SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  29
Télécharger pour lire hors ligne
การดาเนินการของเซต
เซต สามารถนามาเขียนความสัมพันธ์ระหว่างเซตโดยเชื่อมโยงด้วยแผนภาพ
และแสดงการดาเนินการของเซตซึ่งมีหลักการเกี่ยวกับการเขียนความสัมพันธ์
ของเซต
      ยูเนียนของเซต (Union of Sets)
              พิจารณาความเกี่ยวข้องของเซต A, B และ U
              กาหนด U         =      {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                     A        =      {1, 3, 5, 7}
                     B        =      {5, 6, 7, 8, 9}
เขียนแผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ แสดงเซต A, B และ U ได้ ดงนี้
                                                      ั




บทนิยาม ยูเนียนของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A หรื อของเซต B
        หรื อของทั้งสองเซต ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B
        สัญลักษณ์ยเู นียนของเซต A และเซต B คือ
        AB =               {x | x  A หรื อ x  B}

           ในที่น้ ี ใช้คาว่า “หรื อ” ในความหมายทางคณิ ตศาสตร์
           หมายถึง x อาจเป็ นสมาชิกของเซต A หรื อเซต B หรื อทั้งเซต A และเซต B
จากภาพประกอบ 1
            A   =   {1, 3, 5, 7}
            B   =   {5, 6, 7, 8, 9}
ดังนั้น     AB =   {1, 3, 5, 6, 7, 8, 9}
ตัวอย่ างที่ 3       กาหนด U    =            {1, 2, 3, ..., 20}
                              A   =            {x | x หารด้วย 3 ลงตัว}
                              B   =            {x | x หารด้วย 2 ลงตัว}
                       จงหา A  B
วิธีทา A           =      {x | x หารด้วย 3 ลงตัว}
                   =      {3, 6, 9, 12, 15, 18}
        B          =      {x | x หารด้วย 2 ลงตัว}
                   =      {2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20}
      ดังนั้น A  B = {2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, 14, 15, 16, 18, 20}
เขียนเป็ นแผนภาพได้ ดงนี้
                     ั
ทบทวนความเข้ าใจ

1) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 30}
    A = {x | x เป็ นจานวนที่ 8 หารลงตัว }
    B = {x | x เป็ นจานวนที่ 7 หารลงตัว }
    จงหา A  B และ B  A และเขียนแผนภาพประกอบ
วิธีทา A        = ……………………………..
        B       = ……………………………..
     AB        = …………………………….
     BA        = …………………………….
ทบทวนความเข้ าใจ

1) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 30}
    A = {x | x เป็ นจานวนที่ 8 หารลงตัว }
    B = {x | x เป็ นจานวนที่ 7 หารลงตัว }
    จงหา A  B และ B  A และเขียนแผนภาพประกอบ
วิธีทา A        = ……………………………..
        B       = ……………………………..
     AB        = …………………………….
     BA        = …………………………….
2) กาหนด U = {x | x เป็ นจานวนนับ }
   A = {x | x เป็ นจานวนคี่บวกที่นอยกว่า 7}
                                     ้
   B = {x | x เป็ นจานวนเฉพาะที่นอยกว่า 10}
                                   ้
   จงหา A  B และ B  A
3) กาหนด U = {x | x เป็ นจานวนคู่บวกที่นอยกว่า 20}
                                            ้
   A = {x | x เป็ นจานวนคู่บวกที่อยูระหว่าง 4 และ 16}
                                       ่
   B = {x | x2 = 16}
   จงหา A  B และ B  A
4) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 10}
   A = {1, 2, 8} , B = {2, 4, 8, 10}
   จงหา A  B และ B  A
อินเตอร์ เซกชันของเซต (Intersection of Sets)
           พิจารณาความเกี่ยวข้ องของเซต A, B และ U
           กาหนด U      =         {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                 A      =         {1, 3, 5, 7}
                 B      =         {5, 6, 7, 8, 9}




     จากภาพประกอบ เซต A และเซต B มีสมาชิก 5 และ 7
     ที่เป็ นสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B
               A      =        {1, 3, 5, 7}
               B      =        {5, 6, 7, 8, 9}
     ดังนั้น A  B ={5, 7}
บทนิยาม
                                                                ่ ั
อินเตอร์ เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยูท้ งใน
เซต A และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B
สัญลักษณ์อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ
           A  B = {x | x  A และ x  B}
ตัวอย่ างที่ 1 กาหนด U   =       {1, 2, 3, 4, 5, ..., 30}
                     A   =       {x | x หารด้วย 3 แล้วเหลือเศษ 1}
                     B   =       {x | x หารด้วย 4 ลงตัว}
       จงหา A  B
วิธีทา จาก A         =   {x | x หารด้วย 3 แล้วเหลือเศษ 1}
                     =   {4, 7, 10, 13, 16, 19, 22, 25, 28}
               B     =   {x | x หารด้วย 4 ลงตัว}
                     =   {4, 8, 12, 16, 20, 24, 28}
       ดังนั้น A  B =   {4, 16, 28}
คอมพลีเมนต์ (Complement)
   พิจารณาตัวอย่ าง     U      =        {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                        A      =        {3, 5, 7, 10}
    เขียนแผนภาพแสดงเซต A และส่ วนเติมเต็มของเซต A ได้ ดงภาพประกอบ 1
                                                            ั




                       ภาพประกอบที่ 1
      จากภาพประกอบที่ 1 ส่ วนที่แรเงาคือส่ วนเติมเต็มของเซต A
่
บทนิยาม ส่ วนเติมเต็มของเซต A คือ เซตของทุกสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ U ที่ไม่อยูใน A
        เขียนแทนส่ วนเติมเต็มของเซต A ด้วย A/
        สัญลักษณ์ส่วนเติมเต็มของเซต A คือ
        A/ ={x | x  U และ x  A}




      จากภาพประกอบ 1
                       U        =        {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                       A        =        {3, 5, 7, 10}
              และ      A/       =        {1, 2, 4, 6, 8, 9}
ตัวอย่ างที่ 1  กาหนด U            =        {1, 2, 3, 4, ..., 20}
                      A            =        {x | x หารด้วย 3 หรื อ 5 ได้ลงตัว}
                จงหา A/
 วิธีทา เนื่องจาก A =                {x | x หารด้วย 3 หรื อ 5 ได้ลงตัว}
                       =             {3, 5, 6, 9, 10, 12, 15, 18, 20}
        ดังนั้น A/     =             {1, 2, 4, 7, 8, 11, 13, 14, 16, 17, 19}
                  12478
                                                  u
                               A           A/
                            3569
                            10 12 15
                            18 20

                 11 13 14 16 17 19
ให้นกเรี ยนหาคอมพลีเมนต์ของเซตต่อไปนี้พร้อมทั้งเขียนแผนภาพ
    ั
ผลต่ างของเซต (Set Difference)
        พิจารณาตัวอย่าง
        กาหนด U         =      {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
               A        =      {1, 2, 3, 5, 9}
               B        =      {2, 4, 5, 8}
เขียนแผนภาพแสดงสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B ได้ดงส่ วนที่แรเงา
                                                               ั




       ภาพประกอบที่ 1 เราเรี ยกเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A
       ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B ว่าผลต่างของเซต A และเซต B
บทนิยาม ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตของทุกสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิก
        ของเซต B เขียนแทนผลต่างของเซต A และเซต B ด้วย A - B
        สัญลักษณ์ผลต่างของเซต A และเซต B คือ
        A - B = {x | x  A และ x  B}

  ตัวอย่ างที่ 1   กาหนด U       =           {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                          A      =           {1, 2, 4, 6}
                          B      =           {3, 4, 5, 6, 7}
  จงหา 1)          A - B และ B - A
       2)          U - (AB)
วิธีทำ เขียนแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้ องของ A, B และ U ได้ ดงนี ้
                                                         ั


             A         B                              A           B

                 4     3                                          3
         1                                        1       4
                 6     5                                          5
         2                                        2       6
                       7                                          7
8 9 10                                   8 9 10
 A–B =               {1, 2}              B-A      =           {3, 5, 7}
A             B
                            3
             1      4
                            5
             2      6
                            7

                                8 9 10

AB =          {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
ดังนั้น U - (AB)        =         {8, 9, 10}
ตัวอย่ าง       กาหนด U       =    {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                      A       =    {1, 2, 4, 6}
                      B       =    {3, 4, 5, 6, 7}

จงหา 1)         (A  B) - B
     2)         A/ - (AB)

                          AB =   {4, 6}
        ดังนั้น (A  B) - B   =   {4, 6} - {3, 4, 5, 6, 7}
                              =   {}
ตัวอย่ าง         กาหนด U      =    {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                        A      =    {1, 2, 4, 6}
                        B      =    {3, 4, 5, 6, 7}

            2)    A/ - (AB)


        ดังนั้น          A/    =   {3, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                         AB =     {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
                  A/ - (AB)   =   {8, 9, 10}
ตัวอย่ าง     กาหนด U        =      {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                      A      =      {1, 2, 4, 6}
                      B      =      {3, 4, 5, 6, 7}
                      C      =      {6, 7, 8, 9}
จงหา 1)       (A - C)  B/
     2)       (AC)/ - (A-B)
                     A-C =       {1, 2, 4}
                    B/     =     {1, 2, 8, 9, 10}
            (A - C)  B/   =     {1, 2}
ตัวอย่ าง   กาหนด U        =        {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                    A      =        {1, 2, 4, 6}
                    B      =        {3, 4, 5, 6, 7}
                    C      =        {6, 7, 8, 9}
จงหา 1)     (A - C)  B/
     2)     (AC)/ - (A-B)
                 AC =           { 6}
                 (AC)/ =        {1, 2, 3, 4, 5, 7, 8, 9, 10}
                (A - B) =        {1, 2}
             (AC)/ - (A-B) =   {3, 4, 5, 7, 8, 9, 10}
แบบฝึ กหัด   กาหนด U       =    {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
                     A     =    {1, 2, 3, 4, 6, 8}
                     B     =    {3, 4, 5, 6, 7}
                     C     =    {5, 6, 7, 8, 9}
จงหา 1)      (A - B)  C/
     2)      (A-C)  (A-B)
     3)      (AB)  (A  C)
       4)    (C-B)  A/
       5)    (B  C) – (A C)
จานวนสมาชิกของเซตจากัด

            จานวนสมาชิกของเซตจากัด A ใด ๆ จะเขียนแทนด้ วยสั ญลักษณ์ n(A)
ซึ่งสามารถแยกโจทย์ปัญหาเกียวกับจานวนสมาชิกของเซตจากัดและแผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์
                            ่
สามารถใช้ แสดงการดาเนินการของเซตได้ และในการแก้ปัญหาทีเ่ กียวกับเซต
                                                                 ่
มักใช้ แผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ เพือช่ วยอธิบายความเกียวข้ องต่ างๆ
                                  ่                ่
ซึ่งช่ วยให้ การคิดคานวณ ทาได้ ง่ายขึนได้ ดังนี้
                                     ้

   n(A  B) = n(A) + n(B) – n(A  B)
   n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A  B) – n(A  C) – n(B  C)
                  + n(A  B  C)
แบบฝึ กหัด
กาหนด n(U) = 90 , n(A) = 60, n(B) = 55 และ n(A  B)=30 จงหาจานวนสมาชิกของเซต
ในแต่ละข้อ

       1. A  B
       2. A-B
       3. B-A
       4. A/
       5. B/
       6. A  B/
       7. A/  B/
นักเรียนชั้น ม. 5 โรงเรียนแห่ งหนึ่ง จานวน 100 คน ได้ รับรางวัลเรียนดี 20 คน
ได้ รับรางวัลมารยาทดี 30 คน ในจานวนนีได้ รับรางวัลทั้งสองประเภท 10 คน
                                          ้
           จงหา 1.            จานวนนักเรียนทั้งหมดที่ได้ รับรางวัล
                    2.        จานวนนักเรียนทีไม่ ได้ รับรางวัล
                                              ่
   วิธีทา   ให้ A แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลเรี ยนดี
                B แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลมารยาทดี
            จากโจทย์จะได้ n(A) = 20 , n(B) = 30 , n(A  B) = 10
            จาก                n(A  B)          = n(A) + n(B) + n(A  B)
                    แทนค่า n(A  B)              = 20 + 30 – 10
                                                 = 40
                จานวนนักเรี ยนที่ไม่ได้รับรางวัล = 100 – 40 = 60
            จานวนนักเรี ยนทั้งหมดที่ได้รับรางวัล = 40
ตัวอย่ าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 100 คน
           ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน            43         คน
           ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศส 76               คน
           ไม่ ได้ ลงทะเบียนเรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส              10   คน
           มีนักเรียนที่เรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศสกีคน
                                                         ่
   วิธีทา   ให้เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส x                 คน
            ดังนั้น เรี ยนภาษาจีนอย่างเดียว                       43-x             คน
                        เรี ยนภาษาฝรั่งเศสอย่างเดียว              76-x             คน
                        ไม่เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส       10               คน
                        นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทั้งหมด   100              คน
   นาข้อมูลจากข้อ มาเขียนสมการ และหาค่า x
            จะได้ x+(43-x)+(76-x)+10 = 100
                                            x = 29
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 100 คน
           ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน            43         คน
           ลงทะเบียนเรี ยนวิชาภาษาฝรั่งเศส      76         คน
           ไม่ ได้ ลงทะเบียนเรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส               10   คน
           มีนักเรียนที่เรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศสกีคน
                                                         ่

   วิธีทา    ให้เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส x                 คน
             ดังนั้น เรี ยนภาษาจีนอย่างเดียว                       43-x             คน
                         เรี ยนภาษาฝรั่งเศสอย่างเดียว              76-x             คน
                         ไม่เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส       10               คน
                         นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทั้งหมด   100              คน

Contenu connexe

Tendances

อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันAon Narinchoti
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Focusjung Suchat
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
Discrete-Chapter 03 Matrices
Discrete-Chapter 03 MatricesDiscrete-Chapter 03 Matrices
Discrete-Chapter 03 MatricesWongyos Keardsri
 
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์kroojaja
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 

Tendances (20)

15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
Venn eu
Venn euVenn eu
Venn eu
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
Discrete-Chapter 03 Matrices
Discrete-Chapter 03 MatricesDiscrete-Chapter 03 Matrices
Discrete-Chapter 03 Matrices
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
แบบฝึกหัดเวนน์ออยเลอร์
 
Set problem2 p
Set problem2 pSet problem2 p
Set problem2 p
 
Set
SetSet
Set
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 

Similaire à Set54 operation

Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตkroojaja
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEFocusjung Suchat
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 

Similaire à Set54 operation (20)

Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
การดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซตการดำเนินการทางเซต
การดำเนินการทางเซต
 
Set
SetSet
Set
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
Math kit ebook
Math kit ebookMath kit ebook
Math kit ebook
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
13ผลต่าง
13ผลต่าง13ผลต่าง
13ผลต่าง
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cross
CrossCross
Cross
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 

Plus de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Plus de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Set54 operation

  • 2. เขียนแผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ แสดงเซต A, B และ U ได้ ดงนี้ ั บทนิยาม ยูเนียนของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A หรื อของเซต B หรื อของทั้งสองเซต ยูเนียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B สัญลักษณ์ยเู นียนของเซต A และเซต B คือ AB = {x | x  A หรื อ x  B} ในที่น้ ี ใช้คาว่า “หรื อ” ในความหมายทางคณิ ตศาสตร์ หมายถึง x อาจเป็ นสมาชิกของเซต A หรื อเซต B หรื อทั้งเซต A และเซต B
  • 3. จากภาพประกอบ 1 A = {1, 3, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8, 9} ดังนั้น AB = {1, 3, 5, 6, 7, 8, 9}
  • 4. ตัวอย่ างที่ 3 กาหนด U = {1, 2, 3, ..., 20} A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว} B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว} จงหา A  B วิธีทา A = {x | x หารด้วย 3 ลงตัว} = {3, 6, 9, 12, 15, 18} B = {x | x หารด้วย 2 ลงตัว} = {2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20} ดังนั้น A  B = {2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, 14, 15, 16, 18, 20}
  • 6. ทบทวนความเข้ าใจ 1) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 30} A = {x | x เป็ นจานวนที่ 8 หารลงตัว } B = {x | x เป็ นจานวนที่ 7 หารลงตัว } จงหา A  B และ B  A และเขียนแผนภาพประกอบ วิธีทา A = …………………………….. B = …………………………….. AB = ……………………………. BA = …………………………….
  • 7. ทบทวนความเข้ าใจ 1) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 30} A = {x | x เป็ นจานวนที่ 8 หารลงตัว } B = {x | x เป็ นจานวนที่ 7 หารลงตัว } จงหา A  B และ B  A และเขียนแผนภาพประกอบ วิธีทา A = …………………………….. B = …………………………….. AB = ……………………………. BA = …………………………….
  • 8. 2) กาหนด U = {x | x เป็ นจานวนนับ } A = {x | x เป็ นจานวนคี่บวกที่นอยกว่า 7} ้ B = {x | x เป็ นจานวนเฉพาะที่นอยกว่า 10} ้ จงหา A  B และ B  A 3) กาหนด U = {x | x เป็ นจานวนคู่บวกที่นอยกว่า 20} ้ A = {x | x เป็ นจานวนคู่บวกที่อยูระหว่าง 4 และ 16} ่ B = {x | x2 = 16} จงหา A  B และ B  A 4) กาหนด U = {1, 2, 3, . . . , 10} A = {1, 2, 8} , B = {2, 4, 8, 10} จงหา A  B และ B  A
  • 9. อินเตอร์ เซกชันของเซต (Intersection of Sets) พิจารณาความเกี่ยวข้ องของเซต A, B และ U กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 3, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8, 9} จากภาพประกอบ เซต A และเซต B มีสมาชิก 5 และ 7 ที่เป็ นสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B A = {1, 3, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8, 9} ดังนั้น A  B ={5, 7}
  • 10. บทนิยาม ่ ั อินเตอร์ เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยูท้ งใน เซต A และเซต B อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A  B สัญลักษณ์อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ A  B = {x | x  A และ x  B}
  • 11. ตัวอย่ างที่ 1 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, ..., 30} A = {x | x หารด้วย 3 แล้วเหลือเศษ 1} B = {x | x หารด้วย 4 ลงตัว} จงหา A  B วิธีทา จาก A = {x | x หารด้วย 3 แล้วเหลือเศษ 1} = {4, 7, 10, 13, 16, 19, 22, 25, 28} B = {x | x หารด้วย 4 ลงตัว} = {4, 8, 12, 16, 20, 24, 28} ดังนั้น A  B = {4, 16, 28}
  • 12. คอมพลีเมนต์ (Complement) พิจารณาตัวอย่ าง U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {3, 5, 7, 10} เขียนแผนภาพแสดงเซต A และส่ วนเติมเต็มของเซต A ได้ ดงภาพประกอบ 1 ั ภาพประกอบที่ 1 จากภาพประกอบที่ 1 ส่ วนที่แรเงาคือส่ วนเติมเต็มของเซต A
  • 13. ่ บทนิยาม ส่ วนเติมเต็มของเซต A คือ เซตของทุกสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ U ที่ไม่อยูใน A เขียนแทนส่ วนเติมเต็มของเซต A ด้วย A/ สัญลักษณ์ส่วนเติมเต็มของเซต A คือ A/ ={x | x  U และ x  A} จากภาพประกอบ 1 U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {3, 5, 7, 10} และ A/ = {1, 2, 4, 6, 8, 9}
  • 14. ตัวอย่ างที่ 1 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, ..., 20} A = {x | x หารด้วย 3 หรื อ 5 ได้ลงตัว} จงหา A/ วิธีทา เนื่องจาก A = {x | x หารด้วย 3 หรื อ 5 ได้ลงตัว} = {3, 5, 6, 9, 10, 12, 15, 18, 20} ดังนั้น A/ = {1, 2, 4, 7, 8, 11, 13, 14, 16, 17, 19} 12478 u A A/ 3569 10 12 15 18 20 11 13 14 16 17 19
  • 16. ผลต่ างของเซต (Set Difference) พิจารณาตัวอย่าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 3, 5, 9} B = {2, 4, 5, 8} เขียนแผนภาพแสดงสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B ได้ดงส่ วนที่แรเงา ั ภาพประกอบที่ 1 เราเรี ยกเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิกของเซต B ว่าผลต่างของเซต A และเซต B
  • 17. บทนิยาม ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตของทุกสมาชิกของเซต A ที่ไม่เป็ นสมาชิก ของเซต B เขียนแทนผลต่างของเซต A และเซต B ด้วย A - B สัญลักษณ์ผลต่างของเซต A และเซต B คือ A - B = {x | x  A และ x  B} ตัวอย่ างที่ 1 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} จงหา 1) A - B และ B - A 2) U - (AB)
  • 18. วิธีทำ เขียนแผนภาพแสดงความเกี่ยวข้ องของ A, B และ U ได้ ดงนี ้ ั A B A B 4 3 3 1 1 4 6 5 5 2 2 6 7 7 8 9 10 8 9 10 A–B = {1, 2} B-A = {3, 5, 7}
  • 19. A B 3 1 4 5 2 6 7 8 9 10 AB = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ดังนั้น U - (AB) = {8, 9, 10}
  • 20. ตัวอย่ าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} จงหา 1) (A  B) - B 2) A/ - (AB) AB = {4, 6} ดังนั้น (A  B) - B = {4, 6} - {3, 4, 5, 6, 7} = {}
  • 21. ตัวอย่ าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} 2) A/ - (AB) ดังนั้น A/ = {3, 5, 6, 7, 8, 9, 10} AB = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} A/ - (AB) = {8, 9, 10}
  • 22. ตัวอย่ าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} C = {6, 7, 8, 9} จงหา 1) (A - C)  B/ 2) (AC)/ - (A-B) A-C = {1, 2, 4} B/ = {1, 2, 8, 9, 10} (A - C)  B/ = {1, 2}
  • 23. ตัวอย่ าง กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 4, 6} B = {3, 4, 5, 6, 7} C = {6, 7, 8, 9} จงหา 1) (A - C)  B/ 2) (AC)/ - (A-B) AC = { 6} (AC)/ = {1, 2, 3, 4, 5, 7, 8, 9, 10} (A - B) = {1, 2} (AC)/ - (A-B) = {3, 4, 5, 7, 8, 9, 10}
  • 24. แบบฝึ กหัด กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 2, 3, 4, 6, 8} B = {3, 4, 5, 6, 7} C = {5, 6, 7, 8, 9} จงหา 1) (A - B)  C/ 2) (A-C)  (A-B) 3) (AB)  (A  C) 4) (C-B)  A/ 5) (B  C) – (A C)
  • 25. จานวนสมาชิกของเซตจากัด จานวนสมาชิกของเซตจากัด A ใด ๆ จะเขียนแทนด้ วยสั ญลักษณ์ n(A) ซึ่งสามารถแยกโจทย์ปัญหาเกียวกับจานวนสมาชิกของเซตจากัดและแผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ ่ สามารถใช้ แสดงการดาเนินการของเซตได้ และในการแก้ปัญหาทีเ่ กียวกับเซต ่ มักใช้ แผนภาพเวนน์ -ออยเลอร์ เพือช่ วยอธิบายความเกียวข้ องต่ างๆ ่ ่ ซึ่งช่ วยให้ การคิดคานวณ ทาได้ ง่ายขึนได้ ดังนี้ ้ n(A  B) = n(A) + n(B) – n(A  B) n(A  B  C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A  B) – n(A  C) – n(B  C) + n(A  B  C)
  • 26. แบบฝึ กหัด กาหนด n(U) = 90 , n(A) = 60, n(B) = 55 และ n(A  B)=30 จงหาจานวนสมาชิกของเซต ในแต่ละข้อ 1. A  B 2. A-B 3. B-A 4. A/ 5. B/ 6. A  B/ 7. A/  B/
  • 27. นักเรียนชั้น ม. 5 โรงเรียนแห่ งหนึ่ง จานวน 100 คน ได้ รับรางวัลเรียนดี 20 คน ได้ รับรางวัลมารยาทดี 30 คน ในจานวนนีได้ รับรางวัลทั้งสองประเภท 10 คน ้ จงหา 1. จานวนนักเรียนทั้งหมดที่ได้ รับรางวัล 2. จานวนนักเรียนทีไม่ ได้ รับรางวัล ่ วิธีทา ให้ A แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลเรี ยนดี B แทน เซตของนักเรี ยนที่ได้รับรางวัลมารยาทดี จากโจทย์จะได้ n(A) = 20 , n(B) = 30 , n(A  B) = 10 จาก n(A  B) = n(A) + n(B) + n(A  B) แทนค่า n(A  B) = 20 + 30 – 10 = 40 จานวนนักเรี ยนที่ไม่ได้รับรางวัล = 100 – 40 = 60 จานวนนักเรี ยนทั้งหมดที่ได้รับรางวัล = 40
  • 28. ตัวอย่ าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 100 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน 43 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศส 76 คน ไม่ ได้ ลงทะเบียนเรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส 10 คน มีนักเรียนที่เรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศสกีคน ่ วิธีทา ให้เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส x คน ดังนั้น เรี ยนภาษาจีนอย่างเดียว 43-x คน เรี ยนภาษาฝรั่งเศสอย่างเดียว 76-x คน ไม่เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส 10 คน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทั้งหมด 100 คน นาข้อมูลจากข้อ มาเขียนสมการ และหาค่า x จะได้ x+(43-x)+(76-x)+10 = 100 x = 29
  • 29. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 100 คน ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน 43 คน ลงทะเบียนเรี ยนวิชาภาษาฝรั่งเศส 76 คน ไม่ ได้ ลงทะเบียนเรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส 10 คน มีนักเรียนที่เรียนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศสกีคน ่ วิธีทา ให้เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส x คน ดังนั้น เรี ยนภาษาจีนอย่างเดียว 43-x คน เรี ยนภาษาฝรั่งเศสอย่างเดียว 76-x คน ไม่เรี ยนทั้งภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส 10 คน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ทั้งหมด 100 คน