SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  135
Coronary artery disease 
Valvular 
heart 
disease 
Infection 
heart 
disease 
By Pol.Capt. Aphisit Tamsat
Coronary artery disease
วัตถุประสงค์ 
• มีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจ 
• มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจและลิ้นหัวใจ 
• มีความรู้เกี่ยวกับโรคลิ้นหัวใจ 
• สามารถนาความรู้ไปใช้ในการให้การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอด 
เลือดหัวใจ โรคติดเชื้อเยื่อที่หุ้มหัวใจ-ลิ้นหัวใจ และโรคลิ้นหัวใจ 
ได้
มีหลายชื่อเรียก 
• โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี 
(Coronary Heart Disease: CHD; Coronary artery disease: CAD) 
• โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีแข็ง 
(arteriosclerotic heart disease: ASHD) 
• โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 
(cardiovascular heart disease: CVHD)
กลไกการไหลเวียนของเลือดในระบบหลอดเลือดโคโรนารี 
• เลือดแดงจากหลอดเลือดโคโรนารีจะถูกส่งไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อ 
หัวใจ โดยหลอดเลือดโคโรนารีจะแยกการไหลเวียนออกเป็น 2 ส่วน 
คือ left coronary artery และ right coronary artery โดย left 
coronary artery
Coronary artery 
• Left main coronary artery แยกออกเป็น left anterior descending 
artery (LAD) ซึ่งจะทาหน้าที่ในการหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้อง 
ล้างซ้าย intervertricular septum และ anterior papillary muscle 
ของหัวใจห้องล่างซ้าย 
• Right coronary artery จะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา และ 
แยกอ้อมไปทางด้านหลังเป็น posterior descending artery, 
artrioventricular node และ posterior pappilary muscle นอกจากนี้ 
หลอดเลือดแดงโคโรนารีขวายังส่งเลือดไปเลี้ยง sinoatrial node
Coronary artery
Coronary artery
Coronary artery
Coronary artery
Adapted From http://ctvstexas.com/about-ctvs/our-services/ 
cardiac-services/coronary-artery-bypass-grafting-cabg/
Pathophysiology of CAD 
• เริ่มจากความผิดปกติของเซลบุผนังหลอดเลือดโคโรนารีด้านใน ที่มี 
ไขมันชนิดที่มีความหนาแน่นต่า (low density lipoprotein cholesterol: 
LDL-C) ไปสะสมในช่องว่างตรง extracellular subendothelial space 
และถูก oxidided เป็น oxidided LDL ซึ่ง oxidided LDL เป็นอันตรายต่อ 
เซลล์บุผนังหลอดเลือด โดยการสร้างสารเคมีที่มีฤทธิ์ดึง monocyte เข้า 
ไปในผนังหลอดเลือดกลายเป็น macrophage คอยจับกินไขมัน แล้ว 
กลายเป็น foam cell หรือ lipid-laden macrophage แทรกตัวอยู่ในเยื่อบุ 
ผนังหลอดเลือดชนั้ใน การสะสมของ foam cell ทาให้เกิดรอยไขมัน 
(fatty streak) ที่มีลักษณะเรียบเป็นเส้นสีเหลืองทาให้ผนังชนั้ในของ 
หลอดเลือดจะนูนขึ้นเล็กน้อย และหลังจากนั้นรอยไขมันจะเปลี่ยนเป็น 
ก้อนไขมัน (fibrous plaque) ที่ผนังหลอดเลือดแดง
Plaque
normal artery 
atherosclerotic plaque
ขนั้ตอนของการเกิดการอุดตันในCAD
สาเหตุการอุดตันของ CAD จากการศึกษาในปัจจุบัน 
• มักพบบริเวณ epithelial arteries หรือที่เรียกว่า arteromatous 
plaque 
• การอุดตันส่วนใหญ่มีสาเหตุจาก non-arterosclerotic และความ 
ผิดปกติแต่กาเนิดของหลอดเลือดโคโรนารี
Non-arterosclerotic 
http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http%3A%2F%2Fwww.nature.com%2Fnm%2Fjournal%2Fv8%2Fn11%2Fimages%2Fnm11 
02-1257-F2.gif&imgrefurl=http%3A%2F%2Fwww.nature.com%2Fnm%2Fjournal%2Fv8%2Fn11%2Ffig_tab%2Fnm1102- 
1257_F2.html&h=396&w=640&tbnid=pYwWKBuTW8mzM%3A&zoom=1&docid=OAJeetXc4fFTVM&ei=elMWVPWMPNOfugT68YL 
gCw&tbm=isch&client=firefox-a&ved=0CCUQMygLMAs&iact=rc&uact=3&dur=417&page=1&start=0&ndsp=21
Atherosclerosis
Pathophysiology of CAD 
• เมื่อหลอดเลือดแดงเกิดการอักเสบจนแข็งและหนาตัวขึ้น 
(artherosclerosis) ก้อนไขมันจะทาให้รูภายในหลอดเลือดแดงโคโร 
นารีตีบแคบ เลือดแดงจากหลอดเลือดโคโรนารีที่ไหลเข้าสู่กล้ามเนื้อ 
หัวใจจะลดลงหรือจนกระทัง่หยุดการไหลของเลือด ซึ่งหากหลอด 
เลือดโคโรนารีเกิดการตีบแคบร้อยละ 70 จะทาให้เกิดอาการเจ็บ 
แน่นหน้าอกหรือแน่นหน้าอกเมื่อออกแรง และถ้ามีการปริแตกของ 
ก้อนไขมันที่อยู่ผนังของหลอดเลือดแดงอย่างเฉียบพลัน และกระตุ้น 
ให้เกิดการก่อตัวของลิ่มเลือดจนทาให้หลอดเลือดอุดตันอย่าง 
รวดเร็ว จนเกิดอาการหลอดเลือดโคโรนารีอย่างเฉียบพลัน (Acute 
coronary syndrome: ACS) (กอบกุล, 2546; ฐาปณีย์, 2549)
การดาเนินโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี 
ภาวะหลอดเลือดโคโรนารีแข็งหรือตีบ 
เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 
(decrease perfusion of myocardial tissue) 
เซลกล้ามเนื้อหัวใจขาดออกซิเจน 
(inadequate myocardial oxygen supply) 
เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หรืออาจถึงกับเสียชีวิตได้ทันที 
(กอบกุล, 2546)
โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี 
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและเกิดการตายของกล้ามเนื้อหวัใจ 
การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ (cardiac dysrhythmia) 
ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) 
หรือเสียชีวิตอย่างกะทันหัน (sudden death) 
(สุจินดา ริมศรีทอง, สุดาพรรณ ธัญจิรา, และ อรสา พันธ์ภักดี, 
2552)
Sign & Symptom of CAD 
• อาการจะปรากฏชัดเจนเมื่อหลอดเลือดโคโรนารีมีการอุดตัน 
จนทาให้เกิดการส่งเลือดไปเลี้ยงได้ไม่เพียงพอ (inadequate 
blood supply) ที่บริเวณกล้ามเนื้อหัวใจ จึงเป็นสาเหตุของ 
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (ischemia) 
• เมื่อมีการตีบของหลอดเลือดโคโรนารีบริเวณ left main 
artery จะทา ให้การไหลเวียนเลือดลดลงอย่างน้อย 50% หรือ 
ถ้ามีการตีบของ major branch จะทา ให้การไหลเวียนเลือด 
ลดลงอย่างน้อย75%
Sign & Symptom of CAD 
• Findings may be normal during asymptomatic 
periods 
• Chest pain - due to lack of oxygen 
• Palpitations 
• Dyspnea 
• Syncope 
• Cough of hemoptysis 
• Excessive fatigue
ลักษณะอาการของ chest pain ใน CAD 
1. ภาวะเจ็บหน้าอกแบบคงที่และเกิดอาการเรื้อรัง (chronic 
stable angina) 
• เจ็บหน้าอกแบบแน่นๆ และมีความสัมพันธ์กับการออกกาลัง 
กาย ความเครียด อากาศเย็น และภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ 
เกิดเป็นเวลา 2-3 นาที แต่จะไม่เกิน 15 นาที อาการจะ 
ทุเลาลงเมื่อนั่งพักหรืออมยาใต้ลิ้น
ลักษณะอาการของ chest pain ใน CAD 
2. ภาวะเจ็บหน้าอกแบบอาการไม่คงที่ (unstable angina) และภาวะกล้ามเนื้อ 
หัวใจตายแบบเฉียบพลัน (acute myocardial infarction) 
• อาการจะเกิดขึ้นใหม่ ขณะพัก หรือจากการกระตุ้นทางด้านอารมณ์ อาการจะ 
รุนแรงเหมือนมีของหนักมาทับอกไว้ 
• อาการปวดร้าวไปที่คอ คาง แขน และไหล่ซ้าย ร่วมกับการมีอาการใหม่ๆที่ 
เกิดขึ้นร่วมด้วย ได้แก่ เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น และหายใจหอบ 
เหนื่อย 
• ผลการตรวจ EKG พบ ST depression หรือ ST elevation และอาจพบ T-wave 
inversion และ transient abnormal Q wave
ปัจจัยการเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจโคโร 
นารี 
• บุหรี่(ชนิดา ราขวัญ, 2557) 
• ภาวะความดันโลหิตสูง 
โดยเฉพาะความดันโลหิตตัวล่างที่สูงมากกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท มีความสัมพันธ์ 
กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี และเกิดการตายอย่างกะทันหันได้สูงมากถึง 2 เท่า 
(วิศาล คันธารัตนกุล และ รพีพล กุญชร ณ อยุธยา, 2546) 
• ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ 
ระดับไขมันในเลือด (serum total cholesterol) ที่มากกว่า 200 มิลิกรัมต่อเดซิลิตร 
หรือไขมันที่มีความหนาแน่นต่า (low density lipoprotein cholesterol: LDL-C) สูงกว่า 130 
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ปัจจัยการเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี 
• การไม่ออกกา ลังกาย 
• ความอ้วน ดัชนีมวลกายมากกว่า 40 มีอัตราการเสียชีวิตคิดเป็น 2.7 
เท่าในเพศชาย และ 1.9 เท่าในเพศหญิง (เจริญลาภ, 2550) 
• เบาหวาน 
• ความเครียด 
• ลักษณะบคุลิกภาพแบบ A 
• แอลกอฮอล์ 
• ระดับโฮโมซีสเตอีน (homocysteine) 
• ยาคุมกาเนิด
การรักษา CAD 
1. การรับประทานยา เช่น ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด ยาลด 
การบีบตัวของหัวใจ (beta blocker) ยาขยายหลอดเลือด (nitrate) ยา 
ลดไขมันในเลือด กรณีทีผู้ป่วยมีอาการมากหรือมีหลักฐานทางคลินิก 
ว่าผู้ป่วยมีความเสียงสูงการรักษาด้วยยาเพื่อควบคุมอาการของโรคยัง 
เป็นการรักษาหลักซึงสามารถลดอัตราการตายได้
Nitrate or NTG (nitroglycerin)
การรักษา CAD 
2 . ก า ร ทา หัต ถ ก า ร ห ล อ ด เ ลือ ด หัว ใ จ ผ่า น ส า ย ส ว น 
(percutaneous coronary intervention: PCI) ทางเลือกกรณี 
การรักษาด้วยยาไม่ได้ผล
Percutaneous Coronary Intervention 
(PCI)
Percutaneous Transluminal Coronary Angioplasty
PTCA 
• Compress the plaque against the walls of the 
artery and dilate the vessel
Stent 
• Vascular stent to prevent the artery from 
closing and prevent restenosis
ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 
1. Cardiac arrhythmias 
2. ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นขณะคาสายสวนที่ขาหนีบและภายหลังนาออก 
2.1 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชัว่โมงแรก 
(Early complications) เช่น 
- Groin bleeding 
- Retroperitoneal bleeding 
- Hematoma 
- Femoral neuropathy 
- Vasovagal reaction
ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 
2.2 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นหลัง 24 ชัว่โมง (Late complications) 
เกิดขึ้นในช่วง 1-30 วันหลังทา PCI เช่น 
- Femoral pseudoaneurysm 
- Arteriovenous fistula 
- Femoral artery thrombosis 
- Embolism 
- Femoral vein thrombosis
ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 
3. Infection 
4. เสียชีวิต เช่น sudden death จากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ พบได้ร้อย 
ละ 0.1 - 0.45 
5. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular events ) เช่น stroke พบได้ 
ร้อยละ 0.03 - 0.25 
6. ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่รุนแรง เช่น คลี่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตต่า 
เป็นต้น
Nursing Care for PCI 
1. ถ้าทา ที่ Femoral artery 
• กดตรงตาแหน่งที่แทงเป็นเวลา 30 นาที 
• ผู้ป่วยต้องนอนราบอยู่กับเตียง ห้ามขยับขาข้างที่แทงหลอดเลือด 
• มีหมอนทรายหนักๆ ทับบริเวณขาหนีบ เป็นเวลา 2 ชัว่โมง 
• บอกผู้ป่วยไม่ให้งอพับขาหนีบ ลุกนั่ง หรือเดินได้จนกว่าจะพ้น 4-6 ชัว่โมงหลัง 
ทา PCI 
• ในผู้ป่วยที่ได้รับการถ่างขยายและใส่ขดลวดค้าหลอดเลือดหัวใจ ภายหลังการถ่าง 
ขยายต้องคาท่อนาไว้ในหลอดเลือดต่ออีกเป็นเวลา 4 ชัว่โมง เพื่อรอให้ยาที่ใช้ 
ขณะทาการรักษาหมดฤทธิ์เสียก่อนจึงจะสามารถดึงท่อนาออกและกดแผลได้
Nursing Care for PCI 
2. ถ้าทาที่ Radial artery 
เนื่องจากหลอดเลือดข้อมือเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กและ 
อยู่ตื้น ทาให้แพทย์สามารถดึงสายสวนและท่อนาออกจากหลอดเลือด 
ได้ทันทีภายหลังเสร็จสิ้นการฉีดสี หรือแม้กระทัง่ภายหลังการถ่างขยาย 
หลอดเลือดหัวใจโดยใช้ก้อนก๊อซปิดบริเวณที่แทงเข็มไว้เท่านั้น ผู้ป่วย 
สามารถลุกจากเตียงและทากิจวัตรส่วนตัวได้ทันที เพียงแต่ไม่ควรพับงอ 
ข้อมือข้างที่ใช้ตรวจเป็นเวลา 6-8 ชัว่โมง
Nursing Care for PCI 
Normal air injection = 13 ml. 
(Max. = 18 ml.)
Nursing Care for PCI 
วางเหนือเส้นเลือดที่ทา 1 cm 
ใส่ลมเข้าไป ~70 mmHg 
และค่อยๆ ปล่อยลมออกทุก 
15 นาที 
(pedal pulse is palpable), 
และค่อยๆปล่อยอย่างช้าๆ ที 
ละ 30 mmHg ทุก 1–2 
hours
Coronary Artery Bypass Graft 
• To improve blood flow to the myocardial tissue that are at risk for ischemia 
or infarction as a result of the occluded artery.
Coronary Artery Bypass Graft 
• เป็นการผ่าตัดทา ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ 
• เป็นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถรักษาอาการ 
angina ได้ดีมาก ได้ผลทันที และหวังผลการรักษาได้ยาวนาน 
• สามารถลดอัตราการเกิด sudden cardiac deathได้ดี 
• ทาให้ผู้ป่วยมีชีวิตยาวนานขึ้น
Open Heart Surgery
Heart Lung Machine 
• คือ การผ่าตัดโดยใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียมช่วย 
• เรียกว่า on-pump CABG หรือ conventional CABG หรือ 
standard CABG 
• ส่วนการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจตีบโดยไม่ใช้เครื่องปอดและ 
หัวใจเทียม เรียกว่า off-pump CABG (OPCAB)
ชนิดของการตีบของหลอดเลือดหัวใจที่พบได้ 
บ่อย 
• ตีบ 1 เส้น = single vessel disease (SVD) 
• ตีบ 2 เส้น = double vessel disease (DVD) 
• ตีบ 3 เส้น = triple vessel disease (TVD)
Coronary Artery Bypass Graft
เส้นเลือดที่นิยมนามาใช้ใน CABG 
มีอยู่ 2 ชนิด คือ 
1. Venous Conduit (Greater Saphenous Vein) 
2. Arterial Conduit มีอยู่3 ชนิดที่ใช้ คือ 
– Internal Mammary (Thoracic) Arterial มี 2 เส้น 
คือ ซ้ายและขวา 
– Radial Artery มี 2 เส้น คือ ซ้ายและขวา 
– Gastro-epiglottic Artery ซึ่งอยู่ที่ Greater Curvature 
ของกระเพาะอาหาร มี 1 เส้น
Post Operation CABG 
เน้นเรื่องแผล, ICD, และสังเกตอาการที่เกี่ยวกับ 
หัวใจ
Intra-aortic balloon pump (IABP)
Intra-aortic balloon pump (IABP)
Intra-aortic balloon pump (IABP) 
• ข้อบ่งชี้การใช้ IABP 
–Left ventricular failure หรือ cardiogenic shock 
–ภาวะ Unstable angina ที่ไม่ตอบสนองต่อยา 
–Thrombolytic therapy 
–ผู้ป่วยหลังทา Intervention (PTCA, CABG) 
–Acute mitral regurgitation ที่ valve ปิดไม่สนิท 
–Ventricular septal rupture
Nursing Diagnosis for CABG 
• ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากหลังผ่าตัดหลอด 
เลือดหัวใจ 
• ติดเชื้อที่แผลผ่าตัด 
– แผลกลางหน้าอก 
– แผลบริเวณขา
PCI or CABG ? 
การพิจารณาทา PCI or CABG 
1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อายุความรุนแรงของอาการ จานวนเส้น 
เลือดทีมีรอยตีบ LV function โรคร่วม และความต้องการของผู้ป่วย 
เป็นต้น 
2. กรณีผู้ป่วยมีเส้นเลือด LM ตีบ > 50% or 2-vessel or 3-vessel 
CAD with p LAD ตีบ > 70% with LVEF <40%  CABG 
3. กรณีผู้ป่วย มี 1-vessel or 2-vessel CAD PCI
EF คือ ? 
• Ejection fraction (EF) หมายถึง เปอร์เซ็นต์ของเลือดที่ถูก 
บีบออกจากหัวใจต่อการบีบตัวของหัวใจ 1 ครงั้ 
• วิธีการวัด EF ที่นิยมใช้ ได้แก่ 
– การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography) 
– การตรวจหัวใจด้วยการใช้สารกัมมันตรังสี (radionuclide angiography) 
– การฉีดสารทึบรังสีในห้องหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventriculography)
Level of Ejection Fraction 
LVEF การแปลผล 
greater than 70% Hyperdynamic 
50% to 70% 
Normal 
(midpoint 60%) 
40% to 49% 
(midpoint 45%) 
Mild dysfunction 
30% to 39% 
(midpoint 35%) 
Moderate dysfunction 
less than 30% Severe dysfunction 
(The American College of Cardiology, 2012)
บทบาทพยาบาลในการดูแล 
เป้ าหมายการดูแล 
1. เพื่อบรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอกหรือไม่สุขสบาย 
2. เพื่อให้มีการคงไว้ของระบบไหลเวียนเลือดทีเพียงพอ 
3. เพื่อป้องกันและลดอันตรายทีอาจเกิดขึ้นจาก 
ภาวะแทรกซ้อนของโรคและแผนการรักษา 
4. เพื่อบรรเทาความกลัวและความวิตกกังวล 
5. เพื่อป้องกันไม่ให้โรคกา เริบและการกลับเป็นซ้า
Example Nursing Care for CAD
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ 
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ 
ข้อมูลสนับสนุน 
1. ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการเจ็บหน้าอกเหมือนโดนทับ 
2. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเกิดขึ้นใหม่ ขณะพัก หรือจากการ 
กระต้นุทางด้านอารมณ์ อาการจะรุนแรงเหมือนมีของหนักมาทับอก 
ไว้ 
3. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกอาการปวดร้าวไปที่คอ คาง แขน 
และไหล่ซ้าย ร่วมกับการมีอาการใหม่ๆที่เกิดขึ้นร่วมด้วย ได้แก่ 
เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสัน่ และหายใจหอบเหนื่อย 
4. ผลการตรวจ EKG พบ ST depression หรือ ST elevation และอาจ 
พบ T-wave inversion และ transient abnormal Q wave
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ 
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ 
เกณฑ์การประเมินผล 
1. ผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรืออาการเจ็บแน่นหน้าอกทุเลา 
ลง 
2. V/S อย่ใูนเกณฑ์ปกติ 
3. ผล EKG ไม่พบ ST depress หรือ ST elevated หรือ T inverted
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ 
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ 
กิจกรรมการพยาบาล 
1. ประเมินอาการเจ็บหน้าอก ตาแหน่งของอาการปวดร้าว และ 
ระดับความปวด 
MONA 
2. ประเมิน V/S, monitor EKG หรือ ทา EKG 12 leads 
3. ดูแลให้ออกซิเจน 2-4 lit/min keep O2 sat ≥ 95% 
4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวด: morphine sulfate โดยให้ได้ 2-4 
mg iv q 5 min หรือตามแผนการรักษา และให้ลดขนาดลงใน 
ผู้สูงอายุและผู้ป่วยทีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ โดยระดับยา 
จะสูงสุดใน 7 นาที หลังให้ทาง iv
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ 
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ 
กิจกรรมการพยาบาล 
5. ให้ยาในกลุ่ม Nitrate ตามแผนการรักษา โดยปกติจะให้ครงั้ละ 1-5 mg 
ในกรณีที่อมยาใต้ลิ้นแล้วยังคงมีอาการเจ็บหน้าอกอยู่ ข้อห้ามในการใช้ 
Nitrates คือ มี BP < 90/60 mmHg, HR < 50 หรือ >100, มีการใช้ 
ยา Viagra ในช่วง 24-28 ชัว่โมง 
6. ให้ยาละลายลิ่มเลือด ASA: Aspirin 160 หรือ 325 mg 1เม็ด ให้เคี้ยว 
ทันที และมีข้อห้ามในการให้Aspirin คือ แพ้ยา และมีภาวะเลือดออกใน 
ทางเดินอาหาร 
7. Bed rest/ absolute bed rest เพื่อลดการทา งานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Inflammatory 
Heart Disease
แบ่งตามชนั้ของหัวใจ 
• การอักเสบของเยื่อหุ้ม 
หัวใจ (Pericarditis) 
• การอักเสบของกล้ามเนื้อ 
หัวใจ (Myocarditis) 
• การอักเสบเยื่อบุด้านใน 
ของหัวใจ (Endocarditis)
การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericarditis) 
Pericardium แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 
• parietal pericardium เป็นผนังด้านนอกของช่องเยื่อ 
หุ้มหัวใจ ที่ติดกับเยื่อหุ้มปอด 
• visceral pericardium เป็นเยื่อบุที่ติดกับด้านนอกของ 
ผนังหัวใจ
แบ่งตามลักษณะการเกิด 
• Acute Pericarditis 
• Chronic pericarditis
Acute Pericarditis 
• ส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุ แต่ มักจะเกิดจาก viral infection 
• การอักเสบจะเริ่มจากมี fibrin และน้าเกิดเฉพาะที่หรือ 
ทัว่ๆไป แล้วทาให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็ง หนา ขาดความยืดหยุ่น 
ไม่สามารถขยายตัวได้ ความจุของหัวใจลดลง ความดัน 
รอบๆหัวใจสูงขึ้น มีผลให้เลือดไหลกลับเข้าหัวใจลดลง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน 
จะมีอาการสาคัญ 3 ประการ 
• เจ็บหน้าอก (Precordial pain) อาการเจ็บหน้าอกอาจเป็นที่กลาง 
อก หัวใจไหล่ทั้งสองข้าง หรือที่ระหว่างกระดูกสะบักทั้งสองข้าง 
อาการเจ็บจะเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ เคลื่อนไหวตัวหรือ 
นอนราบ เมื่อนั่งก้มตัวไปข้างหน้าจะรู้สึกสบายขึ้น ในบางรายจะมี 
อาการเจ็บหน้าอกทันทีทันใด 
• หายใจลา บาก (Dyspnea) เป็นผลการกดหลอดลมหรือเนื้อปอด 
เนื่องจากการหนาตัวของเยื่อหุ้มหัวใจ อาการจะบรรเทาลงโดยการลุก 
นั่ง นอนศีรษะสูงหรือนั่งก้มตัวไปข้างหน้า
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน 
จะมีอาการสา คัญ 3 ประการ 
• มีเสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้ง 2 ชนั้ 
(Preicardial friction rub) เป็นผลมาจากเซลล์ของเยื่อหุ้มหัวใจ 
ปลดปล่อย “fibrinous exudate” ออกมา จะได้ยินชัดเจนมนท่านอน 
หงาย นอนตะแคงหรือท่านั่งเอนตัวไปข้างหน้า และเมื่อหายใจเข้าและ 
ออกเต็มที่เสียงที่ได้ยิน จะคล้ายกับการถูผมหน้าหู
Chronic pericarditis 
• เกิดเนื่องมาจากการอักเสบเรื้อรัง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติด 
วัณโรคเนื้องอกที่กระจายมาจากปอดหรือเต้านม การผ่าตัดหัวใจหรือ 
บริเวณทรวงอก uremia, SLE 
• การอักเสบทาให้เกิดพังผืดอย่างมาก 
• มี engorged neck vein มีอาการบวม ท้องมาน และตับโต หอบ 
เหนื่อย (dyspnea) ไอและนอนราบไม่ได้ (orthopnea) 
• Low cardiac output 
• สุดท้ายผู้ป่วยจะ shock เนื่องจาก hypo perfusion
ภาวะแทรกซ้อนของเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ 
• น้าในเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardail effusion) 
• Pulsus paradoxus or paradoxical pulse หมายถึง การที่ชีพ 
จรแรงขึ้นในช่วงหายใจออก และเบาลงในช่วงหายใจเข้า 
และ SBP ลดลงมากกว่าปกติในเวลาหายใจเข้า (ลดลงมาก 
ว่า 8-10 มิลลิเมตรปรอท) ซึ่งปกติหายใจเข้าชีพจรจะเบา 
ลงและ SBP จะลดลงเพียงเล็กน้อย
การรักษา 
• Acute pericarditis 
• ใช้ยากลุ่มที่ช่วยลดการอักเสบ เช่น NSAID หรือ 
corticosteroid 
• Chronic pericarditis 
• แนะนาให้ผ่าตัดเยื่อหุ้มหัวใจ หากไม่สามารถผ่าได้สามารถ 
รักษาด้วยการรับประทานยาเช่นเดียวกับ acute pericarditis
การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ 
(Myocarditis) 
• สาเหตุที่สาคัญของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบคือ ไข้รหูม์าติค 
ไข้หวัดใหญ่ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ (endocarditis) 
• ทาให้ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทา งาน 
ไม่มีประสิทธิภาพ มีผลให้จา นวนเลือดออกจากหัวใจลดลง 
ทาให้เกิดหัวใจวายได้
อาการและการแสดง 
• อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร 
ใจสัน่ หัวใจเต้นเร็ว หายใจลาบาก เจ็บหน้าอก นอนราบ 
ไม่ได้ 
• ความดันโลหิตต่า ( SBP น้อยกว่า 90 มม.ปรอท) 
• ชีพจรอาจเป็นลักษณะ “pulsus alternans” 
• อัตราการเต้นของหัวใจไม่ได้สัดส่วนกับอุณหภูมิที่สูง 
• ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง “Gallop” และเสียง “Pericardial 
rub”
การอักเสบของเยื่อบุชนั้ในหัวใจ 
(Endocarditis) 
• สาเหตทุี่ทาให้เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส 
และเชื้อรา 
• ส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย 
• มีแผลในปากจากฟันผุ หรือถอนฟัน เชื้อที่พบส่วนใหญ่ คือ 
Streptococcus viridans 
• ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ Streptococcus , Enterococcus 
• ติดเชื้อทางผิวหนัง ได้แก่ Staphyloccus 
• ติดเชื้อทางเดินหัวใจ ได้แก่ beta histolytica
อาการและอาการแสดง 
• ฟังเสียงหัวใจ ส่วนใหญ่จะได้เสียงฟู่ (murmur) 
• เลือดออกได้ง่าย หรือเกิดจ้าเลือด 
• จุดเลือดออกมักพบบริเวณเยื่อบุตา เพดานใน ช่องปาก 
เลือดออกใต้เล็บ 
• clubbing of fingers
การรักษา 
• ให้ยา antibiotic ชนิด bactericidal 
• ในรายที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยาพิจารณาผ่าตัดรักษา
Nursing Care 
• Bed rest เพื่อลดการทา งานของหัวใจและความต้องการ 
ออกซิเจน 
• Bleeding precautions 
• ฟังเสียงหัวใจ 
• แนะนาเรื่องการดูแลความสะอาดในช่องปาก 
• และติดตามผลการเพาะเชื้อเพื่อให้การรักษาที่ถูกต้อง
VALVULAR HEART DISEASE 
http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http%3A%2F%2Fwww.surgery.usc.edu%2Fcvti%2Fgraphics%2Fmitralvalve01- 
s.jpg&imgrefurl=http%3A%2F%2Fwww.surgery.usc.edu%2Fcvti%2Fcardiac-mitralvalverepair. 
html&h=300&w=450&tbnid=QuaJ4KBimOzyiM%3A&zoom=1&docid=tvUo0O60t13GzM&ei=Ll4WVNaPO5 
aiugSi5IKIAw&tbm=isch&client=firefox-a&ved=0CHwQMyhWMFY&iact=rc&uact=3&dur=1023&page=4&start=63&ndsp=26
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 
1. อธิบายสาเหตุ พยาธิสภาพ การรักษาของโรคที่มีความ 
ผิดปกติของลิ้นหัวใจได้ 
2. บอกกระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีความ 
ผิดปกติของลิ้นหัวใจได้
ลิ้นหัวใจปกติ 
• มีหน้าที่ คล้ายประตู 
• ลิ้นหัวใจช่วยกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับในขณะที่หัวใจบีบ 
ตัว 
• ลิ้นหัวใจในร่างกายของมนุษย์มีทงั้หมด ๔ ตาแหน่ง คือ 
Tricuspid valve 
Mitral valve 
Pulmonic valve 
Aortic valve 
Arterioventicular valve 
ลิ้นรูปพระจันทร์เสี้ยว (semilunar valve )
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่พบได้บ่อย 
• Aortic Stenosis 
• Mitral Stenosis 
• Aortic Regurgitation 
• Mitral Regurgitation
สาเหตุของโรคลิ้นหัวใจรัว่โดยทัว่ไป 
• โรคลิ้นหัวใจพิการแต่กา เนิด ตอนเด็กจะมีอาการเหนื่อยง่าย 
เจริญเติบโตช้า ตัวเขียว อาจพบร่วมกับผนังหัวใจรัว่ 
• โรคลิ้นหัวใจรูห์มาติค เกิดจากการติดเชื้อจนหัวใจเกิดการ 
อักเสบ 
• โรคลิ้นหัวใจเสื่อมในคนสูงอายุ มักเกิดจากหินปูนเกาะที่ลิ้น 
หัวใจ ซึ่งตาแหน่งที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุคือ aortic valve 
stenosis
สาเหตุของโรคลิ้นหัวใจรัว่โดยทัว่ไป 
• โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อ มักพบในคนไข้ที่ทาฟัน เชื้อโรค 
ในเลือดจะลงไปทา ลายลิ้นหัวใจ 
• โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาให้สูญเสียความสามารถใน 
การยึดลิ้นหัวใจ ทา ให้ลิ้นหัวใจถูกยืดขยายจนเกิดการรัว่ของ 
เลือด
Aortic Stenosis (AS)
Aortic Stenosis Overview: 
• Normal Aortic Valve Area: 3-4 cm2 
• Symptoms: Occur when valve area is 
1/4th of normal area.
สาเหตุของ Aortic Stenosis 
• Congenital 
• Rheumatic 
• Degenerative/Calcific 
ผู้ป่วยที่มาอายุ น้อยกว่า 70 ปี >50% มีมาแต่กา เนิด 
ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 70 ปี50% เกิดจากความเสื่อมตามวัย
พยาธิสรีรวิทยาของ AS 
• Increased afterload 
• LV function initially maintained by compensatory pressure 
hypertrophy 
• When compensatory mechanisms exhausted, LV function 
declines.
อาการและอาการแสดง AS 
CLINICAL TRIADS 
1. Dyspnea เป็นอาการเริ่มแรกสุด อาจตื่นหอบกลางคืน 
นอนราบมาได้ 
2. Angina เพราะ blood supply น้อยลง 
3. Syncope เพราะแรงดันเลือดมาที่ aorta น้อยลง 
4. Heart failure จาก LV dysfunction 
5. Sudden death
การตรวจร่างกาย AS 
• Slow rising carotid pulse (pulsus tardus) & decreased 
pulse amplitude (pulsus parvus) 
• Heart sounds- S4 gallop due to LVH. 
• Systolic ejection murmur- รูยิ่งตีบ เสียงยิ่งดัง 
• CXR พบ Pulmonary congestion (เลือดคัง่ในปอด)
Evaluation of AS
การรักษาใน AS 
• โดยทัว่ไป - รักษาเรื่องการติดเชื้อในเยื่อหุ้มหัวใจ 
• การรักษาด้วยยา 
- Vasodilators are relatively contraindicated in severe AS 
- ให้ digitalis ร่วมกับการจากัดเกลือ และอาจให้ Nitroglycerine 
เพื่อรักษา angina pain 
• Aortic Balloon Valvotomy 
• Surgical Replacement
Mitral Stenosis
Mitral Stenosis Overview: 
• Normal MV Area: 4-6 cm2 
• อาการจะแสดงเมื่อมีพื้นที่ของลิ้นหัวใจ MV < 2 
cm2
Mitral Stenosis (MS)
สาเหตุของการเกิด MS 
1. Rheumatic heart disease: 77-99% 
2. Infective endocarditis: 3.3% 
3. Mitral annular calcification: 2.7%
พยาธิสรีระของ MS 
เลือดไหลเข้า LV ลดลง 
ทาให้มีเลือดค้างใน LA มากขึ้น 
LA hypertrophy 
Atrial Fibrilation
พยาธิสรีระของ MS 
เลือดที่ไหลเข้าสู่ LV มีลักษณะไหลวน (turbulence) 
Emboli 
ถ้าไปคัง่ที่ pulmonary จะเกิด pulmonary edema 
LV failure จนเกิด RV failure และ HF ในที่สุด
อาการและอาการแสดงของ MS 
• หอบเหนื่อยและไอเป็นเลือดจากการมีเลือดคัง่ที่ปอด 
• อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ใจสัน่ 
• กลืนอาหารลาบาก เสียงแหบ เจ็บหน้าอก หรืออาจชักหมด 
สติจากหลอดเลือดที่สมองเกิดการอุดตันจาก systemic 
emboli
การตรวจร่างกาย MS 
• Thrill คือ คลาพบแรงกระแทกของหัวใจ 
• Mid diastolic rumbling murmur 
• Jugular venous pulsations จาก pulmonary hypertension 
and right ventricular hypertrophy 
• Signs of right-sided heart failure
การตรวจพิเศษของ MS 
• ECG: may show atrial fibrillation (AF) and LA 
enlargement 
• CXR: LA enlargement and pulmonary congestion. 
Occasionally calcified MV 
• ECHO: The GOLD STANDARD for diagnosis.
Trans Esophageal Echocardiography (TEE)
การรักษา MS 
• การรักษาด้วยยา 
–-blockers, CCBs, Digoxin which control heart 
rate 
–Diuretics for fluid overload 
–LMWH, cordarone for prevention AF 
–Nitroglycerine for decrease preloadให้หลอดเลือดโค 
โรนารีขยาย และลดการใช้ออกซิเจน
Aortic Regurgitation
Aortic Regurgitation Overview: 
• Definition: Leakage of blood into LV during 
diastole due to ineffective coaptation of the 
aortic cusps
สาเหตุของการเกิด AR 
Acute AR 
มีสาเหตุจาก 
–Endocarditis 
–Aortic Dissection 
Chronic AR 
มีสาเหตุจาก 
– Bicuspid aortic valve 
– Rheumatic 
– Infective endocarditis
พยาธิสรีระของ AR 
เลือดไหลย้อนเข้า LV 
LV hypertrophy 
SBP สูง เพื่อส่งเลือดออกไปให้ได้เพียงพอกับร่างกาย 
DBP ต่า เพราะเลือดรัว่ ไหลกลับเข้า LV 
เกิดเลือดคัง่ในปอด และ Heart Failure ได้
อาการและอาการแสดงของ AR 
• หอบเหนื่อย โดยเฉพาะในท่านอนราบ 
• หลอดเลือดที่คอเต้นแรงกว่าปกติ
การตรวจร่างกาย AR 
• Diastolic murmur 
• Pulse pressure กว้าง 
• Corrigans sing คือ เห็นการเต้นของชีพจรที่ carotid ชัดเจน 
• CXR พบ LV hypertrophy
การรักษา AR 
1. การผ่าตัด 
2. รักษาด้วยยาตามอาการ เช่น 
1. Inotrope: dopamine, dobutamine 
2. Vasodilators: nitroprusside
Mitral Regurgitation
Mitral Regurgitation Overview: 
• Definition: Backflow of blood from the LV to 
the LA during systole
สาเหตุของการเกิด MR 
Acute MR 
มีสาเหตุจาก 
–Endocarditis 
–Acute MI: 
–Malfunction or 
disruption of prosthetic 
valve 
Chronic MR 
มีสาเหตุจาก 
– Myxomatous degeneration 
(MVP) 
– Ischemic MR 
– Rheumatic heart disease 
– Infective Endocarditis
พยาธิสรีระของ MR 
เลือดไหลย้อนจาก LV ไป LA 
LV & LA hypertrophy 
ความดันใน pulmonary vein สูงขึ้น เกิดPulmonary edema 
RV failure เกิดท้องมาน และบวมที่ขาทั้ง 2 ข้าง
อาการและอาการแสดงของ MR 
• อ่อนเพลีย 
• Low cardiac output 
• หอบเหนื่อยขณะออกกา ลังกายหรือหอบในท่านอนราบ 
• บวม หลอดเลือดที่คอโป่ง ตับโต 
• อาจมีใจสัน่จาก AF
การตรวจร่างกาย MR 
• Pansystolic murmur โดยเป็นการได้ยินเสี่ยงฟู่ตลอดซีสโตล 
โดยจะเกิดตามหลัง S1 
• LV heaving (หัวใจห้องล่างซ้ายดันผนังหน้าอกขึ้นมาชนมือ) 
• EKG show LV hypertrophy 
• CXR พบ LA & LV hypertrophy
ตาแหน่งในการฟังเสียงหัวใจ
การตรวจพิเศษของ MR 
• ECG: May show, LA enlargement, atrial 
fibrillation and LV hypertrophy with severe MR 
• CXR: LA enlargement, central pulmonary artery 
enlargement. 
• ECHO: Estimation of LA, LV size and function. 
Valve structure assessment 
– TEE
การรักษา MR 
• Bed rest 
• เน้นการลด afterload 
– Diuretics and nitrates 
– captopril 
– nitroprusside, even in the setting of a normal blood 
pressure. 
• Myocardial infarction: Cardiac catheter or thrombolytics 
• การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจหรือตกแต่งลิ้นหัวใจ
Valve replacement
Nursing Care 
• Bed rest เพื่อลดการทา งานของหัวใจและความต้องการ 
ออกซิเจน 
• ฟังเสียงหัวใจ 
• ติดตามประเมินอาการแสดงของ low cardiac output เช่น 
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง มึนศีรษะ สับสน มีอาการ 
เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก EKG show arrhythmia BP drop 
< 90/60 mmHg. และ urine < 25-30 ml/hr เป็นต้น
Nursing Care 
• ฟังเสียงลิ้นหัวใจ เพื่อประเมินความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่ใส่ 
เข้าไปและประเมินอาการเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก 
• ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ ASA และ Warfarin ตามแผนการรักษา 
และให้การพยาบาล bleeding precaution 
• ติดตามผล Lab. WBCและ Neutrophil, และ PTT PT INR
CAD IHD and VHD

Contenu connexe

Tendances

Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 

Tendances (20)

Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 

Similaire à CAD IHD and VHD

โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันWan Ngamwongwan
 

Similaire à CAD IHD and VHD (17)

โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตันหลอดเลือดสมองตีบตัน
หลอดเลือดสมองตีบตัน
 
Dm foot
Dm footDm foot
Dm foot
 
Approach bleeding extern
Approach bleeding externApproach bleeding extern
Approach bleeding extern
 

Plus de Aphisit Aunbusdumberdor

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Aphisit Aunbusdumberdor
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858Aphisit Aunbusdumberdor
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESAphisit Aunbusdumberdor
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeAphisit Aunbusdumberdor
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลAphisit Aunbusdumberdor
 

Plus de Aphisit Aunbusdumberdor (14)

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 

CAD IHD and VHD

  • 1. Coronary artery disease Valvular heart disease Infection heart disease By Pol.Capt. Aphisit Tamsat
  • 3. วัตถุประสงค์ • มีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจ • มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจและลิ้นหัวใจ • มีความรู้เกี่ยวกับโรคลิ้นหัวใจ • สามารถนาความรู้ไปใช้ในการให้การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอด เลือดหัวใจ โรคติดเชื้อเยื่อที่หุ้มหัวใจ-ลิ้นหัวใจ และโรคลิ้นหัวใจ ได้
  • 4. มีหลายชื่อเรียก • โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี (Coronary Heart Disease: CHD; Coronary artery disease: CAD) • โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีแข็ง (arteriosclerotic heart disease: ASHD) • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (cardiovascular heart disease: CVHD)
  • 5. กลไกการไหลเวียนของเลือดในระบบหลอดเลือดโคโรนารี • เลือดแดงจากหลอดเลือดโคโรนารีจะถูกส่งไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อ หัวใจ โดยหลอดเลือดโคโรนารีจะแยกการไหลเวียนออกเป็น 2 ส่วน คือ left coronary artery และ right coronary artery โดย left coronary artery
  • 6. Coronary artery • Left main coronary artery แยกออกเป็น left anterior descending artery (LAD) ซึ่งจะทาหน้าที่ในการหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้อง ล้างซ้าย intervertricular septum และ anterior papillary muscle ของหัวใจห้องล่างซ้าย • Right coronary artery จะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา และ แยกอ้อมไปทางด้านหลังเป็น posterior descending artery, artrioventricular node และ posterior pappilary muscle นอกจากนี้ หลอดเลือดแดงโคโรนารีขวายังส่งเลือดไปเลี้ยง sinoatrial node
  • 11. Adapted From http://ctvstexas.com/about-ctvs/our-services/ cardiac-services/coronary-artery-bypass-grafting-cabg/
  • 12. Pathophysiology of CAD • เริ่มจากความผิดปกติของเซลบุผนังหลอดเลือดโคโรนารีด้านใน ที่มี ไขมันชนิดที่มีความหนาแน่นต่า (low density lipoprotein cholesterol: LDL-C) ไปสะสมในช่องว่างตรง extracellular subendothelial space และถูก oxidided เป็น oxidided LDL ซึ่ง oxidided LDL เป็นอันตรายต่อ เซลล์บุผนังหลอดเลือด โดยการสร้างสารเคมีที่มีฤทธิ์ดึง monocyte เข้า ไปในผนังหลอดเลือดกลายเป็น macrophage คอยจับกินไขมัน แล้ว กลายเป็น foam cell หรือ lipid-laden macrophage แทรกตัวอยู่ในเยื่อบุ ผนังหลอดเลือดชนั้ใน การสะสมของ foam cell ทาให้เกิดรอยไขมัน (fatty streak) ที่มีลักษณะเรียบเป็นเส้นสีเหลืองทาให้ผนังชนั้ในของ หลอดเลือดจะนูนขึ้นเล็กน้อย และหลังจากนั้นรอยไขมันจะเปลี่ยนเป็น ก้อนไขมัน (fibrous plaque) ที่ผนังหลอดเลือดแดง
  • 16. สาเหตุการอุดตันของ CAD จากการศึกษาในปัจจุบัน • มักพบบริเวณ epithelial arteries หรือที่เรียกว่า arteromatous plaque • การอุดตันส่วนใหญ่มีสาเหตุจาก non-arterosclerotic และความ ผิดปกติแต่กาเนิดของหลอดเลือดโคโรนารี
  • 17. Non-arterosclerotic http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http%3A%2F%2Fwww.nature.com%2Fnm%2Fjournal%2Fv8%2Fn11%2Fimages%2Fnm11 02-1257-F2.gif&imgrefurl=http%3A%2F%2Fwww.nature.com%2Fnm%2Fjournal%2Fv8%2Fn11%2Ffig_tab%2Fnm1102- 1257_F2.html&h=396&w=640&tbnid=pYwWKBuTW8mzM%3A&zoom=1&docid=OAJeetXc4fFTVM&ei=elMWVPWMPNOfugT68YL gCw&tbm=isch&client=firefox-a&ved=0CCUQMygLMAs&iact=rc&uact=3&dur=417&page=1&start=0&ndsp=21
  • 19. Pathophysiology of CAD • เมื่อหลอดเลือดแดงเกิดการอักเสบจนแข็งและหนาตัวขึ้น (artherosclerosis) ก้อนไขมันจะทาให้รูภายในหลอดเลือดแดงโคโร นารีตีบแคบ เลือดแดงจากหลอดเลือดโคโรนารีที่ไหลเข้าสู่กล้ามเนื้อ หัวใจจะลดลงหรือจนกระทัง่หยุดการไหลของเลือด ซึ่งหากหลอด เลือดโคโรนารีเกิดการตีบแคบร้อยละ 70 จะทาให้เกิดอาการเจ็บ แน่นหน้าอกหรือแน่นหน้าอกเมื่อออกแรง และถ้ามีการปริแตกของ ก้อนไขมันที่อยู่ผนังของหลอดเลือดแดงอย่างเฉียบพลัน และกระตุ้น ให้เกิดการก่อตัวของลิ่มเลือดจนทาให้หลอดเลือดอุดตันอย่าง รวดเร็ว จนเกิดอาการหลอดเลือดโคโรนารีอย่างเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome: ACS) (กอบกุล, 2546; ฐาปณีย์, 2549)
  • 20. การดาเนินโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี ภาวะหลอดเลือดโคโรนารีแข็งหรือตีบ เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (decrease perfusion of myocardial tissue) เซลกล้ามเนื้อหัวใจขาดออกซิเจน (inadequate myocardial oxygen supply) เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ หรืออาจถึงกับเสียชีวิตได้ทันที (กอบกุล, 2546)
  • 21. โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและเกิดการตายของกล้ามเนื้อหวัใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ (cardiac dysrhythmia) ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) หรือเสียชีวิตอย่างกะทันหัน (sudden death) (สุจินดา ริมศรีทอง, สุดาพรรณ ธัญจิรา, และ อรสา พันธ์ภักดี, 2552)
  • 22. Sign & Symptom of CAD • อาการจะปรากฏชัดเจนเมื่อหลอดเลือดโคโรนารีมีการอุดตัน จนทาให้เกิดการส่งเลือดไปเลี้ยงได้ไม่เพียงพอ (inadequate blood supply) ที่บริเวณกล้ามเนื้อหัวใจ จึงเป็นสาเหตุของ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (ischemia) • เมื่อมีการตีบของหลอดเลือดโคโรนารีบริเวณ left main artery จะทา ให้การไหลเวียนเลือดลดลงอย่างน้อย 50% หรือ ถ้ามีการตีบของ major branch จะทา ให้การไหลเวียนเลือด ลดลงอย่างน้อย75%
  • 23. Sign & Symptom of CAD • Findings may be normal during asymptomatic periods • Chest pain - due to lack of oxygen • Palpitations • Dyspnea • Syncope • Cough of hemoptysis • Excessive fatigue
  • 24. ลักษณะอาการของ chest pain ใน CAD 1. ภาวะเจ็บหน้าอกแบบคงที่และเกิดอาการเรื้อรัง (chronic stable angina) • เจ็บหน้าอกแบบแน่นๆ และมีความสัมพันธ์กับการออกกาลัง กาย ความเครียด อากาศเย็น และภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เกิดเป็นเวลา 2-3 นาที แต่จะไม่เกิน 15 นาที อาการจะ ทุเลาลงเมื่อนั่งพักหรืออมยาใต้ลิ้น
  • 25. ลักษณะอาการของ chest pain ใน CAD 2. ภาวะเจ็บหน้าอกแบบอาการไม่คงที่ (unstable angina) และภาวะกล้ามเนื้อ หัวใจตายแบบเฉียบพลัน (acute myocardial infarction) • อาการจะเกิดขึ้นใหม่ ขณะพัก หรือจากการกระตุ้นทางด้านอารมณ์ อาการจะ รุนแรงเหมือนมีของหนักมาทับอกไว้ • อาการปวดร้าวไปที่คอ คาง แขน และไหล่ซ้าย ร่วมกับการมีอาการใหม่ๆที่ เกิดขึ้นร่วมด้วย ได้แก่ เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น และหายใจหอบ เหนื่อย • ผลการตรวจ EKG พบ ST depression หรือ ST elevation และอาจพบ T-wave inversion และ transient abnormal Q wave
  • 26. ปัจจัยการเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจโคโร นารี • บุหรี่(ชนิดา ราขวัญ, 2557) • ภาวะความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะความดันโลหิตตัวล่างที่สูงมากกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท มีความสัมพันธ์ กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี และเกิดการตายอย่างกะทันหันได้สูงมากถึง 2 เท่า (วิศาล คันธารัตนกุล และ รพีพล กุญชร ณ อยุธยา, 2546) • ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ ระดับไขมันในเลือด (serum total cholesterol) ที่มากกว่า 200 มิลิกรัมต่อเดซิลิตร หรือไขมันที่มีความหนาแน่นต่า (low density lipoprotein cholesterol: LDL-C) สูงกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
  • 27. ปัจจัยการเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี • การไม่ออกกา ลังกาย • ความอ้วน ดัชนีมวลกายมากกว่า 40 มีอัตราการเสียชีวิตคิดเป็น 2.7 เท่าในเพศชาย และ 1.9 เท่าในเพศหญิง (เจริญลาภ, 2550) • เบาหวาน • ความเครียด • ลักษณะบคุลิกภาพแบบ A • แอลกอฮอล์ • ระดับโฮโมซีสเตอีน (homocysteine) • ยาคุมกาเนิด
  • 28. การรักษา CAD 1. การรับประทานยา เช่น ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด ยาลด การบีบตัวของหัวใจ (beta blocker) ยาขยายหลอดเลือด (nitrate) ยา ลดไขมันในเลือด กรณีทีผู้ป่วยมีอาการมากหรือมีหลักฐานทางคลินิก ว่าผู้ป่วยมีความเสียงสูงการรักษาด้วยยาเพื่อควบคุมอาการของโรคยัง เป็นการรักษาหลักซึงสามารถลดอัตราการตายได้
  • 29.
  • 30. Nitrate or NTG (nitroglycerin)
  • 31. การรักษา CAD 2 . ก า ร ทา หัต ถ ก า ร ห ล อ ด เ ลือ ด หัว ใ จ ผ่า น ส า ย ส ว น (percutaneous coronary intervention: PCI) ทางเลือกกรณี การรักษาด้วยยาไม่ได้ผล
  • 34. PTCA • Compress the plaque against the walls of the artery and dilate the vessel
  • 35. Stent • Vascular stent to prevent the artery from closing and prevent restenosis
  • 36. ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 1. Cardiac arrhythmias 2. ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นขณะคาสายสวนที่ขาหนีบและภายหลังนาออก 2.1 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชัว่โมงแรก (Early complications) เช่น - Groin bleeding - Retroperitoneal bleeding - Hematoma - Femoral neuropathy - Vasovagal reaction
  • 37. ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 2.2 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นหลัง 24 ชัว่โมง (Late complications) เกิดขึ้นในช่วง 1-30 วันหลังทา PCI เช่น - Femoral pseudoaneurysm - Arteriovenous fistula - Femoral artery thrombosis - Embolism - Femoral vein thrombosis
  • 38. ภาวะแทรกซ้อนจากการขยายหลอดเลือดหัวใจ 3. Infection 4. เสียชีวิต เช่น sudden death จากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ พบได้ร้อย ละ 0.1 - 0.45 5. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular events ) เช่น stroke พบได้ ร้อยละ 0.03 - 0.25 6. ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่รุนแรง เช่น คลี่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตต่า เป็นต้น
  • 39. Nursing Care for PCI 1. ถ้าทา ที่ Femoral artery • กดตรงตาแหน่งที่แทงเป็นเวลา 30 นาที • ผู้ป่วยต้องนอนราบอยู่กับเตียง ห้ามขยับขาข้างที่แทงหลอดเลือด • มีหมอนทรายหนักๆ ทับบริเวณขาหนีบ เป็นเวลา 2 ชัว่โมง • บอกผู้ป่วยไม่ให้งอพับขาหนีบ ลุกนั่ง หรือเดินได้จนกว่าจะพ้น 4-6 ชัว่โมงหลัง ทา PCI • ในผู้ป่วยที่ได้รับการถ่างขยายและใส่ขดลวดค้าหลอดเลือดหัวใจ ภายหลังการถ่าง ขยายต้องคาท่อนาไว้ในหลอดเลือดต่ออีกเป็นเวลา 4 ชัว่โมง เพื่อรอให้ยาที่ใช้ ขณะทาการรักษาหมดฤทธิ์เสียก่อนจึงจะสามารถดึงท่อนาออกและกดแผลได้
  • 40. Nursing Care for PCI 2. ถ้าทาที่ Radial artery เนื่องจากหลอดเลือดข้อมือเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กและ อยู่ตื้น ทาให้แพทย์สามารถดึงสายสวนและท่อนาออกจากหลอดเลือด ได้ทันทีภายหลังเสร็จสิ้นการฉีดสี หรือแม้กระทัง่ภายหลังการถ่างขยาย หลอดเลือดหัวใจโดยใช้ก้อนก๊อซปิดบริเวณที่แทงเข็มไว้เท่านั้น ผู้ป่วย สามารถลุกจากเตียงและทากิจวัตรส่วนตัวได้ทันที เพียงแต่ไม่ควรพับงอ ข้อมือข้างที่ใช้ตรวจเป็นเวลา 6-8 ชัว่โมง
  • 41. Nursing Care for PCI Normal air injection = 13 ml. (Max. = 18 ml.)
  • 42. Nursing Care for PCI วางเหนือเส้นเลือดที่ทา 1 cm ใส่ลมเข้าไป ~70 mmHg และค่อยๆ ปล่อยลมออกทุก 15 นาที (pedal pulse is palpable), และค่อยๆปล่อยอย่างช้าๆ ที ละ 30 mmHg ทุก 1–2 hours
  • 43. Coronary Artery Bypass Graft • To improve blood flow to the myocardial tissue that are at risk for ischemia or infarction as a result of the occluded artery.
  • 44. Coronary Artery Bypass Graft • เป็นการผ่าตัดทา ทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ • เป็นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถรักษาอาการ angina ได้ดีมาก ได้ผลทันที และหวังผลการรักษาได้ยาวนาน • สามารถลดอัตราการเกิด sudden cardiac deathได้ดี • ทาให้ผู้ป่วยมีชีวิตยาวนานขึ้น
  • 46. Heart Lung Machine • คือ การผ่าตัดโดยใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียมช่วย • เรียกว่า on-pump CABG หรือ conventional CABG หรือ standard CABG • ส่วนการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจตีบโดยไม่ใช้เครื่องปอดและ หัวใจเทียม เรียกว่า off-pump CABG (OPCAB)
  • 47.
  • 48. ชนิดของการตีบของหลอดเลือดหัวใจที่พบได้ บ่อย • ตีบ 1 เส้น = single vessel disease (SVD) • ตีบ 2 เส้น = double vessel disease (DVD) • ตีบ 3 เส้น = triple vessel disease (TVD)
  • 50. เส้นเลือดที่นิยมนามาใช้ใน CABG มีอยู่ 2 ชนิด คือ 1. Venous Conduit (Greater Saphenous Vein) 2. Arterial Conduit มีอยู่3 ชนิดที่ใช้ คือ – Internal Mammary (Thoracic) Arterial มี 2 เส้น คือ ซ้ายและขวา – Radial Artery มี 2 เส้น คือ ซ้ายและขวา – Gastro-epiglottic Artery ซึ่งอยู่ที่ Greater Curvature ของกระเพาะอาหาร มี 1 เส้น
  • 51. Post Operation CABG เน้นเรื่องแผล, ICD, และสังเกตอาการที่เกี่ยวกับ หัวใจ
  • 54. Intra-aortic balloon pump (IABP) • ข้อบ่งชี้การใช้ IABP –Left ventricular failure หรือ cardiogenic shock –ภาวะ Unstable angina ที่ไม่ตอบสนองต่อยา –Thrombolytic therapy –ผู้ป่วยหลังทา Intervention (PTCA, CABG) –Acute mitral regurgitation ที่ valve ปิดไม่สนิท –Ventricular septal rupture
  • 55. Nursing Diagnosis for CABG • ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากหลังผ่าตัดหลอด เลือดหัวใจ • ติดเชื้อที่แผลผ่าตัด – แผลกลางหน้าอก – แผลบริเวณขา
  • 56. PCI or CABG ? การพิจารณาทา PCI or CABG 1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อายุความรุนแรงของอาการ จานวนเส้น เลือดทีมีรอยตีบ LV function โรคร่วม และความต้องการของผู้ป่วย เป็นต้น 2. กรณีผู้ป่วยมีเส้นเลือด LM ตีบ > 50% or 2-vessel or 3-vessel CAD with p LAD ตีบ > 70% with LVEF <40%  CABG 3. กรณีผู้ป่วย มี 1-vessel or 2-vessel CAD PCI
  • 57. EF คือ ? • Ejection fraction (EF) หมายถึง เปอร์เซ็นต์ของเลือดที่ถูก บีบออกจากหัวใจต่อการบีบตัวของหัวใจ 1 ครงั้ • วิธีการวัด EF ที่นิยมใช้ ได้แก่ – การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography) – การตรวจหัวใจด้วยการใช้สารกัมมันตรังสี (radionuclide angiography) – การฉีดสารทึบรังสีในห้องหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventriculography)
  • 58. Level of Ejection Fraction LVEF การแปลผล greater than 70% Hyperdynamic 50% to 70% Normal (midpoint 60%) 40% to 49% (midpoint 45%) Mild dysfunction 30% to 39% (midpoint 35%) Moderate dysfunction less than 30% Severe dysfunction (The American College of Cardiology, 2012)
  • 59. บทบาทพยาบาลในการดูแล เป้ าหมายการดูแล 1. เพื่อบรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอกหรือไม่สุขสบาย 2. เพื่อให้มีการคงไว้ของระบบไหลเวียนเลือดทีเพียงพอ 3. เพื่อป้องกันและลดอันตรายทีอาจเกิดขึ้นจาก ภาวะแทรกซ้อนของโรคและแผนการรักษา 4. เพื่อบรรเทาความกลัวและความวิตกกังวล 5. เพื่อป้องกันไม่ให้โรคกา เริบและการกลับเป็นซ้า
  • 61. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ข้อมูลสนับสนุน 1. ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการเจ็บหน้าอกเหมือนโดนทับ 2. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเกิดขึ้นใหม่ ขณะพัก หรือจากการ กระต้นุทางด้านอารมณ์ อาการจะรุนแรงเหมือนมีของหนักมาทับอก ไว้ 3. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกอาการปวดร้าวไปที่คอ คาง แขน และไหล่ซ้าย ร่วมกับการมีอาการใหม่ๆที่เกิดขึ้นร่วมด้วย ได้แก่ เหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสัน่ และหายใจหอบเหนื่อย 4. ผลการตรวจ EKG พบ ST depression หรือ ST elevation และอาจ พบ T-wave inversion และ transient abnormal Q wave
  • 62. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ เกณฑ์การประเมินผล 1. ผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรืออาการเจ็บแน่นหน้าอกทุเลา ลง 2. V/S อย่ใูนเกณฑ์ปกติ 3. ผล EKG ไม่พบ ST depress หรือ ST elevated หรือ T inverted
  • 63. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินอาการเจ็บหน้าอก ตาแหน่งของอาการปวดร้าว และ ระดับความปวด MONA 2. ประเมิน V/S, monitor EKG หรือ ทา EKG 12 leads 3. ดูแลให้ออกซิเจน 2-4 lit/min keep O2 sat ≥ 95% 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวด: morphine sulfate โดยให้ได้ 2-4 mg iv q 5 min หรือตามแผนการรักษา และให้ลดขนาดลงใน ผู้สูงอายุและผู้ป่วยทีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ โดยระดับยา จะสูงสุดใน 7 นาที หลังให้ทาง iv
  • 64. ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากการกาซาบของ เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ กิจกรรมการพยาบาล 5. ให้ยาในกลุ่ม Nitrate ตามแผนการรักษา โดยปกติจะให้ครงั้ละ 1-5 mg ในกรณีที่อมยาใต้ลิ้นแล้วยังคงมีอาการเจ็บหน้าอกอยู่ ข้อห้ามในการใช้ Nitrates คือ มี BP < 90/60 mmHg, HR < 50 หรือ >100, มีการใช้ ยา Viagra ในช่วง 24-28 ชัว่โมง 6. ให้ยาละลายลิ่มเลือด ASA: Aspirin 160 หรือ 325 mg 1เม็ด ให้เคี้ยว ทันที และมีข้อห้ามในการให้Aspirin คือ แพ้ยา และมีภาวะเลือดออกใน ทางเดินอาหาร 7. Bed rest/ absolute bed rest เพื่อลดการทา งานของกล้ามเนื้อหัวใจ
  • 66. แบ่งตามชนั้ของหัวใจ • การอักเสบของเยื่อหุ้ม หัวใจ (Pericarditis) • การอักเสบของกล้ามเนื้อ หัวใจ (Myocarditis) • การอักเสบเยื่อบุด้านใน ของหัวใจ (Endocarditis)
  • 67. การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericarditis) Pericardium แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ • parietal pericardium เป็นผนังด้านนอกของช่องเยื่อ หุ้มหัวใจ ที่ติดกับเยื่อหุ้มปอด • visceral pericardium เป็นเยื่อบุที่ติดกับด้านนอกของ ผนังหัวใจ
  • 69. Acute Pericarditis • ส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุ แต่ มักจะเกิดจาก viral infection • การอักเสบจะเริ่มจากมี fibrin และน้าเกิดเฉพาะที่หรือ ทัว่ๆไป แล้วทาให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็ง หนา ขาดความยืดหยุ่น ไม่สามารถขยายตัวได้ ความจุของหัวใจลดลง ความดัน รอบๆหัวใจสูงขึ้น มีผลให้เลือดไหลกลับเข้าหัวใจลดลง
  • 70. เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน จะมีอาการสาคัญ 3 ประการ • เจ็บหน้าอก (Precordial pain) อาการเจ็บหน้าอกอาจเป็นที่กลาง อก หัวใจไหล่ทั้งสองข้าง หรือที่ระหว่างกระดูกสะบักทั้งสองข้าง อาการเจ็บจะเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ เคลื่อนไหวตัวหรือ นอนราบ เมื่อนั่งก้มตัวไปข้างหน้าจะรู้สึกสบายขึ้น ในบางรายจะมี อาการเจ็บหน้าอกทันทีทันใด • หายใจลา บาก (Dyspnea) เป็นผลการกดหลอดลมหรือเนื้อปอด เนื่องจากการหนาตัวของเยื่อหุ้มหัวใจ อาการจะบรรเทาลงโดยการลุก นั่ง นอนศีรษะสูงหรือนั่งก้มตัวไปข้างหน้า
  • 71. เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบอย่างเฉียบพลัน จะมีอาการสา คัญ 3 ประการ • มีเสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้ง 2 ชนั้ (Preicardial friction rub) เป็นผลมาจากเซลล์ของเยื่อหุ้มหัวใจ ปลดปล่อย “fibrinous exudate” ออกมา จะได้ยินชัดเจนมนท่านอน หงาย นอนตะแคงหรือท่านั่งเอนตัวไปข้างหน้า และเมื่อหายใจเข้าและ ออกเต็มที่เสียงที่ได้ยิน จะคล้ายกับการถูผมหน้าหู
  • 72. Chronic pericarditis • เกิดเนื่องมาจากการอักเสบเรื้อรัง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติด วัณโรคเนื้องอกที่กระจายมาจากปอดหรือเต้านม การผ่าตัดหัวใจหรือ บริเวณทรวงอก uremia, SLE • การอักเสบทาให้เกิดพังผืดอย่างมาก • มี engorged neck vein มีอาการบวม ท้องมาน และตับโต หอบ เหนื่อย (dyspnea) ไอและนอนราบไม่ได้ (orthopnea) • Low cardiac output • สุดท้ายผู้ป่วยจะ shock เนื่องจาก hypo perfusion
  • 73. ภาวะแทรกซ้อนของเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ • น้าในเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardail effusion) • Pulsus paradoxus or paradoxical pulse หมายถึง การที่ชีพ จรแรงขึ้นในช่วงหายใจออก และเบาลงในช่วงหายใจเข้า และ SBP ลดลงมากกว่าปกติในเวลาหายใจเข้า (ลดลงมาก ว่า 8-10 มิลลิเมตรปรอท) ซึ่งปกติหายใจเข้าชีพจรจะเบา ลงและ SBP จะลดลงเพียงเล็กน้อย
  • 74. การรักษา • Acute pericarditis • ใช้ยากลุ่มที่ช่วยลดการอักเสบ เช่น NSAID หรือ corticosteroid • Chronic pericarditis • แนะนาให้ผ่าตัดเยื่อหุ้มหัวใจ หากไม่สามารถผ่าได้สามารถ รักษาด้วยการรับประทานยาเช่นเดียวกับ acute pericarditis
  • 75. การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocarditis) • สาเหตุที่สาคัญของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบคือ ไข้รหูม์าติค ไข้หวัดใหญ่ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ (endocarditis) • ทาให้ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทา งาน ไม่มีประสิทธิภาพ มีผลให้จา นวนเลือดออกจากหัวใจลดลง ทาให้เกิดหัวใจวายได้
  • 76. อาการและการแสดง • อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสัน่ หัวใจเต้นเร็ว หายใจลาบาก เจ็บหน้าอก นอนราบ ไม่ได้ • ความดันโลหิตต่า ( SBP น้อยกว่า 90 มม.ปรอท) • ชีพจรอาจเป็นลักษณะ “pulsus alternans” • อัตราการเต้นของหัวใจไม่ได้สัดส่วนกับอุณหภูมิที่สูง • ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง “Gallop” และเสียง “Pericardial rub”
  • 77. การอักเสบของเยื่อบุชนั้ในหัวใจ (Endocarditis) • สาเหตทุี่ทาให้เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา • ส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย • มีแผลในปากจากฟันผุ หรือถอนฟัน เชื้อที่พบส่วนใหญ่ คือ Streptococcus viridans • ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ Streptococcus , Enterococcus • ติดเชื้อทางผิวหนัง ได้แก่ Staphyloccus • ติดเชื้อทางเดินหัวใจ ได้แก่ beta histolytica
  • 78. อาการและอาการแสดง • ฟังเสียงหัวใจ ส่วนใหญ่จะได้เสียงฟู่ (murmur) • เลือดออกได้ง่าย หรือเกิดจ้าเลือด • จุดเลือดออกมักพบบริเวณเยื่อบุตา เพดานใน ช่องปาก เลือดออกใต้เล็บ • clubbing of fingers
  • 79. การรักษา • ให้ยา antibiotic ชนิด bactericidal • ในรายที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยาพิจารณาผ่าตัดรักษา
  • 80. Nursing Care • Bed rest เพื่อลดการทา งานของหัวใจและความต้องการ ออกซิเจน • Bleeding precautions • ฟังเสียงหัวใจ • แนะนาเรื่องการดูแลความสะอาดในช่องปาก • และติดตามผลการเพาะเชื้อเพื่อให้การรักษาที่ถูกต้อง
  • 81. VALVULAR HEART DISEASE http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http%3A%2F%2Fwww.surgery.usc.edu%2Fcvti%2Fgraphics%2Fmitralvalve01- s.jpg&imgrefurl=http%3A%2F%2Fwww.surgery.usc.edu%2Fcvti%2Fcardiac-mitralvalverepair. html&h=300&w=450&tbnid=QuaJ4KBimOzyiM%3A&zoom=1&docid=tvUo0O60t13GzM&ei=Ll4WVNaPO5 aiugSi5IKIAw&tbm=isch&client=firefox-a&ved=0CHwQMyhWMFY&iact=rc&uact=3&dur=1023&page=4&start=63&ndsp=26
  • 82. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสาเหตุ พยาธิสภาพ การรักษาของโรคที่มีความ ผิดปกติของลิ้นหัวใจได้ 2. บอกกระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีความ ผิดปกติของลิ้นหัวใจได้
  • 83. ลิ้นหัวใจปกติ • มีหน้าที่ คล้ายประตู • ลิ้นหัวใจช่วยกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับในขณะที่หัวใจบีบ ตัว • ลิ้นหัวใจในร่างกายของมนุษย์มีทงั้หมด ๔ ตาแหน่ง คือ Tricuspid valve Mitral valve Pulmonic valve Aortic valve Arterioventicular valve ลิ้นรูปพระจันทร์เสี้ยว (semilunar valve )
  • 84. ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่พบได้บ่อย • Aortic Stenosis • Mitral Stenosis • Aortic Regurgitation • Mitral Regurgitation
  • 85.
  • 86. สาเหตุของโรคลิ้นหัวใจรัว่โดยทัว่ไป • โรคลิ้นหัวใจพิการแต่กา เนิด ตอนเด็กจะมีอาการเหนื่อยง่าย เจริญเติบโตช้า ตัวเขียว อาจพบร่วมกับผนังหัวใจรัว่ • โรคลิ้นหัวใจรูห์มาติค เกิดจากการติดเชื้อจนหัวใจเกิดการ อักเสบ • โรคลิ้นหัวใจเสื่อมในคนสูงอายุ มักเกิดจากหินปูนเกาะที่ลิ้น หัวใจ ซึ่งตาแหน่งที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุคือ aortic valve stenosis
  • 87. สาเหตุของโรคลิ้นหัวใจรัว่โดยทัว่ไป • โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อ มักพบในคนไข้ที่ทาฟัน เชื้อโรค ในเลือดจะลงไปทา ลายลิ้นหัวใจ • โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาให้สูญเสียความสามารถใน การยึดลิ้นหัวใจ ทา ให้ลิ้นหัวใจถูกยืดขยายจนเกิดการรัว่ของ เลือด
  • 89. Aortic Stenosis Overview: • Normal Aortic Valve Area: 3-4 cm2 • Symptoms: Occur when valve area is 1/4th of normal area.
  • 90. สาเหตุของ Aortic Stenosis • Congenital • Rheumatic • Degenerative/Calcific ผู้ป่วยที่มาอายุ น้อยกว่า 70 ปี >50% มีมาแต่กา เนิด ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 70 ปี50% เกิดจากความเสื่อมตามวัย
  • 91. พยาธิสรีรวิทยาของ AS • Increased afterload • LV function initially maintained by compensatory pressure hypertrophy • When compensatory mechanisms exhausted, LV function declines.
  • 92. อาการและอาการแสดง AS CLINICAL TRIADS 1. Dyspnea เป็นอาการเริ่มแรกสุด อาจตื่นหอบกลางคืน นอนราบมาได้ 2. Angina เพราะ blood supply น้อยลง 3. Syncope เพราะแรงดันเลือดมาที่ aorta น้อยลง 4. Heart failure จาก LV dysfunction 5. Sudden death
  • 93. การตรวจร่างกาย AS • Slow rising carotid pulse (pulsus tardus) & decreased pulse amplitude (pulsus parvus) • Heart sounds- S4 gallop due to LVH. • Systolic ejection murmur- รูยิ่งตีบ เสียงยิ่งดัง • CXR พบ Pulmonary congestion (เลือดคัง่ในปอด)
  • 95. การรักษาใน AS • โดยทัว่ไป - รักษาเรื่องการติดเชื้อในเยื่อหุ้มหัวใจ • การรักษาด้วยยา - Vasodilators are relatively contraindicated in severe AS - ให้ digitalis ร่วมกับการจากัดเกลือ และอาจให้ Nitroglycerine เพื่อรักษา angina pain • Aortic Balloon Valvotomy • Surgical Replacement
  • 96.
  • 98. Mitral Stenosis Overview: • Normal MV Area: 4-6 cm2 • อาการจะแสดงเมื่อมีพื้นที่ของลิ้นหัวใจ MV < 2 cm2
  • 100. สาเหตุของการเกิด MS 1. Rheumatic heart disease: 77-99% 2. Infective endocarditis: 3.3% 3. Mitral annular calcification: 2.7%
  • 101. พยาธิสรีระของ MS เลือดไหลเข้า LV ลดลง ทาให้มีเลือดค้างใน LA มากขึ้น LA hypertrophy Atrial Fibrilation
  • 102. พยาธิสรีระของ MS เลือดที่ไหลเข้าสู่ LV มีลักษณะไหลวน (turbulence) Emboli ถ้าไปคัง่ที่ pulmonary จะเกิด pulmonary edema LV failure จนเกิด RV failure และ HF ในที่สุด
  • 103. อาการและอาการแสดงของ MS • หอบเหนื่อยและไอเป็นเลือดจากการมีเลือดคัง่ที่ปอด • อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ใจสัน่ • กลืนอาหารลาบาก เสียงแหบ เจ็บหน้าอก หรืออาจชักหมด สติจากหลอดเลือดที่สมองเกิดการอุดตันจาก systemic emboli
  • 104. การตรวจร่างกาย MS • Thrill คือ คลาพบแรงกระแทกของหัวใจ • Mid diastolic rumbling murmur • Jugular venous pulsations จาก pulmonary hypertension and right ventricular hypertrophy • Signs of right-sided heart failure
  • 105. การตรวจพิเศษของ MS • ECG: may show atrial fibrillation (AF) and LA enlargement • CXR: LA enlargement and pulmonary congestion. Occasionally calcified MV • ECHO: The GOLD STANDARD for diagnosis.
  • 107.
  • 108. การรักษา MS • การรักษาด้วยยา –-blockers, CCBs, Digoxin which control heart rate –Diuretics for fluid overload –LMWH, cordarone for prevention AF –Nitroglycerine for decrease preloadให้หลอดเลือดโค โรนารีขยาย และลดการใช้ออกซิเจน
  • 109.
  • 110.
  • 111.
  • 113. Aortic Regurgitation Overview: • Definition: Leakage of blood into LV during diastole due to ineffective coaptation of the aortic cusps
  • 114. สาเหตุของการเกิด AR Acute AR มีสาเหตุจาก –Endocarditis –Aortic Dissection Chronic AR มีสาเหตุจาก – Bicuspid aortic valve – Rheumatic – Infective endocarditis
  • 115. พยาธิสรีระของ AR เลือดไหลย้อนเข้า LV LV hypertrophy SBP สูง เพื่อส่งเลือดออกไปให้ได้เพียงพอกับร่างกาย DBP ต่า เพราะเลือดรัว่ ไหลกลับเข้า LV เกิดเลือดคัง่ในปอด และ Heart Failure ได้
  • 116. อาการและอาการแสดงของ AR • หอบเหนื่อย โดยเฉพาะในท่านอนราบ • หลอดเลือดที่คอเต้นแรงกว่าปกติ
  • 117. การตรวจร่างกาย AR • Diastolic murmur • Pulse pressure กว้าง • Corrigans sing คือ เห็นการเต้นของชีพจรที่ carotid ชัดเจน • CXR พบ LV hypertrophy
  • 118. การรักษา AR 1. การผ่าตัด 2. รักษาด้วยยาตามอาการ เช่น 1. Inotrope: dopamine, dobutamine 2. Vasodilators: nitroprusside
  • 119.
  • 120.
  • 122. Mitral Regurgitation Overview: • Definition: Backflow of blood from the LV to the LA during systole
  • 123. สาเหตุของการเกิด MR Acute MR มีสาเหตุจาก –Endocarditis –Acute MI: –Malfunction or disruption of prosthetic valve Chronic MR มีสาเหตุจาก – Myxomatous degeneration (MVP) – Ischemic MR – Rheumatic heart disease – Infective Endocarditis
  • 124. พยาธิสรีระของ MR เลือดไหลย้อนจาก LV ไป LA LV & LA hypertrophy ความดันใน pulmonary vein สูงขึ้น เกิดPulmonary edema RV failure เกิดท้องมาน และบวมที่ขาทั้ง 2 ข้าง
  • 125. อาการและอาการแสดงของ MR • อ่อนเพลีย • Low cardiac output • หอบเหนื่อยขณะออกกา ลังกายหรือหอบในท่านอนราบ • บวม หลอดเลือดที่คอโป่ง ตับโต • อาจมีใจสัน่จาก AF
  • 126. การตรวจร่างกาย MR • Pansystolic murmur โดยเป็นการได้ยินเสี่ยงฟู่ตลอดซีสโตล โดยจะเกิดตามหลัง S1 • LV heaving (หัวใจห้องล่างซ้ายดันผนังหน้าอกขึ้นมาชนมือ) • EKG show LV hypertrophy • CXR พบ LA & LV hypertrophy
  • 127.
  • 129. การตรวจพิเศษของ MR • ECG: May show, LA enlargement, atrial fibrillation and LV hypertrophy with severe MR • CXR: LA enlargement, central pulmonary artery enlargement. • ECHO: Estimation of LA, LV size and function. Valve structure assessment – TEE
  • 130. การรักษา MR • Bed rest • เน้นการลด afterload – Diuretics and nitrates – captopril – nitroprusside, even in the setting of a normal blood pressure. • Myocardial infarction: Cardiac catheter or thrombolytics • การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจหรือตกแต่งลิ้นหัวใจ
  • 131.
  • 133. Nursing Care • Bed rest เพื่อลดการทา งานของหัวใจและความต้องการ ออกซิเจน • ฟังเสียงหัวใจ • ติดตามประเมินอาการแสดงของ low cardiac output เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง มึนศีรษะ สับสน มีอาการ เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก EKG show arrhythmia BP drop < 90/60 mmHg. และ urine < 25-30 ml/hr เป็นต้น
  • 134. Nursing Care • ฟังเสียงลิ้นหัวใจ เพื่อประเมินความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่ใส่ เข้าไปและประเมินอาการเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก • ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ ASA และ Warfarin ตามแผนการรักษา และให้การพยาบาล bleeding precaution • ติดตามผล Lab. WBCและ Neutrophil, และ PTT PT INR