SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
การประเมินการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด 4 โรคสาคัญ ได้แก่ โรค
เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์
สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ. 2554 - 2563 ประกอบด้วยการดาเนินงานใน 5 เรื่อง ดังนี้
1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน
2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร
3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม
4. การบูรณาการ
5. การติดตามประเมินผล
แบบประเมินนี้ใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด โดยแบ่งเป็นส่วน
การให้คะแนนการประเมิน และคาอธิบายเกณฑ์การประเมินเพื่อใช้ในการให้คะแนนการประเมิน ทั้งนี้ แบบ
ประเมินนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทางสานักงานสาธารณสุขจังหวัดใช้ประเมินตนเอง ว่าได้ดาเนินการขับเคลื่อนงาน
โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของจังหวัดตน ไปถึงระดับใด จะต้องทาอะไรต่อ และใช้เปรียบเทียบกับหน่วยงานต่างๆ ในระดับ
เดียวกันถึงสถานการณ์การดาเนินงาน แบบประเมินนี้ มุ่งหวังในเชิงพัฒนาระบบงานภายใต้การดาเนินการใน 5
เรื่องดังกล่าว เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับจังหวัดให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการและการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด
ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต่อไป (ท่านสามารถ Downloade แบบประเมินนี้ได้ที่ www …………
……………………….)
แบบประเมิน
การขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ระดับจังหวัด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด..................................
2
แบบประเมินการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด
ประเด็นการประเมิน คะแนน
เต็ม
คะแนนที่
ได้
1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน 30
1.1 คาสั่งคณะกรรมการ/คณะทางานดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับจังหวัด
4
1.2 กลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบ
บริการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
6
1.2.1 การประชุม (2)
1.2.2 รายงานการประชุม (2)
1.2.3 คุณภาพของรายงานการประชุม (2)
1.3 นโยบาย แผน และ การจัดสรรทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อแก้ปัญหาโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
10
1.3.1 นโยบายและแผน (4)
1.3.2 การจัดสรรทรัพยากร (6)
1.4 ผู้จัดการระบบ (System Manager : SM) / ผู้จัดการรายกรณี (Case
Manager : CM) และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
10
1.4.1 System Manager (5)
1.4.2 Case Manager และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงาน NCDs (5)
2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร 25
2.1 ศูนย์ข้อมูลกลางที่สนับสนุนการตัดสินในของผู้บริหาร 10
2.1.1 มีศูนย์ข้อมูลกลางระดับจังหวัด (2)
2.1.2 ครอบคลุม (2)
2.1.3 ครบถ้วน 4 โรค (2)
2.1.4 ทันสมัย (2)
2.1.5 เข้าถึง (2)
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ และการนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 15
2.2.1 ข้อมูลที่ช้ในการวิเคราะห์ (5)
2.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (5)
2.2.3 การใช้ประโยชน์ (5)
3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม 15
3.1 แนวทางการดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการสร้าง
สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย และถ่ายทอด ผลักดันอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
5
3.2 แนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค NCDs ครอบคลุมการ
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภคที่นาไปใช้
เป็นแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด
5
3
ประเด็นการประเมิน คะแนน
เต็ม
คะแนนที่
ได้
3.3 กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ โรค NCDs ครอบคลุม
การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อ
พัฒนานวัตกรรม ต่อยอดและขยายผลอย่างเป็นระบบ
5
4. การบูรณาการ 20
4.1 บูรณาการแผน Service Plan / Prevention & Promotion และแผนอื่นๆที่
เกี่ยวข้อง
5
4.2 บูรณาการทรัพยากร (คน เงิน เทคโนโลยี) ภายในจังหวัด/นอกจังหวัด 5
4.3 บูรณาการข้อมูล สารสนเทศ (แหล่งข้อมูลหลากหลายที่เกี่ยวข้อง) 5
4.4 บูรณาการกระบวนการทางานที่เชื่อมโยงเป็นรูปธรรม 5
5. การติดตามประเมินผล 10
5.1 ระบบและกลไกการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลงาน อย่าง
ต่อเนื่อง สม่าเสมอ
4
5.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 6
5.2.1 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่
แสดงข้อมูล 4 ลด ได้ครอบคลุมทั้ง 4 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ
(4)
5.2.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่
แสดงข้อมูลได้ครอบคลุมในประเด็น 2 เพิ่ม ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคที่
เหมาะสม และการออกกาลังกายที่เพียงพอ (ค่า BMI และรอบเอว กลุ่ม
ประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป)
(2)
คะแนนรวม ทั้ง 5 ประเด็น 100
ผลการประเมิน อยู่ในระดับ ( ) ดีเยี่ยม ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง
เกณฑ์คะแนนการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด
แบ่งเป็น 4 ระดับคือ
1. ดีเยี่ยม คะแนน 90 – 100 คะแนน
2. ดี คะแนน 80 – 89 คะแนน
3. พอใช้ คะแนน 60 – 79 คะแนน
4. ควรปรับปรุง คะแนน น้อยกว่า 60 คะแนน
คณะผู้ประเมิน
1....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................
2....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................
3....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................
4....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................
5....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................
วัน เดือน ปีที่ประเมิน......................................................
4
คาอธิบายเกณฑ์การประเมิน และการให้คะแนนในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด
1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
คาอธิบาย/เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
1.1 คาสั่ง
คณะกรรมการ/
คณะทางาน
ดาเนินงานป้องกัน
และควบคุมโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
4 มีคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ออานวยการส่งเสริมสุขภาวะ
ประชาชนเพื่อการดาเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในระดับจังหวัด (4 คะแนน)
คาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่กาหนดบทบาทหน้าที่
ผู้รับผิดชอบงาน และกิจกรรมการส่งเสริม
ป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
4 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีคณะกรรมการของ
หน่วยงานสาธารณสุข
ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
เช่น อปท.ฯ และองค์กร
ภาคเอกชน เช่น สถาน
ประกอบการ
มีคณะกรรมการของ
หน่วยงานสาธารณสุข
และภาคีเครือข่าย
ที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. ฯ
มีคณะกรรมการ
เฉพาะหน่วยงาน
สาธารณสุขอย่างเดียว
ไม่มีคณะกรรมการ
1.2 กลไกการ
ขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานการ
พัฒนาระบบ
บริหารจัดการ
และระบบบริการ
สร้างสุขภาพดีวิถี
ชีวิตไทย
6 1.2.1 การประชุมของคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2 คะแนน) รายงานการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย
1. วาระประชุม
2. รายงานการประชุมที่ผ่านมา ที่ระบุวัน เวลา
และสถานที่ประชุม
3. มติและข้อเสนอแนะจากการประชุม
4. เนื้อหาการประชุมต้องประกอบด้วย 4 โรค
ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคดันโลหิตสูง โรคหลอด
เลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือการ
บริหารจัดการด้าน Service Plan และ
Prevention Plan
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ทุกไตรมาส
มีการประชุมคณะกรรมการ
ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ไม่ครบทุกไตรมาส
ไม่มีการประชุม
1.2.2 รายงานการประชุมของคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีรายงานการประชุม มีมติการ
ประชุม และข้อเสนอแนะ
มีรายงานการประชุม และมีมติ
การประชุม
ไม่มี
รายงานการประชุม
1.2.3 คุณภาพของรายงานการประชุม (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร และ
มีข้อสั่งการ
มีข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร ไม่มีข้อเสนอแนะ
ต่อผู้บริหาร
5
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
1.3 นโยบาย แผนและ
การจัดสรร
ทรัพยากร
(คน เงิน ของ) เพื่อ
แก้ปัญหาโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
10 1.3.1 นโยบายและแผน (4 คะแนน) 1 คะแนน คือ นโยบายการดาเนินงาน
ระดับประเทศ กระทรวง และจังหวัด มีความ
สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
2 คะแนน คือ มีแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด หรือ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของจังหวัด ที่
สอดคล้องกับนโยบาย และปัญหาพื้นที่ และ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
ประกอบด้วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 นโยบายสาธารณะสร้างสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนทางสังคมและ
สื่อสารสาธารณะ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและ
การจัดการโรค
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งของระบบ
สนับสนุนยุทธศาสตร์
3 คะแนน คือ มี การถ่ายทอดนโยบายและ
แผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ เช่น ประชุม
สัมมนา หนังสือ Cofrence เป็นต้น) และแผนใน
รูปแบบต่างๆ
4 คะแนน คือ มีแผนปฏิบัติการ หรือโครงการ
ระดับจังหวัด ที่มีวัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินงาน
งบประมาณ กิจกรรม ระยะเวลาผู้รับผิดชอบ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีแผนปฏิบัติการ
ที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์และ
กาหนดกิจกรรม
ที่ปฏิบัตได้นาไปสู่
การแก้ปัญหาที่
ชัดเจน
มีการถ่ายทอด
นโยบายและ
แผนยุทธศาสตร์
สู่การปฏิบัติ
มีแผนยุทธศาสตร์
ที่สอดคล้องกับ
นโยบาย และ
ปัญหาพื้นที่
นโยบายมีความ
สอดคล้องกับระดับ
ประเทศ (ยุทธ
ศาสตร์สุขภาพดีวิถี
ชีวิตไทย) กระทรวง
และเขตสุขภาพ
ไม่มี
6
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
1.3.2 การจัดสรรทรัพยากร (6 คะแนน) 1 คะแนน คือ จังหวัด มีการจัดสรรงบประมาณ
เพื่อแก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
2 คะแนน คือ มีงบประมาณที่นามาสบทบ
เพิ่มเติมในระดับจังหวัด เช่น สปสช. จังหวัด/
สสส./ และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการ
ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
3 คะแนน คือ มีการจัดสรรงบประมาณตามแผน
หมายถึง จานวนเงินที่ได้รับการจัดสรรจาก
จังหวัด กับกิจกรรมดาเนินการตามแผนงาน/
โครงการ มีความเหมาะสมโดยพิจารณาจาก
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรม และสามารถ
ทาให้กิจกรรมนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์
4 คะแนน คือ มีรายงานการเบิกจ่ายเป็นไปตาม
แผนที่กาหนด
5 คะแนน คือ มีการทบทวนแผนการจัดสรร
ทรัพยากร
6 คะแนน คือ มีแผนจัดสรรทรัพยากรบูรณา
การร่วมกันในจังหวัด เช่น แผนจัดซื้อวัสดุ/
อุปกรณ์ แผนการจัดสรรแพทย์เฉพาะทาง
หมุนเวียนในจังหวัด แผนการจัดสรร Fundus
Camera เป็นต้น
6 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีการ
จัดสรร
งบประมาณ
ตามแผน
และมีการ
เบิกจ่าย
สอดคล้อง
ตามแผน
และมีการ
ทบทวน
แผนจัดสรร
ทรัพยากร
ร่วมกันใน
จังหวัด
มีการจัดสรร
งบประมาณ
ตามแผน
และมีการ
เบิกจ่าย
สอดคล้อง
ตามแผน
และมีการ
ทบทวน
แผนจัดสรร
ทรัพยากร
มีการจัดสรร
งบประมาณ
ตามแผน
และมีการ
เบิกจ่าย
สอดคล้อง
ตามแผน
มีการจัด
สรรงบ
ประมาณ
ตามแผน
มีงบ
ประมาณ
สมทบจาก
หน่วยงาน
อื่น ๆ
มีการจัดสรร
งบประมาณ
ให้กับแผน
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
ไม่มี
1.4ผู้จัดการระบบ
(System Manager :
SM) / ผู้จัดการราย
กรณี (Case Manager
: CM) และบุคลากรที่
เกี่ยวข้องกับงานโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
10 1.4.1 System Manager (5 คะแนน) 1.รายชื่อ SM
2. แผนพัฒนา SM
หมายเหตุ SM อาจไม่จาเป็นต้องจบหลักสูตรของ
สปสช. แต่มีบทบาทหน้าที่เป็น SM
5 คะแนน 3 คะแนน 0 คะแนน
มี CM ครบทุกอาเภอ มี SM ระดับ
จังหวัด และมีแผนพัฒนา SM ของ
จังหวัด
มี SM ระดับจังหวัด ไม่มี SM ระดับจังหวัด
7
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
1.4.2 Case Manager และ Mini CM (5 คะแนน) 1.รายชื่อ CM / Mini CM
2. แผนพัฒนา CM / Mini CM5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
มี CM ครบทุกอาเภอและ
หน่วยบริการในระดับอาเภอ
ขึ้นไป และมี Mini CM ครบ
ทุก รพ.สต. พร้อมมีแผน
พัฒนา CM / Mini CM
มี CM ครบทุกอาเภอและ
หน่วยบริการในระดับ
อาเภอขึ้นไป และ มี Mini
CM ไม่ครบทุก รพ.สต.
มี CM ครบทุกอาเภอ
และหน่วยบริการใน
ระดับอาเภอขึ้นไป
มี CM ไม่ครบทุกอาเภอ
และหน่วยบริการใน
ระดับอาเภอขึ้นไป
2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร
2.1 ศูนย์ข้อมูลกลางที่
สนับสนุนการตัดสิน
ในของผู้บริหาร
10 2.1.1 มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับจังหวัด (2 คะแนน) 1. ศูนย์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับจังหวัด
คือ ระบบข้อมูลที่สามารถนาเสนอสารสนเทศ
ให้ผู้บริหารเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้
2. ความครอบคลุม หมายถึง
2.1) ข้อมูล 4 โรคสาคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และหลอด
เลือดหัวใจ
2.2) ข้อมูล 4 ระบบงาน ได้แก่ การคัดกรอง
การส่งเสริมสุขภาพลดความเสี่ยง การเฝ้าระวัง
และจัดการโรค การพัฒนาระบบบริการ
3. ครบถ้วน มีข้อมูลตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด
ครบทั้ง 4 โรค
4. ทันสมัย หมายถึง ข้อมูลพร้อมใช้งานเป็น
ปัจจุบัน อย่างน้อยมีการนาเข้าข้อมูลจาก
อาเภอไม่ช้ากว่า 1 เดือน
5. เข้าถึง หมายถึง มีการวางระบบการเข้าถึง
ข้อมูล และมีการสะท้อนข้อมูลสู่ระดับอาเภอ
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีใช้ระบบ IT ใช้ระบบ Mannual ไม่มี
2.1.2 ครอบคลุม (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีข้อมูล 4 โรคสาคัญ
และ 4 ระบบงาน
มีข้อมูล 4 โรคสาคัญ
หรือ 4 ระบบงาน
ไม่มี
2.1.3 ครบถ้วน 4 โรค (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
ครบ 4 โรค ไม่ครบทุกโรค ไม่มี
2.1.4 ทันสมัย (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
ทันสมัยครบทุกอาเภอ ทันสมัยไม่ครบทุกอาเภอ ไม่มี
2.1.5 เข้าถึง (2 คะแนน)
2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
เข้าถึงได้ครบทุกอาเภอ เข้าถึงได้ไม่ครบทุกอาเภอ ไม่มี
8
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
สถานการณ์ และ
การนาข้อมูลไปใช้
ให้เกิดประโยชน์
15 2.2.1 ข้อมูลที่ช้ในการวิเคราะห์ (5 คะแนน) 1. ข้อมูล 4 โรคสาคัญ ได้แก่
1.1) โรคเบาหวาน
1.2) โรคความดันโลหิตสูง
1.3) โรคหลอดเลือดสมอง
1.4) โรคหลอดเลือดหัวใจ
2. พฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่
2.1) การสูบบุหรี่
2.2) ดื่มสุรา
2.3) อาหาร
2.4) ออกกาลังกาย
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีข้อมูลการ
คัดกรอง การ
ป่วย การตาย
พฤติกรรม
เสี่ยงครบทุก
โรคและมี
ข้อมูลจาก
แหล่งอื่นๆ
มีข้อมูลการ
คัดกรอง การ
ป่วย การตาย
และพฤติกรรม
เสี่ยงครบทุก
โรค
มีข้อมูลการ
คัดกรอง การ
ป่วย การตาย
ครบทุกโรค
มีข้อมูลการ
คัดกรอง และ
การป่วยครบ
ทุกโรค
มีข้อมูลการ
คัดกรอง
และการป่วย
ไม่ครบทุกโรค
ไม่มี
2.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (5 คะแนน)
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีการวิเคราะห์
สถานการณ์
และแนวโน้ม
ตามลักษณะ
บุคคล สถานที่
และเวลา
ครบทุกโรค
มีการวิเคราะห์
สถานการณ์
และแนวโน้ม
ตามลักษณะ
บุคคล สถานที่
และเวลา
ไม่ครบทุกโรค
มีการวิเคราะห์
สถานการณ์
และแนวโน้ม
ป่วย/ตาย
ครบทุกโรค
และทุกพฤติ
กรรมเสี่ยง
มีการวิเคราะห์
สถานการณ์
และแนวโน้ม
ป่วย/ตาย ครบ
ทุกโรคและมี
การวิเคราะห์
พฤติกรรมเสี่ยง
มีการ
วิเคราะห์
สถานการณ์
และแนวโน้ม
ป่วย/ตายไม่
ครบทุกโรค
ไม่มี
2.2.3 การใช้ประโยชน์ (5 คะแนน)
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีการ
ประเมินผล
การดาเนินงาน
ตามแผน
มีการนาข้อมูล
ไปใช้เพื่อการ
ติดตาม
กากับผลการ
ดาเนินงาน
ตามแผน
ใช้สถานการณ์
แนวโน้มตาม
ลักษณะบุคคล
สถานที่ และ
เวลาในการ
วางแผน
ใช้สถานการณ์
ป่วย/ตาย และ
พฤติกรรมเสี่ยง
ในการวางแผน
ใช้สถานการณ์
ป่วย/ตาย
ในการ
วางแผน
ไม่มี
9
3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงาน
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
3.1 แนวทางการ
ดาเนินการพัฒนา
ระบบบริหารจัดการ
และระบบบริการ
สร้างสุขภาพดีวิถี
ชีวิตไทย และ
ถ่ายทอด และ
ผลักดันอย่างเป็น
ระบบต่อเนื่อง
5 แนวทางการดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
และถ่ายทอด/ ผลักดันอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง (5 คะแนน)
ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ประกอบด้วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 นโยบายสาธารณะสร้างสุข
เป้าหมาย
1. มีนโยบายสาธารณะ ในการควบคุมการบริโภคอาหาร
เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ
2. มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการผลิตและการบริโภค
โภคอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลดีต่อ
สุขภาพ
3. มีนโยบายส่งเสริมการออกกาลังกายและกิจกรรมทาง
กายและใจ
4. มีนโยบายการจัดการน้าหนักสาหรับกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาร
สาธารณะ
เป้าหมาย
1. ประชาชนและสังคมรับรู้ เข้าใจตระหนักถึงภาวะเสี่ยง
การป้องกันโรค แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพและมี
ภูมิคุ้มกัน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มี
ผลกระทบต่อโรควิถีชีวิต
2. สถาบันภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม มีส่วน
ร่วมและเป็นเครือข่ายในการสร้างวิถีชีวิตเพื่อการมี
สุขภาพดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน
เป้าหมาย
1. ชุมชนท้องถิ่น และองค์กร รับรู้ เข้าใจ ตระหนัก
สามารถดูแลและจัดการเกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
และสุขภาวะ
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีกิจกรรม
และผลลัพธ์
การดาเนิน
งานสอด
คล้องปัญหา
พื้นที่ครบ 5
ยุทธศาสตร์
มีกิจกรรมและ
ผลลัพธ์การ
ดาเนินงาน
สอดคล้อง
ปัญหาพื้นที่
อย่างน้อย 4
ยุทธศาสตร์
มีกิจกรรมและ
ผลลัพธ์การ
ดาเนินงาน
สอดคล้อง
ปัญหาพื้นที่
อย่างน้อย 3
ยุทธศาสตร์
มีกิจกรรมและ
ผลลัพธ์การ
ดาเนินงาน
สอดคล้อง
ปัญหาพื้นที่
อย่างน้อย 2
ยุทธศาสตร์
มีกิจกรรมและ
ผลลัพธ์การ
ดาเนินงาน
สอดคล้อง
ปัญหาพื้นที่ 1
ยุทธศาสตร์
ไม่มี
10
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการ
จัดการโรค
เป้าหมาย
1. มีระบบเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและโรควิถีชีวิตที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองที่มีคุณภาพ ครอบคลุม
และสามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
3. กลุ่มผู้ป่วยมีระบบและมาตรฐานการจัดการโรคและ
ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลส่งต่อผู้ป่วยโรควิถีชีวิต
แบบบูรณาการแบบองค์รวม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งของระบบ
สนับสนุนยุทธศาสตร์
เป้าหมาย
1. ผู้นาและบุคลากรมีศักยภาพในการบริหารจัดการและ
สนับสนุนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ใด้อย่าง
เหมาะสม
2. มีองค์กรความรู้ที่สามารถนาไปใช้ในการกาหนด
นโยบายสาธารณะ และการบริหารจัดการยุทธศาสตร์
ได้อย่างเมาะสม
3. มีระบบบริหารจัดการและกลไกการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ
4. มีระบบคุณภาพและการประเมินผลภาพรวมอย่าง
บูรณาการ
ทั้งนี้ การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการมุ่งเน้น
การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์สุขภาพเวิถีชีวิตไทยเป็น
แนวทางหลัก
11
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
3.2 แนวทางการ
ดาเนินงานและ
แนวทางเวชปฏิบัติ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ครอบคลุมการ
ส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันควบคุมโรค
รักษา ฟื้นฟู และ
คุ้มครองผู้บริโภค
ที่นาไปใช้เป็น
แนวทางเดียวกันทั้ง
จังหวัด
5 มีแนวทางการการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการส่งเสริม
สุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค (5 คะแนน)
มีแนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุม
โรค รักษา ฟื้นฟู และ คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด
ครอบคลุมหน่วยบริการทุกระดับดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม
ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ
ระดับจังหวัด
ขั้นตอนที่ 2 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม
ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ
คุ้มครองผู้บริโภค ระดับจังหวัด
ขั้นตอนที่ 3 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม
ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ
คุ้มครองผู้บริโภค ระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ
นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัด
ขั้นตอนที่ 4 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม
ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ
คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ
นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัดและพบหลักฐานสามารถ
นาไปใช้ในหน่วยบริการบางอาเภอในจังหวัด
ขั้นตอนที่ 5 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุม การส่งเสริม
ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ
คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ
นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัด และพบหลักฐานสามารถ
นาไปใช้ในทุกหน่วยบริการทุกอาเภอในจังหวัด
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ไม่มี
12
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
3.3 กระบวนการ
ส่งเสริมและ
สนับสนุนการ
จัดการความรู้ โรค
ไม่ติดต่อเรื้อรัง
ครอบคลุมการ
ส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันควบคุมโรค
รักษา ฟื้นฟู และ
คุ้มครองผู้บริโภค
เพื่อพัฒนา
นวัตกรรม ต่อยอด
และขยายผลอย่าง
เป็นระบบ
5 มีกระบวนการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการความรู้ และงานวิจัย มาตรฐานการ เฝ้าระวัง
พฤติกรรมเสี่ยง สู่นโยบายและการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (5 คะแนน)
มีกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ และ
งานวิจัย มาตรฐาน การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง สู่นโยบาย
และการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน
1. การบ่งชี้ความรู้
2. การสร้างและแสวงหาความรู้
3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5. การเข้าถึงความรู้
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
7. การเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 2 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้และสร้าง
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ
ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯ อย่างใดอย่าง
หนึ่ง
ขั้นตอนที่ 3 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ
ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯ อย่างใดอย่าง
หนึ่ง และจัดเก็บองค์ความรู้ ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น
หนังสือ Intranet
ขั้นตอนที่ 4 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ
ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯลฯ อย่างใดอย่าง
หนึ่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น
หนังสือ Intranet และนาความรู้ไปต่อยอดความรู้ เช่น การ
พัฒนามาตรฐานงาน การจัดทาคู่มือ/แนวทางการศึกษาวิจัย
และการพัฒนานโยบาย เป็นต้น
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ไม่มี
13
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
ขั้นตอนที่ 5 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ
ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯลฯ อย่างใดอย่าง
หนึ่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น
หนังสือ Intranet นาความรู้ไปต่อยอดความรู้ เช่น การ
พัฒนามาตรฐานงาน การจัดทาคู่มือแนวทางการศึกษาวิจัย
การพัฒนานโยบาย เป็นต้น และเป็นต้นแบบการเรียนรู้ใน
ระดับจังหวัด
4. การบูรณาการ
4.1 แผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แบบบูรณาการ
(บูรณาการ Service
Plan/Prevention
& Promotion และ
แผนอื่นๆที่
เกี่ยวข้อง)
5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน แผนพัฒนาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบบบูรณาการกับแผนต่างๆ
(สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ นโยบาย แผน
ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวีถีชีวิตไทย ตามข้อ 1.3) ได้แก่
1. แผนพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุข
2. แผนพัฒนาการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรค หรือ
แผนพัฒนาสุขภาพตลอดช่วงชีวิต (ทุกกลุ่มวัย)
3. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขา
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคเบาหวาน/ โรคความดันโลหิตสูง/
โรคหลอดเลือดหัวใจ/ โรคหลอดเลือดสมอง)
4. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขา
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาขาหัวใจ/ ไต/ ตา)
5. แผนพัฒนาอื่นๆ ในและนอกภาคส่วนสาธารณสุข ที่
เกี่ยวข้อง อาทิ แผนท้องถิ่น เอกชน ภาคประชาสังคม และ
ภาคประชาชนที่เกี่ยวข้อง
มีแผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัด ที่
บูรณาการ
Service Plan
/ Prevention
& Promotion
(สาขา NCD
และสาขา
อื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง)
และแผน
พัฒนาอื่นๆ
นอกภาคส่วน
สาธารณสุข
มีแผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
ระดับจังหวัด
ที่บูรณาการ
Service
Plan/
Prevention &
Promotion
(สาขา NCD
และสาขา
อื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง)
มีแผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
ระดับจังหวัด
ที่บูรณาการ
Service Plan /
Prevention &
Promotion
(สาขา NCD) 4
โรคที่เชื่อมโยง
กัน และ
เชื่อมโยงกับ
Prevention &
Promotion
ด้วย
มีแผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัดที่บูรณา
การ
มีแผนพัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัดแต่ไม่
บูรณาการ
ไม่มี
14
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
นิยามปฏิบัติการ
1. บูรณาการ (Integration) หมายถึง บูรณาการ 4 โรค
ได้แก่ โรคเบาหวาน/ โรคความดันโลหิตสูง/ โรคหลอด
เลือดหัวใจ/ โรคหลอดเลือดสมอง โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน
ร่วมกันทั้ง ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ
บูรณาการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย
1. ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย
2. 4 กลุ่มโรค 4 มิติ
3. 4 กลุ่มเป้าหมาย (ปกติ เสี่ยง ป่วย และแทรกซ้อน)
4.2 ทรัพยากร
(คน เงิน
เทคโนโลยี)
ภายในจังหวัด
(ใน/นอกกระทรวง
สาธารณสุข)
5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน การบูรณาการทรัพยากรทั้งที่บรรจุไว้ในแผนและการใช้
ทรัพยากรร่วมกันในการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับ
จังหวัด
1. ทรัพยากร 3 ประเภท
1.1 งบประมาณ หมายถึง งบประมาณที่เป็นตัวเงินหรือ
วงเงินที่ได้รับจัดสรรหรือที่ใช้จริงในการดาเนินงานตาม
แผนงาน/โครงการ
1.2 กาลังคน หมายถึง กาลังคนทางด้านการแพทย์
สาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง
1.3 เทคโนโลยี หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์
และสาธารณสุข องค์ความรู้ และนวตกรรม ที่เกี่ยวข้องใน
การดาเนินงานและการวิจัยพัฒนา
2. ภาคส่วน/หน่วยงาน 3 ประเภท
2.1 กระทรวงสาธารณสุข
2.2 ภาคส่วนสาธารณสุข หมายถึง หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงสาธาณสุขทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และ
หน่วยงานที่บทบาทการพัฒนาทางด้านสุขภาพโดยตรง อาทิ
สปสช. ฯลฯ เป็นต้น
2.3 นอกภาคส่วนสาธารณสุข หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ
มีแผนและ
ดาเนินงาน
พัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัด
ที่บูรณาการ
งบประมาณ
กาลังคน
เทคโนโลยี
ร่วมกันทั้ง
ในกระทรวง
สาธารณสุข
ภาคส่วน
สาธารณสุข
และนอก
ภาค
สาธารณสุข
มีแผนและ
ดาเนินงาน
พัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง ระดับ
จังหวัด
ที่บูรณาการ
งบประมาณ
กาลังคน
เทคโนโลยี
ร่วมกัน
ระหว่าง
กระทรวง
และภาค
ส่วน
สาธารณสุข
มีแผนและ
ดาเนินงาน
พัฒนา
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
ระดับจังหวัด
ที่บูรณาการ
งบประมาณ
กาลังคนและ
เทคโนโลยี
ร่วมกัน
เฉพาะ
กระทรวง
สาธารณสุข
มีแผนและ
ดาเนินงาน
พัฒนา โรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
ระดับจังหวัด
ที่บูรณาการ
งบประมาณ
กาลังคนหรือ
เทคโนโลยี
ร่วมกัน
เฉพาะ
กระทรวง
สาธารณสุข
มีแผนและ
ดาเนินงาน
พัฒนาโรค
ไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
ระดับ
จังหวัด
ที่บูรณาการ
งบประมาณ
ร่วมกัน
เฉพาะ
กระทรวง
สาธารณสุข
ไม่มี
15
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
เอกชน องค์การเอกชนสาธารณประโยชน์ ชุมชน ท้องถิ่น ภาค
ประชาสังคม และภาคประชาชนที่มีบทบาทร่วมและสนับสนุนการ
พัฒนาทางด้านสุขภาพ
4.3 บูรณาการข้อมูล
สารสนเทศ
(แหล่งข้อมูล
หลากหลายที่
เกี่ยวข้อง)
5 บูรณาการสารสนเทศเพื่อวางแผนกากับ ติดตาม (5 คะแนน) การใช้ข้อมูลสารสนเทศที่จาเป็นครอบคลุมหลากหลายที่เกี่ยวข้อง
ในการวางแผนพัฒนางานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ติดตาม กากับ และ
ประเมินผลจากแหล่งข้อมูลดังนี้
1. ศูนย์ข้อมูลกลางโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เกี่ยวกับ service,
พฤติกรรมเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง โดยใช้ Data Center จังหวัด
2. ข้อมูลจากแหล่งอื่นในภาคส่วนสาธารณสุข จากการสารวจ
วิจัย และรายงานของหน่วยงานภาคส่วนสาธารณสุข อาทิ
2.1 การสารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการ
บาดเจ็บ (BRFSS)
2.2 การสารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดย
การตรวจร่างกาย (NHES)
2.3 การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ
ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ข้อมูล MedResNet
2.4 การสารวจปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของ
ประชากรไทย เป็นต้น
3 ข้อมูลจากแหล่งอื่นนอกภาคส่วนสาธารณสุข จากการสารวจ
วิจัย และรายงานของหน่วยงานภาคส่วนอื่นๆ อาทิ
3.1 การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน
3.2 การสารวจประชากร
3.3 การสารวจอนามัยสวัสดิการ พฤติกรรมการบริโภค
อาหาร และการออกกาลังกายของประชากร
3.4 การสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการดื่มสุราของ
ประชากร เป็นต้น
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
ใช้ข้อมูล
สารสนเทศ
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
นอกเหนือ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ
ประเมินผล
และใช้ใน
การวางแผน
ในอนาคต
ใช้ข้อมูล
สารสนเทศ
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังนอก
เหนือจาก
Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ
ประเมินผล
และทบทวน
แผนฯ
ใช้ข้อมูล
สารสนเทศ
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
นอกเหนือ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ
ประเมินผล
ใช้ข้อมูล
สารสนเทศ
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
นอกเหนือ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ
ใช้ข้อมูล
สารสนเทศ
โรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง
นอกเหนือ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ไม่มี
16
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
การติดตาม หมายถึง การควบคุมกากับงานให้เป็นไปตาม
นโยบาย และแผนงาน/โครงการที่กาหนด
การประเมินผล หมายถึง การตัดสินคุณค่าในสิ่งที่มุ่งประเมิน
จะต้องประกอบด้วยเกณฑ์ และตัวชี้วัด
การติดตามและประเมินผล เป็นลักษณะกิจกรรมที่ต่อเนื่อง ถ้า
การติดตามงานนั้นมีเกณฑ์ และตัวชี้วัดที่กาหนด ลักษณะการ
ติดตามนั้นเป็นการประเมินความก้าวหน้าของงาน ซึ่งถือว่าการ
ติดตามลักษณะนี้ เป็นการประเมินผลประเภทหนึ่ง
4.4 กระบวนการทางาน
ที่เชื่อมโยง
5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน กระบวนการทางานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด ที่เชื่อมโยง
เป็นระบบทั้งการวางแผนการดาเนินงานใช้ทรัพยากรร่วมกัน
รวมทั้งการใช้ข้อมูลในการวางแผน ติดตามกากับและประเมินผล
อย่างครบวงจรจากข้อ
4.1 แผนพัฒนากระทรวงสาธารณสุข
4.2 งบประมาณเฉพาะภาคส่วนสาธารณสุข
4.3 ข้อมูลสารสนเทศจาก Data Center จังหวัด ในการวางแผน
ในส่วนของกระทรวงสาธารณสุข/ ภาคส่วนสาธารณสุข/ และ
นอกภาคส่วนสาธารณสุข
มีกระบวนการ
ทางานที่
เชื่อมโยง
ภายใต้แผน
พัฒนาโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง
ระดับจังหวัดที่
บูรณาการ
สอดคล้องกับ
4.1แผนพัฒนา
กระทรวง
สาธารณสุข
PP, SP สาขา
NCD และ
สาขาอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องและ
แผนพัฒนา
มีกระบวน
การทางานที่
เชื่อมโยง
ภายใต้แผน
พัฒนาโรค
ไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัดที่
บูรณาการ
สอดคล้อง
กับ 4.1
(แผนพัฒนา
กระทรวง
สาธารณสุข
PP, SP
สาขา NCD
และสาขา
มีกระบวน
การทางานที่
เชื่อมโยง
ภายใต้แผน
พัฒนาโรค
ไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัดที่
บูรณาการ
สอดคล้อง
กับ 4.1
(แผนพัฒนา
กระทรวง
สาธารณสุข
PP, SP
สาขา NCDs
และสาขา
มีกระบวน
การทางานที่
เชื่อมโยง
ภายใต้แผน
พัฒนาโรค
ไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัดที่
บูรณาการ
สอดคล้อง
กับ 4.1
(แผนพัฒนา
กระทรวง
สาธารณสุข
PP, SP
สาขา
NCDs),
มีกระบวน
การทางานที่
เชื่อมโยง
ภายใต้แผน
พัฒนาโรค
ไม่ติดต่อ
เรื้อรังระดับ
จังหวัด
ที่บูรณาการ
สอดคล้อง
กับ 4.1
(แผนพัฒนา
กระทรวง
สาธารณสุข
4.2 (งบ
ประมาณ
เฉพาะภาค
ไม่มี
กระบวน
การ
ทางานที่
เชื่อม
โยง
17
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
อื่นๆ นอกภาค
ส่วน
สาธารณสุข),
4.2 (งบ
ประมาณ
กาลังคน/
เทคโนโลยี/ทั้ง
ในภาคส่วน
สาธารณสุข
และนอกภาค
ส่วนสาธารณ
สุข), 4.3
(ข้อมูล
สารสนเทศ
จาก Data
Center
จังหวัด และ
แหล่งอื่นๆ
ในการ
วางแผน
ติดตามกากับ
ประเมินผล
และใช้ในการ
วางแผน
ในอนาคต)
อื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง
และแผน
พัฒนาอื่นๆ
นอกภาค
ส่วน
สาธารณสุข)
4.2 (งบ
ประมาณ
กาลังคน/
เทคโนโลยี/
เฉพาะภาค
ส่วน
สาธารณสุข)
4.3 (ข้อมูล
สารสนเทศ
จาก Data
Center
จังหวัด และ
แหล่งอื่นๆ
ในการ
วางแผน
ติดตาม
กากับ
ประเมินผล)
และทบทวน
แผนฯ
อื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง)
4.2(กาลังคน
/เทคโนโลยี
เฉพาะภาค
ส่วน
สาธารณสุข)
4.3 (ข้อมูล
สารสนเทศ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ
ประเมินผล)
4.2 (กาลัง
คนเฉพาะ
ภาคส่วน
สาธารณสุข)
4.3 (ข้อมูล
สารสนเทศ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวางแผน
ติดตาม
กากับ)
ส่วน
สาธารณสุข
สาธารณสุข)
4.3 (ข้อมูล
สารสนเทศ
จาก Data
Center
จังหวัด ใน
การวาง
แผน)
18
5. การติดตามประเมินผล
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
5.1 ระบบและกลไกการ
นิเทศ กากับ ติดตาม
ประเมินผล และ
รายงานผลงาน อย่าง
ต่อเนื่อง สม่าเสมอ
4 5.1 ระบบและกลไกการนิเทศ กากับติดตาม ประเมินผลและรายงานผลงานอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ
(4 คะแนน)
เป้าหมาย ควรมีการกากับติดตาม
(Monitor) เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
โดยจังหวัดควรเป็น external audit ของ
จังหวัด และประเมินอย่างมีส่วนร่วมระดับ
เสริมพลัง (Empowerment)
4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
มีเครื่องมือ
ประเมิน self
assessment
ระดับจังหวัด มี
การประเมิน
ตนเองอย่างมีส่วน
ร่วม และมีการลง
พื้นที่ประเมินครบ
ทุกอาเภอ
มีเครื่องมือประเมิน
self assessment
ระดับจังหวัด มีการ
ประเมินตนเองอย่าง
มีส่วนร่วม และมี
การลงพื้นที่ประเมิน
บางอาเภอ
มีเครื่องมือประเมิน
self assessment
ระดับจังหวัด และมี
การประเมินตนเอง
อย่างมีส่วนร่วม
มีเครื่องมือประเมิน
self assessment
ไม่มีกลไกนิเทศ
ติดตาม
ประเมินผล
5.2 ผลงานตามเป้าหมาย
หลักของแผน
ยุทธศาสตร์
สานักงานบริหาร
ยุทธศาสตร์สุขภาพดี
วิถีชีวิตไทย
6 5.2.1 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่แสดงข้อมูล 4 ลด ได้ครอบคลุมทั้ง
4 โรค (4 คะแนน)
เอกสารแสดงกราฟ/ตารางข้อมูลผลการ
ดาเนินงาน 4 ลด ได้แก่
1. ลดเสี่ยง
2. ลดป่วย
3. ลดภาวะแทรกซ้อน
4. ลดตาย ของทั้ง 4 โรค
4.1 โรคเบาหวาน
4.2 โรคความดันโลหิตสูง
4.3 โรคหลอดเลือดหัวใจ
4.4 โรคหลอดเลือดสมอง
4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
อัตราป่วยรายใหม่
ทั้ง 4 โรค และ
ภาวะแทรกซ้อน
ในผู้ป่วยเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ลดลง
มีผลการดาเนินงาน
4 โรค ได้แก่
โรคเบาหวาน โรค
ความดันโลหิตสูง
โรคหลอดเลือดหัวใจ
และโรคหลอดเลือด
สมอง และอัตรา
ป่วยรายใหม่
เบาหวานหรือความ
ดันโลหิตสูงลดลง
มีข้อมูลแสดงผลการ
ดาเนินงาน 4 โรค
ได้แก่ โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิต
สูง และโรคหลอด
เลือดหัวใจ และ
โรคหลอดเลือด
สมอง
มีข้อมูลแสดงผลการ
ดาเนินงานเฉพาะ
โรคเบาหวานและ
ความดันโลหิตสูง
ไม่มีข้อมูล
แสดงผลการ
ดาเนินงาน
19
ประเด็นการประเมิน
คะแนน
เต็ม
เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน
5.2.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่แสดงข้อมูลได้ครอบคลุมใน
ประเด็น 2 เพิ่ม ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม และการออกกาลังกายที่เพียงพอ (ค่า BMI
และรอบเอว ในกลุ่มประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป) (2 คะแนน)
ผลลัพธ์วัดจากค่า : รอบเอวและค่า BMI
หลักฐานแสดงสัดส่วนค่าวัดรอบเอว และค่า
BMI เทียบกับรอบปีที่ผ่านมา (ในกลุ่ม
ประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป)2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
สัดส่วนของผู้มีค่ารอบเอว และ/
หรือ BMI เกินเกณฑ์มาตรฐาน
ลดลง
สัดส่วนของผู้มีค่ารอบเอว และ/
หรือ BMI
ไม่มีข้อมูล

Contenu connexe

Tendances

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
jinchuta7
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
Tanomsak Toyoung
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
Jariya Jaiyot
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
weerawatkatsiri
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
techno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
kroonoi06
 

Tendances (20)

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึงแหล่งข้อมูลหมายถึง
แหล่งข้อมูลหมายถึง
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 

En vedette

Garwood Underwriters Roundtable
Garwood Underwriters RoundtableGarwood Underwriters Roundtable
Garwood Underwriters Roundtable
Rita Garwood
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 

En vedette (14)

Saia
SaiaSaia
Saia
 
รายงานความก้าวหน้า Sp ไตเสนอใน sp km sharing 10 กย 58 sb
รายงานความก้าวหน้า Sp ไตเสนอใน sp km sharing 10 กย 58 sbรายงานความก้าวหน้า Sp ไตเสนอใน sp km sharing 10 กย 58 sb
รายงานความก้าวหน้า Sp ไตเสนอใน sp km sharing 10 กย 58 sb
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
 
10 Portuguese Words You Shouldn't Live Without
10 Portuguese Words You Shouldn't Live Without10 Portuguese Words You Shouldn't Live Without
10 Portuguese Words You Shouldn't Live Without
 
Educacao Fisica Escolar
Educacao Fisica EscolarEducacao Fisica Escolar
Educacao Fisica Escolar
 
Grammar-Translation Method
Grammar-Translation MethodGrammar-Translation Method
Grammar-Translation Method
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
Scrotum imaging
Scrotum imagingScrotum imaging
Scrotum imaging
 
Traffic light system
Traffic light systemTraffic light system
Traffic light system
 
Tech Talk with Simpli.fi: Visible Data, Visible Results950 simplifi
Tech Talk with Simpli.fi: Visible Data, Visible Results950 simplifiTech Talk with Simpli.fi: Visible Data, Visible Results950 simplifi
Tech Talk with Simpli.fi: Visible Data, Visible Results950 simplifi
 
Garwood Underwriters Roundtable
Garwood Underwriters RoundtableGarwood Underwriters Roundtable
Garwood Underwriters Roundtable
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
The Infinite Dial 2017
The Infinite Dial 2017The Infinite Dial 2017
The Infinite Dial 2017
 

แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด

  • 1. การประเมินการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด 4 โรคสาคัญ ได้แก่ โรค เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ. 2554 - 2563 ประกอบด้วยการดาเนินงานใน 5 เรื่อง ดังนี้ 1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน 2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร 3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม 4. การบูรณาการ 5. การติดตามประเมินผล แบบประเมินนี้ใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด โดยแบ่งเป็นส่วน การให้คะแนนการประเมิน และคาอธิบายเกณฑ์การประเมินเพื่อใช้ในการให้คะแนนการประเมิน ทั้งนี้ แบบ ประเมินนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทางสานักงานสาธารณสุขจังหวัดใช้ประเมินตนเอง ว่าได้ดาเนินการขับเคลื่อนงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของจังหวัดตน ไปถึงระดับใด จะต้องทาอะไรต่อ และใช้เปรียบเทียบกับหน่วยงานต่างๆ ในระดับ เดียวกันถึงสถานการณ์การดาเนินงาน แบบประเมินนี้ มุ่งหวังในเชิงพัฒนาระบบงานภายใต้การดาเนินการใน 5 เรื่องดังกล่าว เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับจังหวัดให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการและการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต่อไป (ท่านสามารถ Downloade แบบประเมินนี้ได้ที่ www ………… ……………………….) แบบประเมิน การขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับจังหวัด สานักงานสาธารณสุขจังหวัด..................................
  • 2. 2 แบบประเมินการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม คะแนนที่ ได้ 1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน 30 1.1 คาสั่งคณะกรรมการ/คณะทางานดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับจังหวัด 4 1.2 กลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบ บริการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 6 1.2.1 การประชุม (2) 1.2.2 รายงานการประชุม (2) 1.2.3 คุณภาพของรายงานการประชุม (2) 1.3 นโยบาย แผน และ การจัดสรรทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อแก้ปัญหาโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง 10 1.3.1 นโยบายและแผน (4) 1.3.2 การจัดสรรทรัพยากร (6) 1.4 ผู้จัดการระบบ (System Manager : SM) / ผู้จัดการรายกรณี (Case Manager : CM) และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 10 1.4.1 System Manager (5) 1.4.2 Case Manager และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงาน NCDs (5) 2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร 25 2.1 ศูนย์ข้อมูลกลางที่สนับสนุนการตัดสินในของผู้บริหาร 10 2.1.1 มีศูนย์ข้อมูลกลางระดับจังหวัด (2) 2.1.2 ครอบคลุม (2) 2.1.3 ครบถ้วน 4 โรค (2) 2.1.4 ทันสมัย (2) 2.1.5 เข้าถึง (2) 2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ และการนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 15 2.2.1 ข้อมูลที่ช้ในการวิเคราะห์ (5) 2.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (5) 2.2.3 การใช้ประโยชน์ (5) 3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงานและนวตกรรม 15 3.1 แนวทางการดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการสร้าง สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย และถ่ายทอด ผลักดันอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง 5 3.2 แนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค NCDs ครอบคลุมการ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภคที่นาไปใช้ เป็นแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด 5
  • 3. 3 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม คะแนนที่ ได้ 3.3 กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ โรค NCDs ครอบคลุม การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อ พัฒนานวัตกรรม ต่อยอดและขยายผลอย่างเป็นระบบ 5 4. การบูรณาการ 20 4.1 บูรณาการแผน Service Plan / Prevention & Promotion และแผนอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง 5 4.2 บูรณาการทรัพยากร (คน เงิน เทคโนโลยี) ภายในจังหวัด/นอกจังหวัด 5 4.3 บูรณาการข้อมูล สารสนเทศ (แหล่งข้อมูลหลากหลายที่เกี่ยวข้อง) 5 4.4 บูรณาการกระบวนการทางานที่เชื่อมโยงเป็นรูปธรรม 5 5. การติดตามประเมินผล 10 5.1 ระบบและกลไกการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลงาน อย่าง ต่อเนื่อง สม่าเสมอ 4 5.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 6 5.2.1 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่ แสดงข้อมูล 4 ลด ได้ครอบคลุมทั้ง 4 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และหลอดเลือดหัวใจ (4) 5.2.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่ แสดงข้อมูลได้ครอบคลุมในประเด็น 2 เพิ่ม ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคที่ เหมาะสม และการออกกาลังกายที่เพียงพอ (ค่า BMI และรอบเอว กลุ่ม ประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป) (2) คะแนนรวม ทั้ง 5 ประเด็น 100 ผลการประเมิน อยู่ในระดับ ( ) ดีเยี่ยม ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง เกณฑ์คะแนนการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด แบ่งเป็น 4 ระดับคือ 1. ดีเยี่ยม คะแนน 90 – 100 คะแนน 2. ดี คะแนน 80 – 89 คะแนน 3. พอใช้ คะแนน 60 – 79 คะแนน 4. ควรปรับปรุง คะแนน น้อยกว่า 60 คะแนน คณะผู้ประเมิน 1....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................ 2....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................ 3....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................ 4....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................ 5....................................................................................ตาแหน่ง................................................................................ วัน เดือน ปีที่ประเมิน......................................................
  • 4. 4 คาอธิบายเกณฑ์การประเมิน และการให้คะแนนในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด 1. การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทางาน ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม คาอธิบาย/เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 1.1 คาสั่ง คณะกรรมการ/ คณะทางาน ดาเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง 4 มีคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ออานวยการส่งเสริมสุขภาวะ ประชาชนเพื่อการดาเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในระดับจังหวัด (4 คะแนน) คาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่กาหนดบทบาทหน้าที่ ผู้รับผิดชอบงาน และกิจกรรมการส่งเสริม ป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีคณะกรรมการของ หน่วยงานสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท.ฯ และองค์กร ภาคเอกชน เช่น สถาน ประกอบการ มีคณะกรรมการของ หน่วยงานสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. ฯ มีคณะกรรมการ เฉพาะหน่วยงาน สาธารณสุขอย่างเดียว ไม่มีคณะกรรมการ 1.2 กลไกการ ขับเคลื่อนการ ดาเนินงานการ พัฒนาระบบ บริหารจัดการ และระบบบริการ สร้างสุขภาพดีวิถี ชีวิตไทย 6 1.2.1 การประชุมของคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2 คะแนน) รายงานการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย 1. วาระประชุม 2. รายงานการประชุมที่ผ่านมา ที่ระบุวัน เวลา และสถานที่ประชุม 3. มติและข้อเสนอแนะจากการประชุม 4. เนื้อหาการประชุมต้องประกอบด้วย 4 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคดันโลหิตสูง โรคหลอด เลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือการ บริหารจัดการด้าน Service Plan และ Prevention Plan 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีการประชุมคณะกรรมการ ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทุกไตรมาส มีการประชุมคณะกรรมการ ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่ครบทุกไตรมาส ไม่มีการประชุม 1.2.2 รายงานการประชุมของคณะกรรมการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีรายงานการประชุม มีมติการ ประชุม และข้อเสนอแนะ มีรายงานการประชุม และมีมติ การประชุม ไม่มี รายงานการประชุม 1.2.3 คุณภาพของรายงานการประชุม (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร และ มีข้อสั่งการ มีข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร ไม่มีข้อเสนอแนะ ต่อผู้บริหาร
  • 5. 5 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 1.3 นโยบาย แผนและ การจัดสรร ทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพื่อ แก้ปัญหาโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง 10 1.3.1 นโยบายและแผน (4 คะแนน) 1 คะแนน คือ นโยบายการดาเนินงาน ระดับประเทศ กระทรวง และจังหวัด มีความ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน 2 คะแนน คือ มีแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด หรือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของจังหวัด ที่ สอดคล้องกับนโยบาย และปัญหาพื้นที่ และ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 นโยบายสาธารณะสร้างสุข ยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนทางสังคมและ สื่อสารสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและ การจัดการโรค ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์ 3 คะแนน คือ มี การถ่ายทอดนโยบายและ แผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ เช่น ประชุม สัมมนา หนังสือ Cofrence เป็นต้น) และแผนใน รูปแบบต่างๆ 4 คะแนน คือ มีแผนปฏิบัติการ หรือโครงการ ระดับจังหวัด ที่มีวัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินงาน งบประมาณ กิจกรรม ระยะเวลาผู้รับผิดชอบ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีแผนปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์และ กาหนดกิจกรรม ที่ปฏิบัตได้นาไปสู่ การแก้ปัญหาที่ ชัดเจน มีการถ่ายทอด นโยบายและ แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ มีแผนยุทธศาสตร์ ที่สอดคล้องกับ นโยบาย และ ปัญหาพื้นที่ นโยบายมีความ สอดคล้องกับระดับ ประเทศ (ยุทธ ศาสตร์สุขภาพดีวิถี ชีวิตไทย) กระทรวง และเขตสุขภาพ ไม่มี
  • 6. 6 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 1.3.2 การจัดสรรทรัพยากร (6 คะแนน) 1 คะแนน คือ จังหวัด มีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อแก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2 คะแนน คือ มีงบประมาณที่นามาสบทบ เพิ่มเติมในระดับจังหวัด เช่น สปสช. จังหวัด/ สสส./ และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการ ดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3 คะแนน คือ มีการจัดสรรงบประมาณตามแผน หมายถึง จานวนเงินที่ได้รับการจัดสรรจาก จังหวัด กับกิจกรรมดาเนินการตามแผนงาน/ โครงการ มีความเหมาะสมโดยพิจารณาจาก ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรม และสามารถ ทาให้กิจกรรมนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ 4 คะแนน คือ มีรายงานการเบิกจ่ายเป็นไปตาม แผนที่กาหนด 5 คะแนน คือ มีการทบทวนแผนการจัดสรร ทรัพยากร 6 คะแนน คือ มีแผนจัดสรรทรัพยากรบูรณา การร่วมกันในจังหวัด เช่น แผนจัดซื้อวัสดุ/ อุปกรณ์ แผนการจัดสรรแพทย์เฉพาะทาง หมุนเวียนในจังหวัด แผนการจัดสรร Fundus Camera เป็นต้น 6 คะแนน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีการ จัดสรร งบประมาณ ตามแผน และมีการ เบิกจ่าย สอดคล้อง ตามแผน และมีการ ทบทวน แผนจัดสรร ทรัพยากร ร่วมกันใน จังหวัด มีการจัดสรร งบประมาณ ตามแผน และมีการ เบิกจ่าย สอดคล้อง ตามแผน และมีการ ทบทวน แผนจัดสรร ทรัพยากร มีการจัดสรร งบประมาณ ตามแผน และมีการ เบิกจ่าย สอดคล้อง ตามแผน มีการจัด สรรงบ ประมาณ ตามแผน มีงบ ประมาณ สมทบจาก หน่วยงาน อื่น ๆ มีการจัดสรร งบประมาณ ให้กับแผน โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ไม่มี 1.4ผู้จัดการระบบ (System Manager : SM) / ผู้จัดการราย กรณี (Case Manager : CM) และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับงานโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง 10 1.4.1 System Manager (5 คะแนน) 1.รายชื่อ SM 2. แผนพัฒนา SM หมายเหตุ SM อาจไม่จาเป็นต้องจบหลักสูตรของ สปสช. แต่มีบทบาทหน้าที่เป็น SM 5 คะแนน 3 คะแนน 0 คะแนน มี CM ครบทุกอาเภอ มี SM ระดับ จังหวัด และมีแผนพัฒนา SM ของ จังหวัด มี SM ระดับจังหวัด ไม่มี SM ระดับจังหวัด
  • 7. 7 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 1.4.2 Case Manager และ Mini CM (5 คะแนน) 1.รายชื่อ CM / Mini CM 2. แผนพัฒนา CM / Mini CM5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน มี CM ครบทุกอาเภอและ หน่วยบริการในระดับอาเภอ ขึ้นไป และมี Mini CM ครบ ทุก รพ.สต. พร้อมมีแผน พัฒนา CM / Mini CM มี CM ครบทุกอาเภอและ หน่วยบริการในระดับ อาเภอขึ้นไป และ มี Mini CM ไม่ครบทุก รพ.สต. มี CM ครบทุกอาเภอ และหน่วยบริการใน ระดับอาเภอขึ้นไป มี CM ไม่ครบทุกอาเภอ และหน่วยบริการใน ระดับอาเภอขึ้นไป 2. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร 2.1 ศูนย์ข้อมูลกลางที่ สนับสนุนการตัดสิน ในของผู้บริหาร 10 2.1.1 มีศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับจังหวัด (2 คะแนน) 1. ศูนย์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับจังหวัด คือ ระบบข้อมูลที่สามารถนาเสนอสารสนเทศ ให้ผู้บริหารเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ 2. ความครอบคลุม หมายถึง 2.1) ข้อมูล 4 โรคสาคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมอง และหลอด เลือดหัวใจ 2.2) ข้อมูล 4 ระบบงาน ได้แก่ การคัดกรอง การส่งเสริมสุขภาพลดความเสี่ยง การเฝ้าระวัง และจัดการโรค การพัฒนาระบบบริการ 3. ครบถ้วน มีข้อมูลตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ครบทั้ง 4 โรค 4. ทันสมัย หมายถึง ข้อมูลพร้อมใช้งานเป็น ปัจจุบัน อย่างน้อยมีการนาเข้าข้อมูลจาก อาเภอไม่ช้ากว่า 1 เดือน 5. เข้าถึง หมายถึง มีการวางระบบการเข้าถึง ข้อมูล และมีการสะท้อนข้อมูลสู่ระดับอาเภอ 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีใช้ระบบ IT ใช้ระบบ Mannual ไม่มี 2.1.2 ครอบคลุม (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีข้อมูล 4 โรคสาคัญ และ 4 ระบบงาน มีข้อมูล 4 โรคสาคัญ หรือ 4 ระบบงาน ไม่มี 2.1.3 ครบถ้วน 4 โรค (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน ครบ 4 โรค ไม่ครบทุกโรค ไม่มี 2.1.4 ทันสมัย (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน ทันสมัยครบทุกอาเภอ ทันสมัยไม่ครบทุกอาเภอ ไม่มี 2.1.5 เข้าถึง (2 คะแนน) 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน เข้าถึงได้ครบทุกอาเภอ เข้าถึงได้ไม่ครบทุกอาเภอ ไม่มี
  • 8. 8 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ และ การนาข้อมูลไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ 15 2.2.1 ข้อมูลที่ช้ในการวิเคราะห์ (5 คะแนน) 1. ข้อมูล 4 โรคสาคัญ ได้แก่ 1.1) โรคเบาหวาน 1.2) โรคความดันโลหิตสูง 1.3) โรคหลอดเลือดสมอง 1.4) โรคหลอดเลือดหัวใจ 2. พฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ 2.1) การสูบบุหรี่ 2.2) ดื่มสุรา 2.3) อาหาร 2.4) ออกกาลังกาย 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีข้อมูลการ คัดกรอง การ ป่วย การตาย พฤติกรรม เสี่ยงครบทุก โรคและมี ข้อมูลจาก แหล่งอื่นๆ มีข้อมูลการ คัดกรอง การ ป่วย การตาย และพฤติกรรม เสี่ยงครบทุก โรค มีข้อมูลการ คัดกรอง การ ป่วย การตาย ครบทุกโรค มีข้อมูลการ คัดกรอง และ การป่วยครบ ทุกโรค มีข้อมูลการ คัดกรอง และการป่วย ไม่ครบทุกโรค ไม่มี 2.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (5 คะแนน) 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีการวิเคราะห์ สถานการณ์ และแนวโน้ม ตามลักษณะ บุคคล สถานที่ และเวลา ครบทุกโรค มีการวิเคราะห์ สถานการณ์ และแนวโน้ม ตามลักษณะ บุคคล สถานที่ และเวลา ไม่ครบทุกโรค มีการวิเคราะห์ สถานการณ์ และแนวโน้ม ป่วย/ตาย ครบทุกโรค และทุกพฤติ กรรมเสี่ยง มีการวิเคราะห์ สถานการณ์ และแนวโน้ม ป่วย/ตาย ครบ ทุกโรคและมี การวิเคราะห์ พฤติกรรมเสี่ยง มีการ วิเคราะห์ สถานการณ์ และแนวโน้ม ป่วย/ตายไม่ ครบทุกโรค ไม่มี 2.2.3 การใช้ประโยชน์ (5 คะแนน) 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีการ ประเมินผล การดาเนินงาน ตามแผน มีการนาข้อมูล ไปใช้เพื่อการ ติดตาม กากับผลการ ดาเนินงาน ตามแผน ใช้สถานการณ์ แนวโน้มตาม ลักษณะบุคคล สถานที่ และ เวลาในการ วางแผน ใช้สถานการณ์ ป่วย/ตาย และ พฤติกรรมเสี่ยง ในการวางแผน ใช้สถานการณ์ ป่วย/ตาย ในการ วางแผน ไม่มี
  • 9. 9 3. การพัฒนากระบวนการดาเนินงาน ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 3.1 แนวทางการ ดาเนินการพัฒนา ระบบบริหารจัดการ และระบบบริการ สร้างสุขภาพดีวิถี ชีวิตไทย และ ถ่ายทอด และ ผลักดันอย่างเป็น ระบบต่อเนื่อง 5 แนวทางการดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย และถ่ายทอด/ ผลักดันอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง (5 คะแนน) ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 นโยบายสาธารณะสร้างสุข เป้าหมาย 1. มีนโยบายสาธารณะ ในการควบคุมการบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ 2. มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการผลิตและการบริโภค โภคอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลดีต่อ สุขภาพ 3. มีนโยบายส่งเสริมการออกกาลังกายและกิจกรรมทาง กายและใจ 4. มีนโยบายการจัดการน้าหนักสาหรับกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาร สาธารณะ เป้าหมาย 1. ประชาชนและสังคมรับรู้ เข้าใจตระหนักถึงภาวะเสี่ยง การป้องกันโรค แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพและมี ภูมิคุ้มกัน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มี ผลกระทบต่อโรควิถีชีวิต 2. สถาบันภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม มีส่วน ร่วมและเป็นเครือข่ายในการสร้างวิถีชีวิตเพื่อการมี สุขภาพดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชน เป้าหมาย 1. ชุมชนท้องถิ่น และองค์กร รับรู้ เข้าใจ ตระหนัก สามารถดูแลและจัดการเกี่ยวกับสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย และสุขภาวะ 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีกิจกรรม และผลลัพธ์ การดาเนิน งานสอด คล้องปัญหา พื้นที่ครบ 5 ยุทธศาสตร์ มีกิจกรรมและ ผลลัพธ์การ ดาเนินงาน สอดคล้อง ปัญหาพื้นที่ อย่างน้อย 4 ยุทธศาสตร์ มีกิจกรรมและ ผลลัพธ์การ ดาเนินงาน สอดคล้อง ปัญหาพื้นที่ อย่างน้อย 3 ยุทธศาสตร์ มีกิจกรรมและ ผลลัพธ์การ ดาเนินงาน สอดคล้อง ปัญหาพื้นที่ อย่างน้อย 2 ยุทธศาสตร์ มีกิจกรรมและ ผลลัพธ์การ ดาเนินงาน สอดคล้อง ปัญหาพื้นที่ 1 ยุทธศาสตร์ ไม่มี
  • 10. 10 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการ จัดการโรค เป้าหมาย 1. มีระบบเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและโรควิถีชีวิตที่มีคุณภาพ มาตรฐาน โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองที่มีคุณภาพ ครอบคลุม และสามารถจัดการได้ด้วยตนเอง 3. กลุ่มผู้ป่วยมีระบบและมาตรฐานการจัดการโรคและ ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลส่งต่อผู้ป่วยโรควิถีชีวิต แบบบูรณาการแบบองค์รวม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 1. ผู้นาและบุคลากรมีศักยภาพในการบริหารจัดการและ สนับสนุนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ใด้อย่าง เหมาะสม 2. มีองค์กรความรู้ที่สามารถนาไปใช้ในการกาหนด นโยบายสาธารณะ และการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ ได้อย่างเมาะสม 3. มีระบบบริหารจัดการและกลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ 4. มีระบบคุณภาพและการประเมินผลภาพรวมอย่าง บูรณาการ ทั้งนี้ การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการมุ่งเน้น การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์สุขภาพเวิถีชีวิตไทยเป็น แนวทางหลัก
  • 11. 11 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 3.2 แนวทางการ ดาเนินงานและ แนวทางเวชปฏิบัติ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และ คุ้มครองผู้บริโภค ที่นาไปใช้เป็น แนวทางเดียวกันทั้ง จังหวัด 5 มีแนวทางการการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค (5 คะแนน) มีแนวทางการดาเนินงานและแนวทางเวชปฏิบัติโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุม โรค รักษา ฟื้นฟู และ คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด ครอบคลุมหน่วยบริการทุกระดับดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ ระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 2 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ คุ้มครองผู้บริโภค ระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 3 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ คุ้มครองผู้บริโภค ระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัด ขั้นตอนที่ 4 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัดและพบหลักฐานสามารถ นาไปใช้ในหน่วยบริการบางอาเภอในจังหวัด ขั้นตอนที่ 5 มีแนวทาง หรือคู่มือครอบคลุม การส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรค ระบบการรักษา ระบบการส่งต่อ และ คุ้มครองผู้บริโภคระดับจังหวัด มีการกระจายให้คู่มือ นาไปใช้แต่ละอาเภอในจังหวัด และพบหลักฐานสามารถ นาไปใช้ในทุกหน่วยบริการทุกอาเภอในจังหวัด 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ไม่มี
  • 12. 12 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 3.3 กระบวนการ ส่งเสริมและ สนับสนุนการ จัดการความรู้ โรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ครอบคลุมการ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษา ฟื้นฟู และ คุ้มครองผู้บริโภค เพื่อพัฒนา นวัตกรรม ต่อยอด และขยายผลอย่าง เป็นระบบ 5 มีกระบวนการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการความรู้ และงานวิจัย มาตรฐานการ เฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง สู่นโยบายและการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (5 คะแนน) มีกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้ และ งานวิจัย มาตรฐาน การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง สู่นโยบาย และการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7. การเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้และสร้าง กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯ อย่างใดอย่าง หนึ่ง ขั้นตอนที่ 3 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯ อย่างใดอย่าง หนึ่ง และจัดเก็บองค์ความรู้ ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น หนังสือ Intranet ขั้นตอนที่ 4 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯลฯ อย่างใดอย่าง หนึ่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น หนังสือ Intranet และนาความรู้ไปต่อยอดความรู้ เช่น การ พัฒนามาตรฐานงาน การจัดทาคู่มือ/แนวทางการศึกษาวิจัย และการพัฒนานโยบาย เป็นต้น 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ไม่มี
  • 13. 13 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน ขั้นตอนที่ 5 มีการจัดทาแผนการจัดการความรู้สร้าง กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยเครื่องมือทางการจัดการ ความรู้ เช่น CoP/ AAR/ เรื่องเล่าเร้าพลัง ฯลฯ อย่างใดอย่าง หนึ่งจัดเก็บองค์ความรู้ที่สามารถค้นคว้าอ้างอิงได้ เช่น หนังสือ Intranet นาความรู้ไปต่อยอดความรู้ เช่น การ พัฒนามาตรฐานงาน การจัดทาคู่มือแนวทางการศึกษาวิจัย การพัฒนานโยบาย เป็นต้น และเป็นต้นแบบการเรียนรู้ใน ระดับจังหวัด 4. การบูรณาการ 4.1 แผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบบบูรณาการ (บูรณาการ Service Plan/Prevention & Promotion และ แผนอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง) 5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน แผนพัฒนาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบบบูรณาการกับแผนต่างๆ (สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ นโยบาย แผน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวีถีชีวิตไทย ตามข้อ 1.3) ได้แก่ 1. แผนพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุข 2. แผนพัฒนาการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรค หรือ แผนพัฒนาสุขภาพตลอดช่วงชีวิต (ทุกกลุ่มวัย) 3. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขา โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคเบาหวาน/ โรคความดันโลหิตสูง/ โรคหลอดเลือดหัวใจ/ โรคหลอดเลือดสมอง) 4. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขา อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาขาหัวใจ/ ไต/ ตา) 5. แผนพัฒนาอื่นๆ ในและนอกภาคส่วนสาธารณสุข ที่ เกี่ยวข้อง อาทิ แผนท้องถิ่น เอกชน ภาคประชาสังคม และ ภาคประชาชนที่เกี่ยวข้อง มีแผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัด ที่ บูรณาการ Service Plan / Prevention & Promotion (สาขา NCD และสาขา อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง) และแผน พัฒนาอื่นๆ นอกภาคส่วน สาธารณสุข มีแผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่บูรณาการ Service Plan/ Prevention & Promotion (สาขา NCD และสาขา อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง) มีแผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่บูรณาการ Service Plan / Prevention & Promotion (สาขา NCD) 4 โรคที่เชื่อมโยง กัน และ เชื่อมโยงกับ Prevention & Promotion ด้วย มีแผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัดที่บูรณา การ มีแผนพัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัดแต่ไม่ บูรณาการ ไม่มี
  • 14. 14 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน นิยามปฏิบัติการ 1. บูรณาการ (Integration) หมายถึง บูรณาการ 4 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน/ โรคความดันโลหิตสูง/ โรคหลอด เลือดหัวใจ/ โรคหลอดเลือดสมอง โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน ร่วมกันทั้ง ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และส่งต่อ บูรณาการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย 1. ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย 2. 4 กลุ่มโรค 4 มิติ 3. 4 กลุ่มเป้าหมาย (ปกติ เสี่ยง ป่วย และแทรกซ้อน) 4.2 ทรัพยากร (คน เงิน เทคโนโลยี) ภายในจังหวัด (ใน/นอกกระทรวง สาธารณสุข) 5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน การบูรณาการทรัพยากรทั้งที่บรรจุไว้ในแผนและการใช้ ทรัพยากรร่วมกันในการดาเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับ จังหวัด 1. ทรัพยากร 3 ประเภท 1.1 งบประมาณ หมายถึง งบประมาณที่เป็นตัวเงินหรือ วงเงินที่ได้รับจัดสรรหรือที่ใช้จริงในการดาเนินงานตาม แผนงาน/โครงการ 1.2 กาลังคน หมายถึง กาลังคนทางด้านการแพทย์ สาธารณสุข และที่เกี่ยวข้อง 1.3 เทคโนโลยี หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ และสาธารณสุข องค์ความรู้ และนวตกรรม ที่เกี่ยวข้องใน การดาเนินงานและการวิจัยพัฒนา 2. ภาคส่วน/หน่วยงาน 3 ประเภท 2.1 กระทรวงสาธารณสุข 2.2 ภาคส่วนสาธารณสุข หมายถึง หน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธาณสุขทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และ หน่วยงานที่บทบาทการพัฒนาทางด้านสุขภาพโดยตรง อาทิ สปสช. ฯลฯ เป็นต้น 2.3 นอกภาคส่วนสาธารณสุข หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ มีแผนและ ดาเนินงาน พัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัด ที่บูรณาการ งบประมาณ กาลังคน เทคโนโลยี ร่วมกันทั้ง ในกระทรวง สาธารณสุข ภาคส่วน สาธารณสุข และนอก ภาค สาธารณสุข มีแผนและ ดาเนินงาน พัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับ จังหวัด ที่บูรณาการ งบประมาณ กาลังคน เทคโนโลยี ร่วมกัน ระหว่าง กระทรวง และภาค ส่วน สาธารณสุข มีแผนและ ดาเนินงาน พัฒนา โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่บูรณาการ งบประมาณ กาลังคนและ เทคโนโลยี ร่วมกัน เฉพาะ กระทรวง สาธารณสุข มีแผนและ ดาเนินงาน พัฒนา โรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง ระดับจังหวัด ที่บูรณาการ งบประมาณ กาลังคนหรือ เทคโนโลยี ร่วมกัน เฉพาะ กระทรวง สาธารณสุข มีแผนและ ดาเนินงาน พัฒนาโรค ไม่ติดต่อ เรื้อรัง ระดับ จังหวัด ที่บูรณาการ งบประมาณ ร่วมกัน เฉพาะ กระทรวง สาธารณสุข ไม่มี
  • 15. 15 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน เอกชน องค์การเอกชนสาธารณประโยชน์ ชุมชน ท้องถิ่น ภาค ประชาสังคม และภาคประชาชนที่มีบทบาทร่วมและสนับสนุนการ พัฒนาทางด้านสุขภาพ 4.3 บูรณาการข้อมูล สารสนเทศ (แหล่งข้อมูล หลากหลายที่ เกี่ยวข้อง) 5 บูรณาการสารสนเทศเพื่อวางแผนกากับ ติดตาม (5 คะแนน) การใช้ข้อมูลสารสนเทศที่จาเป็นครอบคลุมหลากหลายที่เกี่ยวข้อง ในการวางแผนพัฒนางานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ติดตาม กากับ และ ประเมินผลจากแหล่งข้อมูลดังนี้ 1. ศูนย์ข้อมูลกลางโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เกี่ยวกับ service, พฤติกรรมเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง โดยใช้ Data Center จังหวัด 2. ข้อมูลจากแหล่งอื่นในภาคส่วนสาธารณสุข จากการสารวจ วิจัย และรายงานของหน่วยงานภาคส่วนสาธารณสุข อาทิ 2.1 การสารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการ บาดเจ็บ (BRFSS) 2.2 การสารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดย การตรวจร่างกาย (NHES) 2.3 การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล MedResNet 2.4 การสารวจปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของ ประชากรไทย เป็นต้น 3 ข้อมูลจากแหล่งอื่นนอกภาคส่วนสาธารณสุข จากการสารวจ วิจัย และรายงานของหน่วยงานภาคส่วนอื่นๆ อาทิ 3.1 การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน 3.2 การสารวจประชากร 3.3 การสารวจอนามัยสวัสดิการ พฤติกรรมการบริโภค อาหาร และการออกกาลังกายของประชากร 3.4 การสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการดื่มสุราของ ประชากร เป็นต้น 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน ใช้ข้อมูล สารสนเทศ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง นอกเหนือ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ ประเมินผล และใช้ใน การวางแผน ในอนาคต ใช้ข้อมูล สารสนเทศ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังนอก เหนือจาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ ประเมินผล และทบทวน แผนฯ ใช้ข้อมูล สารสนเทศ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง นอกเหนือ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ ประเมินผล ใช้ข้อมูล สารสนเทศ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง นอกเหนือ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ ใช้ข้อมูล สารสนเทศ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง นอกเหนือ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ไม่มี
  • 16. 16 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน การติดตาม หมายถึง การควบคุมกากับงานให้เป็นไปตาม นโยบาย และแผนงาน/โครงการที่กาหนด การประเมินผล หมายถึง การตัดสินคุณค่าในสิ่งที่มุ่งประเมิน จะต้องประกอบด้วยเกณฑ์ และตัวชี้วัด การติดตามและประเมินผล เป็นลักษณะกิจกรรมที่ต่อเนื่อง ถ้า การติดตามงานนั้นมีเกณฑ์ และตัวชี้วัดที่กาหนด ลักษณะการ ติดตามนั้นเป็นการประเมินความก้าวหน้าของงาน ซึ่งถือว่าการ ติดตามลักษณะนี้ เป็นการประเมินผลประเภทหนึ่ง 4.4 กระบวนการทางาน ที่เชื่อมโยง 5 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน กระบวนการทางานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับจังหวัด ที่เชื่อมโยง เป็นระบบทั้งการวางแผนการดาเนินงานใช้ทรัพยากรร่วมกัน รวมทั้งการใช้ข้อมูลในการวางแผน ติดตามกากับและประเมินผล อย่างครบวงจรจากข้อ 4.1 แผนพัฒนากระทรวงสาธารณสุข 4.2 งบประมาณเฉพาะภาคส่วนสาธารณสุข 4.3 ข้อมูลสารสนเทศจาก Data Center จังหวัด ในการวางแผน ในส่วนของกระทรวงสาธารณสุข/ ภาคส่วนสาธารณสุข/ และ นอกภาคส่วนสาธารณสุข มีกระบวนการ ทางานที่ เชื่อมโยง ภายใต้แผน พัฒนาโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง ระดับจังหวัดที่ บูรณาการ สอดคล้องกับ 4.1แผนพัฒนา กระทรวง สาธารณสุข PP, SP สาขา NCD และ สาขาอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องและ แผนพัฒนา มีกระบวน การทางานที่ เชื่อมโยง ภายใต้แผน พัฒนาโรค ไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัดที่ บูรณาการ สอดคล้อง กับ 4.1 (แผนพัฒนา กระทรวง สาธารณสุข PP, SP สาขา NCD และสาขา มีกระบวน การทางานที่ เชื่อมโยง ภายใต้แผน พัฒนาโรค ไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัดที่ บูรณาการ สอดคล้อง กับ 4.1 (แผนพัฒนา กระทรวง สาธารณสุข PP, SP สาขา NCDs และสาขา มีกระบวน การทางานที่ เชื่อมโยง ภายใต้แผน พัฒนาโรค ไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัดที่ บูรณาการ สอดคล้อง กับ 4.1 (แผนพัฒนา กระทรวง สาธารณสุข PP, SP สาขา NCDs), มีกระบวน การทางานที่ เชื่อมโยง ภายใต้แผน พัฒนาโรค ไม่ติดต่อ เรื้อรังระดับ จังหวัด ที่บูรณาการ สอดคล้อง กับ 4.1 (แผนพัฒนา กระทรวง สาธารณสุข 4.2 (งบ ประมาณ เฉพาะภาค ไม่มี กระบวน การ ทางานที่ เชื่อม โยง
  • 17. 17 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน อื่นๆ นอกภาค ส่วน สาธารณสุข), 4.2 (งบ ประมาณ กาลังคน/ เทคโนโลยี/ทั้ง ในภาคส่วน สาธารณสุข และนอกภาค ส่วนสาธารณ สุข), 4.3 (ข้อมูล สารสนเทศ จาก Data Center จังหวัด และ แหล่งอื่นๆ ในการ วางแผน ติดตามกากับ ประเมินผล และใช้ในการ วางแผน ในอนาคต) อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง และแผน พัฒนาอื่นๆ นอกภาค ส่วน สาธารณสุข) 4.2 (งบ ประมาณ กาลังคน/ เทคโนโลยี/ เฉพาะภาค ส่วน สาธารณสุข) 4.3 (ข้อมูล สารสนเทศ จาก Data Center จังหวัด และ แหล่งอื่นๆ ในการ วางแผน ติดตาม กากับ ประเมินผล) และทบทวน แผนฯ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง) 4.2(กาลังคน /เทคโนโลยี เฉพาะภาค ส่วน สาธารณสุข) 4.3 (ข้อมูล สารสนเทศ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ ประเมินผล) 4.2 (กาลัง คนเฉพาะ ภาคส่วน สาธารณสุข) 4.3 (ข้อมูล สารสนเทศ จาก Data Center จังหวัด ใน การวางแผน ติดตาม กากับ) ส่วน สาธารณสุข สาธารณสุข) 4.3 (ข้อมูล สารสนเทศ จาก Data Center จังหวัด ใน การวาง แผน)
  • 18. 18 5. การติดตามประเมินผล ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 5.1 ระบบและกลไกการ นิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล และ รายงานผลงาน อย่าง ต่อเนื่อง สม่าเสมอ 4 5.1 ระบบและกลไกการนิเทศ กากับติดตาม ประเมินผลและรายงานผลงานอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ (4 คะแนน) เป้าหมาย ควรมีการกากับติดตาม (Monitor) เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยจังหวัดควรเป็น external audit ของ จังหวัด และประเมินอย่างมีส่วนร่วมระดับ เสริมพลัง (Empowerment) 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน มีเครื่องมือ ประเมิน self assessment ระดับจังหวัด มี การประเมิน ตนเองอย่างมีส่วน ร่วม และมีการลง พื้นที่ประเมินครบ ทุกอาเภอ มีเครื่องมือประเมิน self assessment ระดับจังหวัด มีการ ประเมินตนเองอย่าง มีส่วนร่วม และมี การลงพื้นที่ประเมิน บางอาเภอ มีเครื่องมือประเมิน self assessment ระดับจังหวัด และมี การประเมินตนเอง อย่างมีส่วนร่วม มีเครื่องมือประเมิน self assessment ไม่มีกลไกนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 5.2 ผลงานตามเป้าหมาย หลักของแผน ยุทธศาสตร์ สานักงานบริหาร ยุทธศาสตร์สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย 6 5.2.1 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่แสดงข้อมูล 4 ลด ได้ครอบคลุมทั้ง 4 โรค (4 คะแนน) เอกสารแสดงกราฟ/ตารางข้อมูลผลการ ดาเนินงาน 4 ลด ได้แก่ 1. ลดเสี่ยง 2. ลดป่วย 3. ลดภาวะแทรกซ้อน 4. ลดตาย ของทั้ง 4 โรค 4.1 โรคเบาหวาน 4.2 โรคความดันโลหิตสูง 4.3 โรคหลอดเลือดหัวใจ 4.4 โรคหลอดเลือดสมอง 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน อัตราป่วยรายใหม่ ทั้ง 4 โรค และ ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ลดลง มีผลการดาเนินงาน 4 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรค ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือด สมอง และอัตรา ป่วยรายใหม่ เบาหวานหรือความ ดันโลหิตสูงลดลง มีข้อมูลแสดงผลการ ดาเนินงาน 4 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต สูง และโรคหลอด เลือดหัวใจ และ โรคหลอดเลือด สมอง มีข้อมูลแสดงผลการ ดาเนินงานเฉพาะ โรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง ไม่มีข้อมูล แสดงผลการ ดาเนินงาน
  • 19. 19 ประเด็นการประเมิน คะแนน เต็ม เกณฑ์การให้คะแนน คาอธิบาย / เอกสารหลักฐาน 5.2.2 ผลงานตามเป้าหมายหลักของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ที่แสดงข้อมูลได้ครอบคลุมใน ประเด็น 2 เพิ่ม ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม และการออกกาลังกายที่เพียงพอ (ค่า BMI และรอบเอว ในกลุ่มประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป) (2 คะแนน) ผลลัพธ์วัดจากค่า : รอบเอวและค่า BMI หลักฐานแสดงสัดส่วนค่าวัดรอบเอว และค่า BMI เทียบกับรอบปีที่ผ่านมา (ในกลุ่ม ประชาชนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป)2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน สัดส่วนของผู้มีค่ารอบเอว และ/ หรือ BMI เกินเกณฑ์มาตรฐาน ลดลง สัดส่วนของผู้มีค่ารอบเอว และ/ หรือ BMI ไม่มีข้อมูล