SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  45
ผล เมล็ด และการ
งอกของเมล็ด
ผล (Fruits)
คือ รังไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ (fertilization)
แล้วเจริญเติบโตเต็มที่ อาจมีบางส่วนของ
ดอกเจริญมาด้วย เช่น ฐานรองดอก กลีบ
เลี้ยง ภายในมีเมล็ดหรือไม่มีก็ได้ สาหรับผล
ที่เกิดจากรังไข่ที่ไม่ได้รับการปฏิสนธิ และไม่
มีเมล็ด เรียกว่า ผลลม (parthenocarpic
fruit)
โครงสร้างของผล (Structure of Fruit)
โครงสร ้างของผลส่วนมากประกอบด้วย ผนังผล
(pericarp) และเมล็ด(seed) ผนังผล คือส่วนที่เจริญ
เปลี่ยนแปลงมาจากรังไข่ มี 3 ชั้น ได้แก่ ผนังผล
ชั้นนอก ผนังผลชั้นกลาง ผนังผลชั้นใน
ผนังชั้นใน (Endocarp) ผนังชั้นใน มีทั้งอ่อนนุ่มเช่น
ส้ม และมีลักษณะแข็งเช่น มะม่วง มะพร ้าว
ผนังชั้นกลาง (Mesocarp) ผนังชั้นนี้มักนุ่ม เช่น
มะม่วง มะละกอ ผลบางชนิดมีผนังชั้นกลางเป็นเส้นใย
เหนียว เช่น มะพร ้าว ตาล จาก
ผนังชั้นนอก (Exocarp) ชั้นผิวนอกสุดของผล ชั้น
นี้ในผลบางชนิดมีผิวชั้นนอกบางหรืออ่อนเช่น ผลองุ่น
ชมพู่ มะม่วง ผลบางชนิดผิวชั้นนอกแข็งและเหนียว
เมล็ด (Seed) คือ ออวุลที่ได้รับการปฏิสนธิและ
เจริญเติบโตเต็มที่ ประกอบด้วย เปลือกเมล็ด มี 2 ชั้น
คือ ชั้นนอก และชั้นใน เอนโดสเปิร ์ม และเอ็มบริโอ
ประเภทของผล (Classification
of Fruits)
ประเภทของผล (Classification of Fruits)
ผลเดี่ยว Simple Fruit ชนิดของผลที่เกิดจากดอก
เดียว เกสรเพศเมียมีหนึ่งหรือหลายคาร ์เพลที่เชื่อม
ติดกัน เช่น ผลแตงโม มะละกอ ส้ม มะม่วง
ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit) ชนิดของผลที่เกิด
จากดอกเดียวแต่มีหลาย คาร ์เพล และแต่ละคาร ์เพล
แยกจากกัน ซึ่งแต่ละคาร ์เพลนี้จะเจริญไปเป็นผลย่อย
เช่น ผลน้อยหน่า การเวก จาปี จาปา สตรอเบอร ์รี่
ผลรวม (Multiple Fruit) ชนิดของผลที่เกิดจาก
ดอกย่อยหลายๆ ดอกในช่อดอกเดียวกันเจริญเชื่อม
ติดกันเป็นผลเดียว เช่นผลขนุน สับปะรด ยอ
ผลแบบมะเดื่อ (syconium) ผลรวมที่ข้างในผล
กลวง ซึ่งเป็นผลที่เจริญมาจากช่อดอกที่มีฐานรองดอก
รูปถ้วย (hypanthium) ภายในประกอบด้วยดอกย่อย
มีขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก และแยกเพศ ภายในช่อดอก
มีช่องเปิดขนาดเล็ก (ostiolum) ให้แมลงขนาดเล็ก
เข้าไปช่วยการผสมเกสร ได้แก่ ไทร มะเดื่อ กร่าง
ชนิดของผล (Types of Fruit)
ผลมีเนื้อสด (Fleshy Fruit) คือผลที่แก่แล้วมีผนังผล
สดไม่แห้ง แบ่งออกเป็น
ผลเมล็ดเดียวแข็ง (Drupe)
ผลสดที่มีเมล็ดเดียว ผนังชั้นกลางเป็นเนื้อหนาอ่อนนุ่ม
ผนังชั้นในแข็งมาก ได้แก่ พุทรา มะม่วง
ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ด (Berry)
ผลสดที่มีเมล็ดหลายเมล็ด เนื้อผลอ่อนนุ่ม ผนัง
ชั้นนอกที่เป็นเปลือกมีลักษณะอ่อนนุ่ม เช่นเดียวกัน
ได้แก่มะละกอ มะเขือเทศ
ผลแบบส้ม (Hesperidium)
ผลที่ผนังชั้นนอกมีต่อมน้ามันจานวนมาก ผนังชั้นกลาง
อ่อนนุ่มคล้ายฟองน้าสีขาว ผนังชั้นในมีลักษณะเป็นเยื่อ
บาง และมีบางส่วนของชั้นนี้แปรรูปเป็นถุงน้าเพื่อสะสม
น้าตาล และกรดมะนาว ได้แก่ ส้ม มะนาว
ผลแบบแตง (Pepo)
ผลที่เจริญมาจากรังไข่ใต้วงกลีบ ผนังชั้นนอกแข็งและ
หนา ผนังชั้นกลางและผนังชั้นในหนาอ่อนนุ่ม ได้แก่
แตงโม แตงกวา น้าเต้า
ผลแห้ง (Dry Fruit) คือ ผลที่แก่แล้วผนังผลแข็งและ
แห้ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ผลแห้งแก่ไม่
แตก (dry indehiscent fruit) และผลแห้งแก่แตก
(dry dehiscent fruit)
1. ผลแห้งแก่ไม่แตก (Dry Indehiscent Fruit)
แบ่งออกเป็น
ผลแห้งเมล็ดติดหรือผลแบบธัญพืช
(Caryopsis or Grain)
ผลเดี่ยวหนึ่งเมล็ด เปลือกแข็งและเชื่อมติดแน่นกับ
เปลือกเมล็ดหุ้ม เช่น ข้าว
ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย (Acorn)
ผลคล้ายผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แต่มีกาบหุ้มผล
(cupule) ทั้งหมดหรือบางส่วน เช่น ผลเกาลัด ก่อชนิด
ต่างๆ
ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene)
ผลขนาดเล็ก ผนังผลแห้งและบาง มี 1 เมล็ด ผนังผลกับ
เปลือกหุ้มเมล็ดแยกกัน ส่วนมากมีฐานรองดอกขนาด
ใหญเช่น บัวหลวง ถ้าผลเกิดจากรังไข่ใต้วงกลีบ และมี
ขนที่ปลายเมล็ด เรียกว่า ผลแห้งเมล็ดล่อนปลายมี
ขน (cypsela) เช่น ผลของทานตะวัน
ผลเปลือกแห้งเมล็ดเดียว (Nut)
ผลที่มีเปลือกแข็งและผิวมัน เป็นผลที่เกิดจากรังไข่ที่มี
หลายคาร ์เพลเชื่อมกันแต่มีเมล็ดเดียว เช่น ผลมะพร ้าว
กระจับ มะม่วงหิมพานต์
ผลแบบปี กเดียว (Samara)
ผลที่มีผนังผลชั้นนอกเจริญยื่นออกมาเป็นปีก อาจมีปีก
เดียวหรือมากกว่า เช่น ผลประดู่ ก่วม หรือผลคล้ายผล
ปีกเดียว (samaroid) มีกลีบเลี้ยงเจริญไปเป็นปีก เช่น
ผลยางนา เหียง พะยอม รักใหญ่
ผลแยกแล้วแตก (Schizocarp)
ผลที่เจริญมาจากรังไข่ที่มีหลายคาร ์เพลเชื่อมกัน เมื่อรัง
ไข่เจริญเต็มที่แล้วคาร ์เพลจะแยกกัน แต่ละคาร ์เพล
เรียก ซีกผลแบบผักชี (mericarp) ซึ่งภายในมี 1 เมล็ด
เช่น ผลผักชี ครอบจักรวาล
2. ผลแห้งแก่แตก (Dry Dehiscent Fruit)
แบ่งเป็น
ฝักแตกแนวเดียว (Follicle)
ผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร ์เพลเดียวหรือหลายคาร ์เพลที่
แยกกัน เมื่อผลแก่จะแตกเพียงตะเข็บเดียว เช่น ผลจาปี
จาปา
ผลแตกแบบผักกาด (Silique)
ผลที่เกิดจากรังไข่ที่มี 2 คาร ์เพล เมื่อผลแก่ผนังผลแตก
ตามยาวจากด้านล่างไปยังด้านบนแบ่งออกเป็นสองซีก
เมล็ดติดอยู่แนวกลางของผล (central false
septum) เช่นผลผักกาดนก ผักเสี้ยน
ฝักแบบถั่ว Legume
ผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร ์เพลเดียว เมื่อผลแก่จะแตก
ออกตามแนวตะเข็บ 2 ข้างของผล ได้แก่ผลของพืช
วงศ์ถั่ว
ผลแบบฝักหักข้อ (loment, lomentum)
ผลคล้ายผลแบบถั่วแต่มีรอยคอดรอบฝักเป็นช่วงๆหรือ
เว้าเป็นข้อๆ เมื่อผลแก่จะหักบริเวณนี้ แต่ละข้อมี 1
เมล็ด เช่นผลไมยราพ คูน
ผลแบบผักชี (cremocarp)
ผลขนาดเล็กมี 2 เมล็ด เมื่อผลแก่และแตกออก เมล็ด
จะแยกจากกันโดยมี คาร ์โพฟอร ์(carpophores)
เส้นเล็กๆยึดไว้
3. ผลแห้งแตก (capsule) ผลที่เกิดจากดอกที่รังไข่มี
หลายคาร ์เพลเชื่อมกัน และเมื่อผลแก่จะแตก แบ่ง
ออกเป็น
ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (septicidal
capsule)
ผลแห้งแตกตามแนวยาวของผนังคาร ์เพล เช่น ผล
กระเช้าสีดา
ผลแห้งแตกกลางพู (loculicidal capsule)
ผลแห้งแตกตรงกลางพูของแต่ละช่อง เช่น ผลทุเรียน
ตะแบก
ผลแห้งแตกเป็ นช่อง (poricidal capsule)
ผลแห้งที่เปิดเป็นช่องหรือรูใกล้ยอดผล เช่น ผลฝิ่น
ผลแห้งแตกแบบฝาเปิ ด (circumscissile
capsule, pyxis)
ผลแห้งแล้วแตกตามขวางรอบผลลักษณะเป็นฝาเปิด มี
เมล็ดจานวนมาก เช่น ผลหงอนไก่
โครงสร้างของเมล็ด
เมล็ดประกอบด้วยโครงสร ้างสาคัญ
3 ส่วน ได้แก่ เอ็มบริโอ อาหารสะสม
และเปลือกหุ้มเมล็ด ซึ่งเปลี่ยนแปลง
มาจากส่วนต่างๆ ของออวุล ภายหลัง
การปฏิสนธิไซโกตเจริญเติบโตเป็น
เอ็มบริโอ มีการเจริญของเอนโดสเปิร ์ม
หรือเพอริสเปิร ์มเพื่อทาหน้าที่เป็น
อาหารสะสมอินเทกิวเมนต์(integument)
หรือเปลือกนอก 2 ชั้นของออวุลก็เจริญ
เติบโตเป็นเปลือกหุ้มเมล็ด (seed coat)
เอ็มบริโอ
เอ็มบริโอ (embryo) คือ ต้นอ่อนภายในเมล็ดซึ่ง
เจริญเติบโตมาจากไซโกต ( zygote
หรือ fertilized egg) ประกอบด้วย (1) แกนของต้น
อ่อน (embryonic a xis) ซึ่งได้แก่ยอดอ่อน
(plumule) รากอ่อน (radicle) ลาต้นอ่อนเหนือและใต้
ใบเลี้ยง (epicotyl และ hypocotyl) และ (2) ใบเลี้ยง
(cotyledon)
ส่วนแกนที่อยู่เหนือใบเลี้ยง เรียกอีพิโคทิล (epicotyl)
ปลายยอดของอีพิโคทิล เรียกพลูมูล (plumule) ซึ่งเป็น
ตาอ่อน (embryonic bud) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญ
ปลายยอด(apical meristem) ที่จะเจริญต่อไปเป็นส่วน
ยอดและใบ ส่วนนี้บางครั้งจึงเรียกว่า ปลายยอด (shoot
apex) ปลายยอดของเอ็มบริโอพืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศ์หญ้า
มีปลอกหุ้มเรียก คอลีออบไทล์(coleoptile) ไฮโปโคทิล
(hypocotyl) เป็นส่วนของลาต้นที่อยู่ใต้ใบเลี้ยงลงมา
ทั้งอีพิโคทิลและไฮโปโคทิล เป็นส่วนของลาต้น อ่อนจึง
อาจเรียกรวมกันว่า คอลิเคิล (caulicle) หมายถึง ลาต้น
เอ็มบริโอ (embryonic stem) แต่คานี้ไม่ค่อยนิยมใช้
กัน
แรดิเคิล (radicle) คือรากอ่อน (embryonic root)
อยู่ตรงปลายสุดของไฮโปโ คทิล มักมีตาแหน่งของแรดิ
เคิลอยู่ตรงกับช่องไมโครไพล์แรดิเคิลเจริญเติบโตเป็นราก
แรกออกมาจากเมล็ดทางช่องไมโครไพล์นี้เอง ในพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยววงศ์หญ้าแรดิเคิลมีปลอกหุ้มเรียก คอลีโอไรซา
(coleorhiza)
เอ็มบริโอของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวแตกต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่
ตรงจานวนของใบเลี้ยง ถ้าเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวก็มีใบ
เลี้ยงเพียง 1 ใบ เท่านั้น ในขณะที่พืชใบเลี้ยงคู่มีใบเลี้ยง
2 ใบ สาหรับพืชวงศ์หญ้ามีเอ็มบริโอรูปร่างแตกต่าง
จากพืชอื่นๆ ใบเลี้ยงที่มีอยู่ 1 ใบ นั้นเรียกว่า สคิว
เทลลัม (scutellum)
ใบเลี้ยง บางทีเรียกว่า seed leaf พืชใบเลี้ยงคู่มีอยู่ 2
ใบ และในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีใบเดียว ซึ่งมักเรียกว่า
สคิวเทลลัม (scutellum) มีหน้าที่ดูดซึมและ
ลาเลียงอาหารจากเอนโดสเปิร ์มที่อยู่รอบๆ หรือข้าง ๆ
ส่งไปเลี้ยงเอ็มบริโอ ใบเลี้ยงในพืชบางชนิดดูดเอา
อาหารจากบริเวณเอนโดสเปิร ์มไปสะสมไว้จนหมด ทา
ให้ใบเลี้ยงมีขนาดใหญ่ ในพืชบางชนิดใบเลี้ยงไม่ดูด
อาหาร จากเอนโดสเปิร ์มใบเลี้ยงจึงบางและแบน ส่วน
เอนโดสเปิร ์มจึงมีขนาดใหญ่แทน นอกจากนี้ใบเลี้ยงยัง
มีหน้าที่ปกคลุมป้องกันยอดอ่อนไม่ให้เป็นอันตรายเมื่อ
ยอดอ่อนงอกแทงทะลุดินขึ้นมา และเมื่อพ้นดินขึ้น
มาแล้ว ใบเลี้ยงจะทาหน้าที่ช่วยสังเคราะห์แสงอีก
ด้วย
เอนโดสเปิ ร ์ม
เอนโดสเปิร ์ม (endosperm) คือ กลุ่มเนื้อเยื่อซึ่งจะเป็น
อาหารสาหรับเอ็มบริโอใช ้การเจริญเติบโต เกิดขึ้นจาก
การปฏิสนธิ มีจานวนโครโมโซมเป็น
ทริพลอยด์ในพืชพวกแองจิโอสเปิร ์ม มีอยู่เพียง 3 วงศ์
เท่านั้นที่ไม่พบ ว่ามีการสร ้างเอนโดสเปิร ์ม ได้แก่ วงศ์
กล้วยไม้ (Orchidaceae) โพโดสตีมาซีอี
(Podostemaceae) และทราเพซีอี (Trapaceae) บาง
พืชมีการสร ้าง
เอนโดสเปิร ์ม แต่ถูกเอ็มบริโอใช้หมดไปในระหว่างการ
เจริญเติบโต เช่น ถั่ว มะขาม สะเดา เป็นต้น เมล็ดของ
พืชพวกนี้จึงเป็นเมล็ดที่ไม่มีเอนโดสเปิร ์ม
เอนโดสเปิ ร ์มทาหน้าที่สะสมอาหารไว้เพื่อ
(1) การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ หลังจาก
กระบวนการปฏิสนธิพบว่า ไซโกตไม่แบ่งเซลล์จนกว่าเอน
โดสเปิร ์มเติบโตเต็มที่แล้ว หรือจนกว่าจะได้รับอาหาร
สะสมจากเอนโดสเปิร ์มถ้าเอนโดสเปิร ์มไม่เจริญหรือฝ่อไปมี
ผลให้เอ็มบริโอไม่เจริญด้วย เช่น เมล็ดพืชในวงศ์กล้วยไม้
(Orchidaceae) โพโดสตีมาซีอี (Podoste maceae)
และทราเพซีอี (Trapaceae) ในขณะที่เอ็มบริโอ
เจริญเติบโตใช ้อาหารจากเนื้อเยื่อเอนโดสเปิร ์มที่อยู่
ล้อมรอบเอ็มบริโอนั้นหมดไป ยกเว้นในบางพืช พืชตระกูล
ถั่วหรือแตง เอ็มบริโอดูดดึงอาหารจากเอนโดสเปิร ์มมาใช้
จนหมดก่อนเอ็มบริโอเติบโตเต็มที่
(2) เป็ นอาหารสะสมสาหรับต้นอ่อนใช้ในขณะที่
มีกระบวนการงอกเกิดขึ้น
จนกว่าต้นอ่อนจะสังเคราะห์แสงได้เอง เอนโดสเปิร ์มก็
หมดหน้าที่ไป
เอนโดสเปิร ์มจากผลหรือเมล็ดที่มีอายุน้อยมีคุณค่าของ
อาหารสะสมสูงกว่าเอนโดสเปิร ์มจากผลหรือเมล็ดแก่
นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณของฮอร ์โมน เช่น ออกซิน
ไซโทไคนินและจิบเบอเรลลินลดลงตามอายุของเอนโด
สเปิร ์มที่เพิ่มขึ้น ซีทิน (zeatin) ซึ่งเป็นไซโทไคนินชนิด
หนึ่งที่รู้จักกันดีก็สกัดมากจากเอนโดสเปิร ์มอ่อนๆ ของ
ข้าวโพด
เปลือกหุ้มเมล็ด
เมื่อออวุลได้รับการผสมและเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ดนั้น
อินเทกิวเมนต์(integuments) ซึ่งเป็นส่วนที่ห่อหุ้ม
ออวุลไว้ ก็จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเปลือกเมล็ด (seed
coat) ทาหน้าที่ห่อหุ้มโครงสร ้างต่างๆ ของเมล็ดไว้
เปลือกเมล็ดของพืชแต่ละชนิดมีการเจริญและ
พัฒนาการที่แตกต่างกันออกไป เปลือกเมล็ดของพืช
บางชนิดอาจเปลี่ยนแปลงมาจากอินเทกิวเมนต์ชั้นนอก
(outer integument) เท่านั้น ส่วนอินเทกิวเมนต์
ชั้นใน (inner integument) สลายตัวไป แต่ในพืชบาง
ชนิด อินเทกิวเมนต์ทั้งสองชั้นเปลี่ยนแปลงไปเป็ น
เมื่อเมล็ดเจริญเติบโตเต็มที่ ผนังเซลล์ของเปลือกเมล็ด
หนาขึ้น โดยมีสาร เพกทิน เซลลูโลส คิวทิน ลิกนิน
หรือซูเบอริน มาสะสมที่ผนังเซลล์เพิ่มมากขึ้นก็ทาให้
เปลือกเมล็ดมีความหนา ความแข็งเพิ่มขึ้น ในเมล็ดพืช
บางชนิดผนังเซลล์มีสารซูเบอรินนี้มาสะสมอยู่ด้วยมาก
เกินไปก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดลักษณะเมล็ดแข็ง (hard
seed) ขึ้นได้ สีของเมล็ดเมื่อแก่จะเปลี่ยนจากสีเขียวไป
เป็นสีต่างๆ แล้วแต่รงควัตถุที่สะสมอยู่ในเซลล์ของเปลือก
เมล็ด
บนเปลือกหุ้มเมล็ด มีรอยแผลเป็นซึ่งเกิดจากก้านออวุล
(funiculus) หลุดร่วงไป เรียกรอยแผลเป็น นี้ว่า ขั้ว
เมล็ด (hilum) ใกล้ๆกับขั้วเมล็ดมีรูเปิดเล็กๆ เรียกว่า
ไมโครไพล์(micropyle) ด้านตรงข้ามกับไมโครไพล์จะ
เห็นเปลือกนูนเป็นสันขึ้นมาเล็กน้อย เรียกบริเวณนี้ว่า
สันขั้วเมล็ด (raphe) เกิดขึ้นจากก้านออวุลพาดผ่าน
ปลายสุดของขั้วเมล็ดจรดกับบริเวณฐานออวุล
(chalaza)
การงอกของเมล็ด
ภายหลังจากที่มีการแพร่กระจายของเมล็ดพันธุ์ไปสู่พื้นที่
ต่างๆ เมื่อเมล็ดได้รับปัจจัยที่เหมาะสมคือ น้า ออกซิเจน
และอุณหภูมิพอเหมาะ เมล็ดก็จะงอก เมื่อมีกระบวนการ
งอกเกิดขึ้น ส่วนของเมล็ดส่วนแรกที่แทงทะลุไมโครไพล์
ออกมาภายนอกเมล็ดคือแรดิเคิล แรดิเคิลแทงทะลุลงสู่
พื้นดินกลายเป็นรากแรก(primary root) และมีราก
แขนงแตกออกมาภายหลัง รวมทั้งมีขนราก (root hair)
เกิดขึ้นด้วย เพื่อช่วยดูดน้าและเกลือแร่นาไปเลี้ยงต้นอ่อน
ต่อไป
หลังจากนี้เปลือกหุ้มเมล็ดก็แตกออก เมล็ดส่วนมากเมื่อ
งอกใบเลี้ยงและยอดอ่อนโผล่ขึ้นมาเหนือดินเนื่องมาจาก
การยืดตัวของไฮโปโคทิล ลักษณะนี้เรียกว่า การงอก
แบบอีพิจีล (epigeal germination) ตัวอย่างเมล็ดที่มี
การงอกแบบนี้ เช่น ทานตะวัน ผักกาดหัว ฝ้ าย ถั่ว
ละหุ่ง และหอม เป็นต้น
เมื่อเมล็ดงอก ส่วนของใบเลี้ยงยังคงติดอยู่ภายในเมล็ด
ส่วนของไฮโปโคทิลยืดตัวเพียงเล็กน้อยหรือไม่ยืดตัวเลย
ทาให้ส่วนของใบเลี้ยงยังคงอยู่ใต้ระดับผิวดินเรียก
ลักษณะแบบนี้ว่า การงอกแบบไฮโปจีล (hypogeal
germination) การงอกแบบนี้ต้นกล้าดันยอดโผล่ขึ้น
เหนือดินโดยอาศัยการยืดตัวของอีพิโคทิล ตัวอย่าง
เมล็ดที่มีการงอกแบบนี้ เช่น ถั่วลันเตา ถั่ววิเซีย (Vicia)
โอ๊ก (Quercus) สาหรับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนมากมีการ
งอกแบบนี้โดยการยืดตัวของโคลีออพไทล์(coleoptile)
เช่น ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น
โครงสร้างของต้นกล้า
เมื่อเกิดกระบวนการงอก เอ็มบริโอภายในเมล็ด
เจริญเติบโตเป็นต้นกล้า (seedling) ต้นกล้าแบ่งตาม
ลักษณะการงอกออกเป็น 2 แบบคือ อีพิจีอัส
(epigeous) ต้นกล้าแบบนี้มีใบเลี้ยงชูขั้นมาอยู่เหนือ
ระดับดิน และไฮโปจีอัส (hypogeous) ต้นกล้าที่มีใบ
เลี้ยงยังคงค้างอยู่ในเมล็ดและเมล็ดอยู่ใต้ระดับผิวดินเมื่อ
งอก
โครงสร้างของต้นกล้าพืชใบเลี้ยงคู่
ตัวอย่าง เช่น ถั่ว ละหุ่ง ทานตะวัน และผักกาดหัว
ประกอบด้วย รากอันแรกที่งอกออกมาจากเมล็ดเจริญ
มาจากแรดิเคิลเรียก รากแก้ว (tap root) รากที่แตก
แขนงออกจากรากแก้วเรียกรากแขนง (lateral
root) ลาต้นอ่อนภายในมีท่อลาเลียงน้าและอาหารลา
ต้นอ่อนแบ่งเป็นสองส่วนคือส่วนลาต้นอ่อนใต้
ใบเลี้ยง (hypocotyl) และลาต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยง
(epicotyl) ใบเลี้ยง (colyledon) เป็นแหล่งอาหาร
สาหรับเลี้ยงต้นอ่อน ก่อนที่ใบจริงสามารถสังเคราะห์แสง
ได้เอง และส่วนยอดอ่อนหรือยอดแรกเกิด
(plumule) เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญ
โครงสร้างของต้นกล้าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
มีความแตกต่างไปจากพืชใบเลี้ยงคู่อยู่บ้าง พืชใบเลี้ยง
เดี่ยว เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี หญ้า เป็นต้น ต้น
กล้าประกอบด้วยยอดแรกเกิด (plumule) ซึ่งก็คือ
ใบจริงหรือใบแท้ที่ถูกห่อหุ้มด้วยปลอกหุ้มยอด
(coleoptile) บริเวณลาต้นอ่อนไม่เจริญเติบโต ใน
ข้าวโพดอาจเห็นส่วนปล้องแรกของลาต้นอ่อน
(mesocotyl) บริเวณนี้ต่อเชื่อมกับสคิวเทลลัม
(scutellum) หรือใบเลี้ยงซึ่งยังคงฝังตัวอยู่ภายใน
เปลือกหุ้มเมล็ด ในขณะที่ใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น
หอม ใบเลี้ยงยืดตัวดันออกนอกเมล็ด ระบบรากของต้น
กล้าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รากแก้วมีอายุสั้น จึงมีรากทุติย
ผล.pptx

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 

Tendances (20)

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 

Similaire à ผล.pptx

ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptBewwyKh1
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 

Similaire à ผล.pptx (20)

ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
2
22
2
 
1
11
1
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 

Plus de BewwyKh1

6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.pptBewwyKh1
 
Spirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologySpirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologyBewwyKh1
 
บทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptบทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptBewwyKh1
 
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.pptBewwyKh1
 
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxบทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxBewwyKh1
 
สกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxสกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxBewwyKh1
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxBewwyKh1
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxการลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxBewwyKh1
 
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.pptBewwyKh1
 

Plus de BewwyKh1 (11)

6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt
 
Spirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologySpirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biology
 
บทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptบทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.ppt
 
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
 
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxบทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
 
สกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxสกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptx
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxการลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptx
 
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
 

ผล.pptx