชิ ก ทุ ก คนควรพั ฒ นาตนเองให ส ามารถ “อยูไดอยางพอเพียง” คือ ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักทาง สายกลางมัชฌิมาปฏิปทา ใหตนเองอยูไดอยางสมดุล คือ มีความสุขที่แท โดยไมใหรูสึกขาดแคลนจนตองเบียดเบียน ตนเอง หรือดําเนินชีวิตอยางเกินพอดีจนตองเบียดเบียน ผูอื่นหรือเบียดเบียนสิ่งแวดลอม แตใหดําเนินชีวิตดังที่ สมาชิกในภาคเหนือเรียกวา เปนดําเนินชีวิตดวยการทํา เกษตรแบบ “แกงโฮะ” คือ ใหมุงทําเกษตรแบบพออยู พอกิน ปลูกไวกินเองกอน หากเหลือจึงขาย และขยายพันธุ รวมทั้ งสนั บสนุ นให มี การลงแขกเพื่ อเสริ มสร างความ สัมพันธระหวางสมาชิกแทนการใชเครื่องจักรเพื่อทุนแรง ขั้นที่สาม สมาชิกในชุมชนควร“อยูรวมกันอยางเอื้ออาทร” คือ มีความคิดที่จะแจกจายแบงปนไปใหผูอื่น ซึ่งจะทําให ได เพื่ อนและเกิ ดเป นวั ฒนธรรมที่ ดี ที่ จะช วยลดความ เห็นแกตัวและสรางความพอเพียงใหเกิดขึ้นในจิตใจ เชน ในการจัดการทรัพยากรปานั้น สมาชิกที่อาศัยอยู บริเวณปาจะมุงเก็บผลผลิตจากปา เพื่อมาใชในการยังชีพ ใหพออยูพอกิน พอเหลือจึงคอยแจกจายออกไปดวยวิธี ใหไมใชดวยวิธีการขาย ซึ่งเมื่อทําไดดังนี้ก็จะทําใหสมาชิก มีทรัพยากรใชหมุนเวียนไดตลอดทั้งปอยางพอเพียง การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๓
  • 9. เพราะเก็บไปเพื่อกิน ไมไดเก็บไปขายเพื่อเรงหาเงิน ซึ่งการ มีจิตใจที่แบงปนกันนี้จะเปนพื้นฐานทําใหเกิดการรวม กลุ ม ทางสั งคม สร างเป น เครื อข ายเชื่ อมโยงระหว าง สมาชิกตอไป ขั้นสุดทาย สมาชิกควร “อยูดียิ่งขึ้นดวยการเรียนรู” คือ ตองรูจัก พัฒนาตนเอง โดยการเรียนรูจากธรรมชาติและประสบการณ ในโลกกวางดวยตนเองหรือจากการแลกเปลี่ยนรวมกับผู อื่น ใหเกิดเปนชุมชนแหงการเรียนรูที่ทุกคนชวยกัน พัฒนาชีวิตของตนเองและผูอื่นรวมกัน มีการสืบทอด และเรียนรูเพื่อพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและพัฒนาให เปน สัง คมที่มั่น คงและยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง โดยใชคุณธรรมและวัฒนธรรมเปนตัวนํา ไมได ใชเงินเปนตัวตั้ง ระดั บ ปฏิ เวธ(ผลที่ เกิ ด จากการปฏิ บั ติ ) ความหมายของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากประสบการณที่แลกเปลี่ยนกันนั้น ครอบคลุมไปถึงการวัดผลจากการปฏิบัติตามหลักการขางตนดวย กลาวคือ สมาชิกในแตละชุมชนไดพัฒนาชีวิตของตนเองใหดีขึ้น โดยเริ่มจากการพัฒนาจิตใจ ใหเกิดความพอเพียงในทุกระดับ ของการดําเนินชีวิต ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และขยาย ไปถึงในระดับสังคม ดังนี้ ๑๔ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 10. ความพอเพี ยงในระดั บ ครอบครัว คื อ การที่ ส มาชิ ก ใน ครอบครัวมีความเปนอยูในลักษณะที่พึ่งพาตนเองไดอยาง มี ความสุ ข ทั้ งทางกายและทางใจ สามารถดํ าเนิ น ชีวิต ไดโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น รวมทั้งไมเปนหนี้หรือ มีภาระดานหนี้สินของตนเองและครอบครัว แตสามารถ หาปจจัย ๔ มาเลี้ยงตนเองไดโดยที่ยังมีเหลือเปนสวนออม ของครอบครัวดวย ความพอเพียงในระดับชุมชน เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกจาก แตละครอบครัวในชุมชนมีความพอเพียงในระดับครอบครัว กอน ที่จะรูจักรวมกลุมกันทําประโยชนเพื่อสวนรวม เชน บริ ห ารจั ด การป จ จั ย ต า งๆ เช น ทรั พ ยากร ภู มิ ป ญ ญา หรือศักยภาพของสมาชิกในทองถิ่น ที่มีอยูใหสามารถนํา ไปใชดํ าเนิ น ชีวิต ได อ ยางถู กต อ งและสมดุ ล เพื่ อ ให เกิ ด ความเปนอยูที่พอเพียงของชุมชนโดยรวมในที่สุด ความพอเพียงในระดับสังคม เกิดขึ้นจากการรวมกลุมของ ชุมชนหลายๆแหงที่มีความพอเพียง มารวมกันแลกเปลี่ยน ความรู สืบทอดภูมิปญญาและรวมกันพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสรางเปนเครือขายเชื่อมโยงระหวาง ชุมชน ใหเกิดเปนสังคมแหงความพอเพียงในที่สุด การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕