SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ   1




              เอกสารประกอบการสอน
      เรื่องพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ




                              รวบรวมโดย
                           นางอังสนา แสนเยีย
                              ตาแหน่งครู                                                   ครูแป๋ว




                       โรงเรียนหนองซนพิทยาคม
                                                                                             By




           สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22
                                                                                           ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ          2


                                                   คาชี้แจง
          คู่มือเอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยาเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้สอนเข้าใจขอบเขตของเนื้อหาสาระที่สื่อ
ประกอบการสอนเรื่องนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความ
เข้าใจในเนื้อหาบทเรียนของผู้เรียน กระตุ้นความสนใจ ให้ความกระจ่างเกี่ยวกับศัพท์ทางวิชาการที่ควรทราบ และเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ที่ได้รับโดยการอภิปรายร่วมกัน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึน โดยเอกสารในเล่มนี้ มีหัวข้อดังต่อไปนี้
      ้
          1. แนะนาพันธุวิศวกรรม
          2. ขั้นตอนของพันธุวิศวกรรม
          3. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms: GMOs)
          4. ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมด้านต่างๆ
          5. แบบฝึกหัด




                                                                                    อังสนา แสนเยีย
                                                                                       ผูเรียบเรียง
                                                                                         ้




                                                                                                                    ครูแป๋ว
                                                                                                                      By
                                                                                                                    ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ   3


                         เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
1. แนะนาพันธุวิศวกรรม
          เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตมาใช้ใน
การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย์ด้วยการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อความสวยงาม และการ
สังเคราะห์สารเคมีต่างๆ
         พันธุกรรม (Heridity) คือ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดจาก พ่อแม่ ไปสู่
ลูกหลาน




                                                                                                      ครูแป๋ว
                                                                                                        By




                          ภาพที่ 1 แผนผังมโนทัศน์เทคโนโลยีพันธุกรรม
                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ         4


                1.1 พันธุวิศวกรรม เป็นกระบวนการทางชีววิทยาระดับโมเลกุล ที่ทาโดยการนายีนจาก
สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้สิ่งมีชีวิตที่ได้รับยีนมีลักษณะตามที่ต้องการ การ
ที่จะนายีนใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอาศัย ดีเอ็นเอพาหะ (vector) ที่นิยมใช้คือ พลาสมิด ในการพายีน
เข้าไปในเซลล์ โดยนายีนที่สนใจใส่เข้าไปในพลาสมิด จากนั้นจึงทาการเพิ่มปริมาณยีนที่อยู่ในพลาสมิดให้มี
จานวนมากเท่าที่ต้องการ แล้วจึงใส่พลาสมิดที่มียีนเข้าไปในสิ่งมีชีวิตเป้าหมาย ซึ่งพลาสมิดที่เข้าไปใน
เซลล์นั้นอาจยังคงเป็นพลาสมิดวงปิด และเข้าไปในเซลล์โดยไม่ได้มีการสอดแทรกเข้าไปในโครโมโซมของ
เซลล์เจ้าบ้านแต่อย่างใด เมื่อเกิดการจาลองตัวในแต่ละรอบ พลาสมิดจะเพิ่มจานวนไปด้วย แต่มีโอกาสที่พ
ลาสมิดจะหายไปจากเซลล์ได้ อีกกรณีหนึ่งคือพลาสมิดมีการสอดแทรกเข้าไปในโครโมโซมของเซลล์เจ้า
บ้านและเพิ่มจานวน ซึ่งถ้าเป็นในกรณีนี้พลาสมิดจะไม่หลุดหายไปไหนแม้จะมีการจาลองตัวหลายครั้ง แต่
จะเพิ่มจานวนตามการจาลองตัวเพิ่มขึ้นของโครโมโซมเซลล์เจ้าบ้าน




                                                                                                                  ครูแป๋ว
                                                                                                                    By
                                                                                                                  ชีววิทยาน่ารู้




                                      ภาพที่ 2 ขั้นตอนพันธุวิศวกรรม

Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ        5


         1.2 พลาสมิดคืออะไร พลาสมิด คือ ดีเอ็นเอที่โมเลกุลมีลักษณะเป็นวงปิด พลาสมิดไม่ได้อยู่ใน
โครโมโซม พบในเซลล์แบคทีเรีย และมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม โดยขนาดของพลาสมิดมีความหลากหลาย
ตั้งแต่ 1 กิโลเบส ไปจนถึง 1,000 กิโลเบส จานวนของพลาสมิดในเซลล์มีความหลากหลายเช่นเดียวกัน มี
ตั้งแต่ 1 วง ไปจนถึงหลายพันวง พลาสมิดมียีนอยู่จานวนไม่มากเท่ากับยีนบนโครโมโซม สามารถจาลอง
ตัวเองได้เองโดยไม่ขึ้นกับโครโมโซมเนื่องจากมีจุดเริ่มต้นของกระบวนการจาลองตัว (origin of
replication) เป็นของตัวเอง พลาสมิดมียีนที่ต้านทานต่อยาปฏิชีวนะอยู่ (รูปที่ 4) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ
เซลล์แบคทีเรียที่มี พลาสมิดนี้อยู่ เนื่องจากจะทาให้แบคทีเรียมีชีวิตอยู่รอดได้ในสภาวะที่มียาปฏิชีวนะนั้น




                    ภาพที่ 3 โครงสร้างพลาสมิดที่ประกอบด้วยจุดเริ่มต้นของกระบวนการจาลองตัว (origin of
replication; ori) (สีสม) และยีนต้านทานต่อยาปฏิชีวนะ(Ampr) (สีน้าเงิน)
                      ้


              1.3 การนาพลาสมิดมาใช้ในพันธุวิศวกรรม ในกระบวนการพันธุวิศวกรรมนั้นจะต้องมีตัวพายีนที่สนใจ
เข้าสู่เซลล์ เพื่อให้เซลล์ที่ต้องการมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะตามยีนที่ใส่เข้าไป เรียกตัวพาว่า ดีเอ็นเอพาหะ (DNA
vector) ซึ่งมีอยู่มากมายหลายชนิด พลาสมิดก็เป็นหนึ่งในดีเอ็นเอพาหะนั้นด้วย การที่จะนายีนที่สนใจเข้าสู่เซลล์อาจ
ทาได้โดยการตัดต่อยีนนั้นเข้ากับพลาสมิดเกิดเป็นดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) เป็นดีเอ็นเอที่เกิดจากการตัด
ต่อยีนในห้องปฏิบัติการ ซึ่งเป็นการนายีนหรือสารพันธุกรรมจากแหล่งต่างกันมาต่อเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ยีนหรือสาร
                                                                                                                ครูแป๋ว




พันธุกรรมในรูปแบบใหม่ที่ไม่มีในธรรมชาติ
                                                                                                                  By
                                                                                                                ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ          6




                    ภาพที่ 4 การตัดต่อยีนที่สนใจเข้ากับดีเอ็นเอพาหะได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม
2. ขั้นตอนของพันธุวิศวกรรม
          1. ศึกษาค้นคว้าหายีนที่ควบคุมลักษณะที่สนใจ
          2. เพิ่มปริมาณยีนที่ควบคุมลักษณะที่สนใจด้วยกระบวนการที่เรียกว่า polymerase chain reaction (PCR)
ซึ่งเป็นกระบวนการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง โดยสามารถเลือกบริเวณดีเอ็นเอที่ต้องการเพิ่มจานวนได้
          3. ตัดต่อยีนที่สนใจเข้าไปยังพลาสมิดที่มีลักษณะเป็นวงซึ่งต้องถูกตัดให้เปิดออกด้วยเอนไซม์ชนิดหนึ่งซึ่ง
รายละเอียดจะได้กล่าวในบทขั้นตอนของพันธุวิศวกรรมต่อไป
         4. เมื่อได้พลาสมิดที่มียีนที่สนใจอยู่ซึ่งจะเรียกว่า ดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) แล้วจะทาการเพิ่ม
ปริมาณดีเอ็นเอสายผสมนี้โดยการใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้ว่า ทรานสฟอร์เมชัน (transformation)
จากนั้นทาการเพิ่มเซลล์แบคทีเรียในอาหารเลี้ยง เมื่อแบคทีเรียมีการแบ่งเซลล์ดีเอ็นเอสายผสมจะเพิ่มจานวนตามไป
ด้วย ทาให้ในทุกรอบของการแบ่งเซลล์จะมีดีเอ็นเอสายผสมเพิ่มจานวนขึ้น (รายละเอียดอยู่ในบท ขั้นตอนของพันธุ
วิศวกรรม)
           5. เมื่อได้ปริมาณดีเอ็นเอสายผสมในปริมาณที่ต้องการแล้ว จึงนาดีเอ็นเอสายผสมนี้ไปใส่ในสิ่งมีชีวิตเป้าหมาย
เพื่อให้มีลักษณะตามที่ต้องการ
                                                                                                                    ครูแป๋ว
                                                                                                                      By
                                                                                                                    ชีววิทยาน่ารู้




                                   ภาพที่ 5 ขั้นตอนการตัดต่อพันธุวิศวกรรม
Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ            7



       2.1 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ( Genetically Modified Organisms; GMO) สิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปรง
พันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่ผ่านกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมมาแล้วนั่นเอง กล่าวคือ เป็นสิ่งมีชีวิตที่นักวิทยาศาสตร์ได้
ตัดต่อยีนที่สนใจที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการเข้ากับ ดีเอ็นเอพาหะ ได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม จากนั้นนาดีเอ็นเอสายผสมนี้
เข้าสู่เซลล์ ในชีวิตประจาวันเรามักจะได้ยินคาว่าพืช GMO บ่อยครั้ง ซึ่งความหมายของพืช GMO ก็คือ พืชดัดแปร
พันธุกรรมให้ได้ลักษณะตามที่เราต้องการ ตัวอย่างเช่น ฝ้าย เมื่อใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรมจะทาให้ฝ้ายนั้นเป็นพืช GMO
ที่มีความต้านทานต่อการเข้าทาลายของแมลงได้ โดยการถ่ายยีนที่สร้างสารพิษจากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Bacillus
thuringienesis (BT) ทาให้ฝ้ายสามารถต้านทานต่อการเข้าทาลายของแมลงได้ในที่สุด หรืออีกหนึ่งตัวอย่าง คือ การ
ผลิตมะเขือเทศ GMO ที่ทางประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ศึกษาและสามารถส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศได้สาเร็จ
มาแล้ว ประโยชน์ของมะเขือเทศ GMO คือ สามารถชะลอให้มะเขือเทศสุกช้าลง โดยการตัดต่อยีนที่มีความสามารถใน
การยับยั้งการทางานของเอนไซม์ ที่มีชื่อว่า polygalacturonase (PG) โดยเอนไซม์ PG นี้ทาหน้าที่ย่อย เพคติน
(pectin) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ (cell wall) โดยหน้าที่ปกติของเพคติน คือ การช่วยให้เซลล์ยังคงสภาพอยู่
ได้ แต่ถ้าเมื่อใดที่ เพคตินถูกย่อยโดยเอนไซม์ PG แล้ว จะทาให้เซลล์ไม่สามารถคงสภาพแบบเดิมได้ ส่งผลให้มะเขือเทศ
สุกงอมได้ง่ายและผลจะนิ่มเละ ทาให้ไม่สามารถส่งออกไปขายยังที่ไกลๆ ได้ ดังนั้น เมื่อตัดต่อยีนที่ไปยับยั้งเอนไซม์ PG
นี้จะช่วยให้มะเขือเทศสุกช้าลง ทาให้สามารถส่งออกไปขายยังมลรัฐที่ไกล ๆ หรือต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น




                                                                                                                      ครูแป๋ว




                                        ภาพที่ 6 สิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรม
                                                                                                                        By
                                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ          8




3. ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมในด้านต่างๆ
        3.1 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมต่อภาคอุตสาหกรรมยา
          โรคที่เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเข้าไปมีบทบาทสาคัญ คือ โรคเบาหวาน ซึ่งโรคนี้เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับ
น้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือประสิทธิภาพของอินซูลินที่ลดลง เพราะภาวะดื้อต่อ
อินซูลินจึงส่งผลให้น้าตาลในเลือดสูงขึ้นเป็นเวลานาน และส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามอวัยวะต่างๆ ตามมาได้ เช่น
ผู้ป่วยเบาหวานบางคนอาจตาบอด เนื่องจากการมีน้าตาลในกระแสเลือดเป็นระยะเวลานาน จะทาให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ที่เกิดกับหลอดเลือดเล็กภายในลูกตา ทาให้มีเลือดออกภายในลูกตา และอาจมีเนื้อเยื่อคล้ายพังผืดงอกตามเส้นเลือด
และดึงรั้งให้ชั้นของประสาทตาลอก หรืออาจจะต้องถูกตัดเท้า เนื่องจากผู้ป่วยเบาหวานจะมีการเสื่อมของหลอดเลือด
ทาให้หลอดเลือดตีบแคบ เลือดไปเลี้ยงที่เท้าน้อยลง ส่งผลให้มีแผลติดเชื้อและลุกลามได้ง่ายเพราะมีเลือดมาเลี้ยงน้อย
ทาให้บริเวณนั้นขาดภูมิคุ้มกันที่จะต่อต้านเชื้อโรค ถ้าดูแลรักษาไม่ถูกวิธีจะทาให้แผลลุกลามจนไม่สามารถรักษาได้ ด้วย
เหตุนี้ในวงการแพทย์จึงจัดให้โรคเบาหวานเป็นปัญหาทางสาธารณสุข ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงค้นคว้าวิธีการที่จะช่วย
ให้แพทย์ทาการรักษาผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในที่สุดนักวิทยาศาสตร์สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินโดย
ใช้หลักการทางพันธุวิศวกรรม และนามาฉีดให้กับผู้ป่วยเบาหวานได้ โดยขั้นแรกนักวิทยาศาสตร์ได้ตัดยีนที่ทาหน้าที่
ควบคุมการสร้างฮอร์โมนอินซูลินของมนุษย์มาต่อเข้ากับดีเอ็นเอพาหะ ได้แก่ พลาสมิดของแบคทีเรีย ได้เป็นดีเอ็นเอ
สายผสม จากนั้นนาดีเอ็นเอสายผสมใส่เข้าไปยังเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งปกติไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลิน ทาให้
กลายเป็นแบคทีเรียชนิดใหม่ที่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้ และทาการคัดเลือกแบคทีเรียที่มีความสามารถนี้ไปเลี้ยง
เพื่อเพิ่มจานวนให้มีปริมาณมากเพียงพอ ท้ายที่สุดสู่กระบวนการผลิตเพื่อสกัดอินซูลินและได้ฮอร์โมนอินซูลินที่สามารถ
นาไปรักษาคนไข้ได้ต่อไป




                                                                                                                   ครูแป๋ว
                                                                                                                     By
                                                                                                                   ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ             9




                                  ภาพที่ 7 ขั้นตอนการผลิตอินซูลินจากแบคทีเรีย
              3.2 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางการแพทย์ นอกจากนี้พันธุวิศวกรรมยังเป็นประโยชน์ทางการแพทย์
โดยสามารถนาไปใช้ในยีนบาบัด (gene therapy) โดยมีหลักการ คือ เมื่อเกิดโรคที่มาจากความผิดปกติของยีน ถ้า
สามารถเปลี่ยนยีนที่ผิดปกติของผู้ป่วยให้เป็นยีนปกติได้ ผู้ป่วยจะหายจากความเจ็บป่วยนั้น ๆ ซึ่งทาได้โดยการตัดต่อยีน
ที่ปกติใส่เข้าไปยังเซลล์ที่มียีนที่ผิดปกติของผู้ป่วย เมื่อเซลล์ที่ผิดปกติของผู้ป่วยเปลี่ยนเป็นเซลล์ที่ปกติ ผู้ป่วยจะ
กลายเป็นคนปกติที่มีสุขภาพที่ดีขึ้นในที่สุด ปัจจุบัน การรักษาด้วยยีนบาบัดประสบความสาเร็จได้กับบางโรคเท่านั้น
เช่น โรค cystic fibrosis ซึ่งเป็นโรคที่ทาให้ร่างกายสร้างเยื่อเมือกที่หนามากผิดปกติในปอดและลาไส้ โดยผู้ที่เป็นโรคนี้
จะหายใจลาบากเนื่องจากปอดจะเต็มไปด้วยเยื่อเมือกหนาและอาจทาให้ปอดติดเชื้อแบคทีเรียได้ง่าย หรือถ้าหากมีเยื่อ
เมือกหนาภายในลาไส้จะทาให้ระบบการย่อยอาหารลาบาก โรคนี้พบน้อยในคนไทยแต่จะพบมากในกลุ่มคนที่มาจาก
ยุโรปตอนเหนือ นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์กาลังศึกษาวิจัยยีนบาบัดในโรคต่าง ๆ เช่น โรคฮีโมฟิเลีย และโรคมะเร็ง ซึง         ่
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในอนาคต หรือจีนบาบัด (Gene therapy) ดังตัวอย่างต่อไปนี้
           1. การตรวจวินิจฉัย แก้ไขปัญหาโรคสภาวะพันธุกรรมของเด็กก่อนเกิด โดยใช้น้าคร่าตรวจ
หาดีเอ็นเอที่ผิดปกติ จากนั้นจึงทาการแก้ไขดีเอ็นเอที่ผิดปกติ
           2. การป้องกันรักษาโรคโดยใช้สารซึ่งอาจอยู่ในรูปของวัคซีน ฮอร์โมนหรืออินเทอเฟียรอน ดังได้กล่าวมาแล้ว
           3. การรักษาโรคซิกเกิล เซลล์ อะนีเมีย ด้วยจีน โดยนาเซลล์ไขกระดูกของผู้ป่วยออกมาเลี้ยง คัดเลือกจีนของ
ฮีโมโกลบินปกติถ่ายเข้าไปในเซลล์ไขกระดูก เลี้ยงเซลล์ไขกระดูกต่อไปจนได้ปริมาณมากเพียงพอ กาจัดเซลล์ไขกระดูก
ที่สร้างฮีโมโกลบินผิดปกติของผู้ป่วยให้หมดด้วยการฉายรังสีเอกซ์ แล้วถ่ายเซลล์ไขกระดูกที่มีจีนปกติเข้าไปแทนที่
         4. การวินิจฉัยโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เช่น การตรวจหาไวรัสเอดส์ในเลือดมนุษย์ โดยใช้
เทคนิคพีซีอาร์สามารถตรวจได้ตั้งแต่ระยะแรก ๆ ไม่ต้องรอนานถึง 3 เดือน
                   3.3 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางการเกษตร การเกษตรในปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีพันธุ
วิศวกรรมเข้ามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ ทาให้เกิดพืชและสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม ตัวอย่างพืชดัดแปลง
พันธุกรรม เช่นการสร้างพืชพวกยาสูบ แตงกวา ส้มที่สามารถต้านทานต่อสภาพแห้งแล้ง ต้านทานสภาพดินเปรี้ยวหรือ
ดินเค็ม ต้านทานต่อไวรัสที่ทาให้เกิดโรคต่าง ๆ โดยการถ่ายจีนต้านทานการบุกของไวรัสเข้าไปในพืชการสร้างพืชที่
สามารถตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศได้ การควบคุมการสุกของพืชพวกมะเขือเทศโดยใช้เอนไซม์พอลิกาแลกทูโรเนส
(Polygalacturonase) ซึ่งจะทาให้ผลสุกแต่ไม่นิ่ม การสร้างพืชต้านแมลงโดยถ่ายจีนที่ควบคุมการสร้างสารพิษจาก
แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis เข้าสู่ต้นพืช เช่น ยาสูบ มะเขือเทศ ฝ้าย ข้าวโพด เมื่อแมลงมากินใบพืชที่มีจีนนี้
แมลงก็จะตาย หรือการสร้างพืชที่มีคุณค่าทางอาหารมากขึ้น เช่น การสร้างพันธุ์ข้าวที่เพิ่มธาตุเหล็ก (Iron) และวิตามิน
เอ (Betacarotene) โดยการตัดต่อจีน
                                                                                                                         ครูแป๋ว
                                                                                                                           By
                                                                                                                         ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ          10




                              ภาพที่ 8 การสร้างสายพันธุ์ข้าวที่เพิ่มธาตุเหล็กและวิตามินเอ
          3.4 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางนิติเวช สามารถใช้เทคโนโลยีการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอพิสูจน์
ความสัมพันธ์ทางสายเลือด เช่น กรณีการพิสูจน์ความเป็นพ่อลูกของเด็กที่ถูกอ้างว่าเป็นลูกของนักร้องลูกทุ่งชื่อดังมนต์
สิทธิ์ คาสร้อย และใช้เป็นหลักฐานในทางศาลได้ด้วย เนื่องจากอาศัยความจริงที่ว่าลูกต้องได้รับดีเอ็นเอจากพ่อและแม่
อย่างละครึ่ง หลักการนาลายพิมพ์ดีเอ็นเอมาแปลผล คือ เมื่อเปรียบเทียบลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกกับพ่อแม่ ลายพิมพ์ดี
เอ็นเอของลูกต้องประกอบด้วยแถบดีเอ็นเอที่มาจากพ่อและแม่เท่านั้น หากพบว่าแถบ ดีเอ็นเอของลูกแม้เพียง 1 แถบ
ไม่ตรงกับพ่อหรือแม่ สามารถสรุปได้ทันทีว่าไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างพ่อและลูก หรือแม่และลูก




                                      ภาพที่ 9 การพิสูจน์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
       3.4 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมด้านสิ่งแวดล้อมการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่สามารถ
ย่อยสลายสารอินทรีย์และของเสียในสิ่งแวดล้อม หรือเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นแอลกอฮอล์ หรือสร้างแบคทีเรียที่มี
พลาสมิดซึ่งสามารถย่อยสลายองค์ประกอบที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เพื่อนาไปถ่ายให้แบคทีเรียที่อยู่ใน
ทะเล ทาให้สามารถขจัดคราบน้ามันในน้าได้
                                                                                                                   ครูแป๋ว
                                                                                                                     By
                                                                                                                   ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ            11


                                    แบบฝึกหัดเรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
1.แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
2. เอนไซม์ตัดจาเพาะแต่ละชนิดมีลาดับเบสจาเพาะเท่ากันหรือไม่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
3. ลาดับเบสจาเพาะของเอนไซม์ตัดจาเพาะแต่ละชนิดมีลักษณะร่วมกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
4. การเชื่อมสาย DNA ปลายทู่จะเหมือนหรือต่างจากการเชื่อมสาย DNA ปลายเหนียวอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
5. นักเรียนได้ DNA สายผสมในรูปของพลาสมิดที่มี DNA ที่ต้องการแทรกอยู่ทั้งหมดกี่วง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
6. ถ้ามีแบคทีเรียที่พร้อมรับพลาสมิดเข้าสู่เซลล์จานวน 10 เซลล์ ถ้าโมเลกุล DNA จาลองที่นักเรียนสร้างขึ้นจะเข้าเซลล์
ได้เพียง 1 โมเลกุลแล้ว นักเรียนจะนาที่มีพลาสมิดที่มี DNA ที่ ต้องการทั้ง 10 โมเลกุล ที่สร้างขึ้นไปเลี้ยงบนอาหาร
เลี้ยงเชื้อที่มียาปฏิชีวนะ ซึ่งพลาสมิดสี เขียวจะมียีนต้านทานยาปฏิชีวนะอยู่ แบคทีเรีย 1 เซลล์ที่เติบโตได้จะกลายเป็น
โคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ 1 โคโลนี นักเรียนคิดว่าบนอาหารเลี้ยงเชื้อจะมีโคโลนีเกิดขึ้นกี่โคโลนี ทุกโคโลนีที่เกิดขึ้นมี
ส่วนของยีนที่ต้องการ (กระดาษสีแดง) อยู่หรือไม่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                                                                       ครูแป๋ว



………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                                                                         By




………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
                                                                                                                       ชีววิทยาน่ารู้




………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ   12


7. นักเรียนทราบได้อย่างไรว่าโคโลนีใดมีพลาสมิดที่มีส่วนของ DNA ที่ต้องการแทรกอยู่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
8. การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิคพอลิเมอเรสเชนรีแอกชันหรือพีซีอาร์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
9. จากภาพ ชิ้นส่วน DNA ได้จากการตัดด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะ ซึ่งเป็น 1 ยีนที่ประกอบด้วย 10 โคดอน และแต่ละ
ส่วนมีลาดับเบสบางส่วนซ้ากัน เมื่อนาชิ้นส่วนเหล่านี้มา ต่อกันจะมีลาดับเบสอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
10.แนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุวิศวกรรม และการโคลนยีนไปใช้ประโยชน์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
11. สรุปเกี่ยวกับพันธุวิศวกรรม และการโคลนยีน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
                                                                                                           ครูแป๋ว
                                                                                                             By
                                                                                                           ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ   13


                                          แบบฝึกหัดที่ 2
   1. จากการวิเคราะห์ลายพิมพ์ DNA ในภาพ




        - สามีภรรยาคู่หนึ่งมีลูกสาว 2 คน ลูกชาย 2 คน จงวิเคราะห์ว่าลูกคนใดเป็นลูกแท้จริง คนใด
         เป็นลูกติดแม่ และคนใดเป็นลูกบุญธรรม
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………..
   2. จงยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ DNA ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์
       ในเชิงการเกษตร และในเชิงสิ่งแวดล้อม มาอย่างละ 1 ตัวอย่าง
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
   .
3. ขั้นตอนการสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) เป็นอย่างไร
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

   4. สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) เป็นอย่างไร มีจุดเด่น จุดด้อย และจุดน่าสนใจ อย่างไร
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   …………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………….………..
   5.การใช้พันธุศาสตร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหายีนและหน้าที่ของยีนเป็นอย่างไร
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                                                      ครูแป๋ว



   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
   6. จงอธิบายถึงการบาบัดด้วยยีน
                                                                                                        By




   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                                                                                                      ชีววิทยาน่ารู้




   ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

   Biologynsp.wordpress.com
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ   14


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

7. จงอธิบายถึงจริยธรรมในการใช้พันธุวิศวกรรมในคน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..
8. จงอธิบายถึงการนาเทคนิคพันธุวิศวกรรมมาใช้ในการคัดเลือกพันธ์พืช

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………..
9. จงอธิบายถึงอันตรายที่อาจเป็นไปได้ที่ผลิตภัณฑ์อาหารมาจากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………..
10. แนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนมไปใช้ประโยชน์

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………..
11. สรุปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………..
                                                                                                        ครูแป๋ว
                                                                                                          By
                                                                                                        ชีววิทยาน่ารู้




Biologynsp.wordpress.com

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Tendances (20)

แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

En vedette

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
Molecular genetics
Molecular genetics Molecular genetics
Molecular genetics Biobiome
 
Vidyut India | Blue Berry Asia
Vidyut India | Blue Berry AsiaVidyut India | Blue Berry Asia
Vidyut India | Blue Berry AsiaBlueBerryAsia
 
Idol databases3
Idol databases3Idol databases3
Idol databases3Kieffala
 
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300Dyplast Products
 
Program of Study CTSO's for Culinary
Program of Study CTSO's for CulinaryProgram of Study CTSO's for Culinary
Program of Study CTSO's for CulinaryRachael Mann
 
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVE
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVEELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVE
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVEUCT ICO
 
Ventajas de moodle
Ventajas de moodleVentajas de moodle
Ventajas de moodleStella Avaro
 
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacji
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacjiDlaczego ludzie boją się prywatyzacji
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacjiannatrawka
 
Logic and scientific method
Logic and scientific methodLogic and scientific method
Logic and scientific methodBachtiar Idris
 
Health and safety ppe
Health and safety ppeHealth and safety ppe
Health and safety ppehpinn
 

En vedette (19)

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
Molecular genetics
Molecular genetics Molecular genetics
Molecular genetics
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Vidyut India | Blue Berry Asia
Vidyut India | Blue Berry AsiaVidyut India | Blue Berry Asia
Vidyut India | Blue Berry Asia
 
Idol databases3
Idol databases3Idol databases3
Idol databases3
 
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
 
Program of Study CTSO's for Culinary
Program of Study CTSO's for CulinaryProgram of Study CTSO's for Culinary
Program of Study CTSO's for Culinary
 
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVE
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVEELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVE
ELECTRONIC CIGARETTES IN THE EU TOBACCO PRODUCTS DIRECTIVE
 
Ventajas de moodle
Ventajas de moodleVentajas de moodle
Ventajas de moodle
 
Lee Forde
Lee FordeLee Forde
Lee Forde
 
321 unit 9 logistics
321 unit 9 logistics321 unit 9 logistics
321 unit 9 logistics
 
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacji
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacjiDlaczego ludzie boją się prywatyzacji
Dlaczego ludzie boją się prywatyzacji
 
ccnp route 642 902
ccnp route 642 902ccnp route 642 902
ccnp route 642 902
 
Logic and scientific method
Logic and scientific methodLogic and scientific method
Logic and scientific method
 
Planeación
PlaneaciónPlaneación
Planeación
 
Parcheggiami pitch
Parcheggiami pitchParcheggiami pitch
Parcheggiami pitch
 
Health and safety ppe
Health and safety ppeHealth and safety ppe
Health and safety ppe
 

Similaire à เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ

เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาkruthai40
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยRsmay Saengkaew
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 

Similaire à เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ (20)

เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
เผยแฟร่
เผยแฟร่เผยแฟร่
เผยแฟร่
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 

Plus de Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 

Plus de Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 1 เอกสารประกอบการสอน เรื่องพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ รวบรวมโดย นางอังสนา แสนเยีย ตาแหน่งครู ครูแป๋ว โรงเรียนหนองซนพิทยาคม By สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 2. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 2 คาชี้แจง คู่มือเอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยาเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้สอนเข้าใจขอบเขตของเนื้อหาสาระที่สื่อ ประกอบการสอนเรื่องนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมความ เข้าใจในเนื้อหาบทเรียนของผู้เรียน กระตุ้นความสนใจ ให้ความกระจ่างเกี่ยวกับศัพท์ทางวิชาการที่ควรทราบ และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้บูรณาการความรู้ที่ได้รับโดยการอภิปรายร่วมกัน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึน โดยเอกสารในเล่มนี้ มีหัวข้อดังต่อไปนี้ ้ 1. แนะนาพันธุวิศวกรรม 2. ขั้นตอนของพันธุวิศวกรรม 3. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms: GMOs) 4. ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมด้านต่างๆ 5. แบบฝึกหัด อังสนา แสนเยีย ผูเรียบเรียง ้ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 3 เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 1. แนะนาพันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตมาใช้ใน การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย์ด้วยการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อความสวยงาม และการ สังเคราะห์สารเคมีต่างๆ พันธุกรรม (Heridity) คือ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดจาก พ่อแม่ ไปสู่ ลูกหลาน ครูแป๋ว By ภาพที่ 1 แผนผังมโนทัศน์เทคโนโลยีพันธุกรรม ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 4. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 4 1.1 พันธุวิศวกรรม เป็นกระบวนการทางชีววิทยาระดับโมเลกุล ที่ทาโดยการนายีนจาก สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้สิ่งมีชีวิตที่ได้รับยีนมีลักษณะตามที่ต้องการ การ ที่จะนายีนใส่เข้าไปในสิ่งมีชีวิตนั้นต้องอาศัย ดีเอ็นเอพาหะ (vector) ที่นิยมใช้คือ พลาสมิด ในการพายีน เข้าไปในเซลล์ โดยนายีนที่สนใจใส่เข้าไปในพลาสมิด จากนั้นจึงทาการเพิ่มปริมาณยีนที่อยู่ในพลาสมิดให้มี จานวนมากเท่าที่ต้องการ แล้วจึงใส่พลาสมิดที่มียีนเข้าไปในสิ่งมีชีวิตเป้าหมาย ซึ่งพลาสมิดที่เข้าไปใน เซลล์นั้นอาจยังคงเป็นพลาสมิดวงปิด และเข้าไปในเซลล์โดยไม่ได้มีการสอดแทรกเข้าไปในโครโมโซมของ เซลล์เจ้าบ้านแต่อย่างใด เมื่อเกิดการจาลองตัวในแต่ละรอบ พลาสมิดจะเพิ่มจานวนไปด้วย แต่มีโอกาสที่พ ลาสมิดจะหายไปจากเซลล์ได้ อีกกรณีหนึ่งคือพลาสมิดมีการสอดแทรกเข้าไปในโครโมโซมของเซลล์เจ้า บ้านและเพิ่มจานวน ซึ่งถ้าเป็นในกรณีนี้พลาสมิดจะไม่หลุดหายไปไหนแม้จะมีการจาลองตัวหลายครั้ง แต่ จะเพิ่มจานวนตามการจาลองตัวเพิ่มขึ้นของโครโมโซมเซลล์เจ้าบ้าน ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ ภาพที่ 2 ขั้นตอนพันธุวิศวกรรม Biologynsp.wordpress.com
  • 5. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 5 1.2 พลาสมิดคืออะไร พลาสมิด คือ ดีเอ็นเอที่โมเลกุลมีลักษณะเป็นวงปิด พลาสมิดไม่ได้อยู่ใน โครโมโซม พบในเซลล์แบคทีเรีย และมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม โดยขนาดของพลาสมิดมีความหลากหลาย ตั้งแต่ 1 กิโลเบส ไปจนถึง 1,000 กิโลเบส จานวนของพลาสมิดในเซลล์มีความหลากหลายเช่นเดียวกัน มี ตั้งแต่ 1 วง ไปจนถึงหลายพันวง พลาสมิดมียีนอยู่จานวนไม่มากเท่ากับยีนบนโครโมโซม สามารถจาลอง ตัวเองได้เองโดยไม่ขึ้นกับโครโมโซมเนื่องจากมีจุดเริ่มต้นของกระบวนการจาลองตัว (origin of replication) เป็นของตัวเอง พลาสมิดมียีนที่ต้านทานต่อยาปฏิชีวนะอยู่ (รูปที่ 4) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ เซลล์แบคทีเรียที่มี พลาสมิดนี้อยู่ เนื่องจากจะทาให้แบคทีเรียมีชีวิตอยู่รอดได้ในสภาวะที่มียาปฏิชีวนะนั้น ภาพที่ 3 โครงสร้างพลาสมิดที่ประกอบด้วยจุดเริ่มต้นของกระบวนการจาลองตัว (origin of replication; ori) (สีสม) และยีนต้านทานต่อยาปฏิชีวนะ(Ampr) (สีน้าเงิน) ้ 1.3 การนาพลาสมิดมาใช้ในพันธุวิศวกรรม ในกระบวนการพันธุวิศวกรรมนั้นจะต้องมีตัวพายีนที่สนใจ เข้าสู่เซลล์ เพื่อให้เซลล์ที่ต้องการมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะตามยีนที่ใส่เข้าไป เรียกตัวพาว่า ดีเอ็นเอพาหะ (DNA vector) ซึ่งมีอยู่มากมายหลายชนิด พลาสมิดก็เป็นหนึ่งในดีเอ็นเอพาหะนั้นด้วย การที่จะนายีนที่สนใจเข้าสู่เซลล์อาจ ทาได้โดยการตัดต่อยีนนั้นเข้ากับพลาสมิดเกิดเป็นดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) เป็นดีเอ็นเอที่เกิดจากการตัด ต่อยีนในห้องปฏิบัติการ ซึ่งเป็นการนายีนหรือสารพันธุกรรมจากแหล่งต่างกันมาต่อเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ยีนหรือสาร ครูแป๋ว พันธุกรรมในรูปแบบใหม่ที่ไม่มีในธรรมชาติ By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 6. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 6 ภาพที่ 4 การตัดต่อยีนที่สนใจเข้ากับดีเอ็นเอพาหะได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม 2. ขั้นตอนของพันธุวิศวกรรม 1. ศึกษาค้นคว้าหายีนที่ควบคุมลักษณะที่สนใจ 2. เพิ่มปริมาณยีนที่ควบคุมลักษณะที่สนใจด้วยกระบวนการที่เรียกว่า polymerase chain reaction (PCR) ซึ่งเป็นกระบวนการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง โดยสามารถเลือกบริเวณดีเอ็นเอที่ต้องการเพิ่มจานวนได้ 3. ตัดต่อยีนที่สนใจเข้าไปยังพลาสมิดที่มีลักษณะเป็นวงซึ่งต้องถูกตัดให้เปิดออกด้วยเอนไซม์ชนิดหนึ่งซึ่ง รายละเอียดจะได้กล่าวในบทขั้นตอนของพันธุวิศวกรรมต่อไป 4. เมื่อได้พลาสมิดที่มียีนที่สนใจอยู่ซึ่งจะเรียกว่า ดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) แล้วจะทาการเพิ่ม ปริมาณดีเอ็นเอสายผสมนี้โดยการใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้ว่า ทรานสฟอร์เมชัน (transformation) จากนั้นทาการเพิ่มเซลล์แบคทีเรียในอาหารเลี้ยง เมื่อแบคทีเรียมีการแบ่งเซลล์ดีเอ็นเอสายผสมจะเพิ่มจานวนตามไป ด้วย ทาให้ในทุกรอบของการแบ่งเซลล์จะมีดีเอ็นเอสายผสมเพิ่มจานวนขึ้น (รายละเอียดอยู่ในบท ขั้นตอนของพันธุ วิศวกรรม) 5. เมื่อได้ปริมาณดีเอ็นเอสายผสมในปริมาณที่ต้องการแล้ว จึงนาดีเอ็นเอสายผสมนี้ไปใส่ในสิ่งมีชีวิตเป้าหมาย เพื่อให้มีลักษณะตามที่ต้องการ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ ภาพที่ 5 ขั้นตอนการตัดต่อพันธุวิศวกรรม Biologynsp.wordpress.com
  • 7. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 7 2.1 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ( Genetically Modified Organisms; GMO) สิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปรง พันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่ผ่านกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมมาแล้วนั่นเอง กล่าวคือ เป็นสิ่งมีชีวิตที่นักวิทยาศาสตร์ได้ ตัดต่อยีนที่สนใจที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการเข้ากับ ดีเอ็นเอพาหะ ได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม จากนั้นนาดีเอ็นเอสายผสมนี้ เข้าสู่เซลล์ ในชีวิตประจาวันเรามักจะได้ยินคาว่าพืช GMO บ่อยครั้ง ซึ่งความหมายของพืช GMO ก็คือ พืชดัดแปร พันธุกรรมให้ได้ลักษณะตามที่เราต้องการ ตัวอย่างเช่น ฝ้าย เมื่อใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรมจะทาให้ฝ้ายนั้นเป็นพืช GMO ที่มีความต้านทานต่อการเข้าทาลายของแมลงได้ โดยการถ่ายยีนที่สร้างสารพิษจากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Bacillus thuringienesis (BT) ทาให้ฝ้ายสามารถต้านทานต่อการเข้าทาลายของแมลงได้ในที่สุด หรืออีกหนึ่งตัวอย่าง คือ การ ผลิตมะเขือเทศ GMO ที่ทางประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ศึกษาและสามารถส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศได้สาเร็จ มาแล้ว ประโยชน์ของมะเขือเทศ GMO คือ สามารถชะลอให้มะเขือเทศสุกช้าลง โดยการตัดต่อยีนที่มีความสามารถใน การยับยั้งการทางานของเอนไซม์ ที่มีชื่อว่า polygalacturonase (PG) โดยเอนไซม์ PG นี้ทาหน้าที่ย่อย เพคติน (pectin) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ (cell wall) โดยหน้าที่ปกติของเพคติน คือ การช่วยให้เซลล์ยังคงสภาพอยู่ ได้ แต่ถ้าเมื่อใดที่ เพคตินถูกย่อยโดยเอนไซม์ PG แล้ว จะทาให้เซลล์ไม่สามารถคงสภาพแบบเดิมได้ ส่งผลให้มะเขือเทศ สุกงอมได้ง่ายและผลจะนิ่มเละ ทาให้ไม่สามารถส่งออกไปขายยังที่ไกลๆ ได้ ดังนั้น เมื่อตัดต่อยีนที่ไปยับยั้งเอนไซม์ PG นี้จะช่วยให้มะเขือเทศสุกช้าลง ทาให้สามารถส่งออกไปขายยังมลรัฐที่ไกล ๆ หรือต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น ครูแป๋ว ภาพที่ 6 สิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรม By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 8. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 8 3. ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมในด้านต่างๆ 3.1 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมต่อภาคอุตสาหกรรมยา โรคที่เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมเข้าไปมีบทบาทสาคัญ คือ โรคเบาหวาน ซึ่งโรคนี้เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับ น้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือประสิทธิภาพของอินซูลินที่ลดลง เพราะภาวะดื้อต่อ อินซูลินจึงส่งผลให้น้าตาลในเลือดสูงขึ้นเป็นเวลานาน และส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามอวัยวะต่างๆ ตามมาได้ เช่น ผู้ป่วยเบาหวานบางคนอาจตาบอด เนื่องจากการมีน้าตาลในกระแสเลือดเป็นระยะเวลานาน จะทาให้เกิดโรคแทรกซ้อน ที่เกิดกับหลอดเลือดเล็กภายในลูกตา ทาให้มีเลือดออกภายในลูกตา และอาจมีเนื้อเยื่อคล้ายพังผืดงอกตามเส้นเลือด และดึงรั้งให้ชั้นของประสาทตาลอก หรืออาจจะต้องถูกตัดเท้า เนื่องจากผู้ป่วยเบาหวานจะมีการเสื่อมของหลอดเลือด ทาให้หลอดเลือดตีบแคบ เลือดไปเลี้ยงที่เท้าน้อยลง ส่งผลให้มีแผลติดเชื้อและลุกลามได้ง่ายเพราะมีเลือดมาเลี้ยงน้อย ทาให้บริเวณนั้นขาดภูมิคุ้มกันที่จะต่อต้านเชื้อโรค ถ้าดูแลรักษาไม่ถูกวิธีจะทาให้แผลลุกลามจนไม่สามารถรักษาได้ ด้วย เหตุนี้ในวงการแพทย์จึงจัดให้โรคเบาหวานเป็นปัญหาทางสาธารณสุข ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงค้นคว้าวิธีการที่จะช่วย ให้แพทย์ทาการรักษาผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในที่สุดนักวิทยาศาสตร์สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินโดย ใช้หลักการทางพันธุวิศวกรรม และนามาฉีดให้กับผู้ป่วยเบาหวานได้ โดยขั้นแรกนักวิทยาศาสตร์ได้ตัดยีนที่ทาหน้าที่ ควบคุมการสร้างฮอร์โมนอินซูลินของมนุษย์มาต่อเข้ากับดีเอ็นเอพาหะ ได้แก่ พลาสมิดของแบคทีเรีย ได้เป็นดีเอ็นเอ สายผสม จากนั้นนาดีเอ็นเอสายผสมใส่เข้าไปยังเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งปกติไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลิน ทาให้ กลายเป็นแบคทีเรียชนิดใหม่ที่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้ และทาการคัดเลือกแบคทีเรียที่มีความสามารถนี้ไปเลี้ยง เพื่อเพิ่มจานวนให้มีปริมาณมากเพียงพอ ท้ายที่สุดสู่กระบวนการผลิตเพื่อสกัดอินซูลินและได้ฮอร์โมนอินซูลินที่สามารถ นาไปรักษาคนไข้ได้ต่อไป ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 9. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 9 ภาพที่ 7 ขั้นตอนการผลิตอินซูลินจากแบคทีเรีย 3.2 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางการแพทย์ นอกจากนี้พันธุวิศวกรรมยังเป็นประโยชน์ทางการแพทย์ โดยสามารถนาไปใช้ในยีนบาบัด (gene therapy) โดยมีหลักการ คือ เมื่อเกิดโรคที่มาจากความผิดปกติของยีน ถ้า สามารถเปลี่ยนยีนที่ผิดปกติของผู้ป่วยให้เป็นยีนปกติได้ ผู้ป่วยจะหายจากความเจ็บป่วยนั้น ๆ ซึ่งทาได้โดยการตัดต่อยีน ที่ปกติใส่เข้าไปยังเซลล์ที่มียีนที่ผิดปกติของผู้ป่วย เมื่อเซลล์ที่ผิดปกติของผู้ป่วยเปลี่ยนเป็นเซลล์ที่ปกติ ผู้ป่วยจะ กลายเป็นคนปกติที่มีสุขภาพที่ดีขึ้นในที่สุด ปัจจุบัน การรักษาด้วยยีนบาบัดประสบความสาเร็จได้กับบางโรคเท่านั้น เช่น โรค cystic fibrosis ซึ่งเป็นโรคที่ทาให้ร่างกายสร้างเยื่อเมือกที่หนามากผิดปกติในปอดและลาไส้ โดยผู้ที่เป็นโรคนี้ จะหายใจลาบากเนื่องจากปอดจะเต็มไปด้วยเยื่อเมือกหนาและอาจทาให้ปอดติดเชื้อแบคทีเรียได้ง่าย หรือถ้าหากมีเยื่อ เมือกหนาภายในลาไส้จะทาให้ระบบการย่อยอาหารลาบาก โรคนี้พบน้อยในคนไทยแต่จะพบมากในกลุ่มคนที่มาจาก ยุโรปตอนเหนือ นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์กาลังศึกษาวิจัยยีนบาบัดในโรคต่าง ๆ เช่น โรคฮีโมฟิเลีย และโรคมะเร็ง ซึง ่ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในอนาคต หรือจีนบาบัด (Gene therapy) ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. การตรวจวินิจฉัย แก้ไขปัญหาโรคสภาวะพันธุกรรมของเด็กก่อนเกิด โดยใช้น้าคร่าตรวจ หาดีเอ็นเอที่ผิดปกติ จากนั้นจึงทาการแก้ไขดีเอ็นเอที่ผิดปกติ 2. การป้องกันรักษาโรคโดยใช้สารซึ่งอาจอยู่ในรูปของวัคซีน ฮอร์โมนหรืออินเทอเฟียรอน ดังได้กล่าวมาแล้ว 3. การรักษาโรคซิกเกิล เซลล์ อะนีเมีย ด้วยจีน โดยนาเซลล์ไขกระดูกของผู้ป่วยออกมาเลี้ยง คัดเลือกจีนของ ฮีโมโกลบินปกติถ่ายเข้าไปในเซลล์ไขกระดูก เลี้ยงเซลล์ไขกระดูกต่อไปจนได้ปริมาณมากเพียงพอ กาจัดเซลล์ไขกระดูก ที่สร้างฮีโมโกลบินผิดปกติของผู้ป่วยให้หมดด้วยการฉายรังสีเอกซ์ แล้วถ่ายเซลล์ไขกระดูกที่มีจีนปกติเข้าไปแทนที่ 4. การวินิจฉัยโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เช่น การตรวจหาไวรัสเอดส์ในเลือดมนุษย์ โดยใช้ เทคนิคพีซีอาร์สามารถตรวจได้ตั้งแต่ระยะแรก ๆ ไม่ต้องรอนานถึง 3 เดือน 3.3 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางการเกษตร การเกษตรในปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีพันธุ วิศวกรรมเข้ามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ ทาให้เกิดพืชและสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม ตัวอย่างพืชดัดแปลง พันธุกรรม เช่นการสร้างพืชพวกยาสูบ แตงกวา ส้มที่สามารถต้านทานต่อสภาพแห้งแล้ง ต้านทานสภาพดินเปรี้ยวหรือ ดินเค็ม ต้านทานต่อไวรัสที่ทาให้เกิดโรคต่าง ๆ โดยการถ่ายจีนต้านทานการบุกของไวรัสเข้าไปในพืชการสร้างพืชที่ สามารถตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศได้ การควบคุมการสุกของพืชพวกมะเขือเทศโดยใช้เอนไซม์พอลิกาแลกทูโรเนส (Polygalacturonase) ซึ่งจะทาให้ผลสุกแต่ไม่นิ่ม การสร้างพืชต้านแมลงโดยถ่ายจีนที่ควบคุมการสร้างสารพิษจาก แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis เข้าสู่ต้นพืช เช่น ยาสูบ มะเขือเทศ ฝ้าย ข้าวโพด เมื่อแมลงมากินใบพืชที่มีจีนนี้ แมลงก็จะตาย หรือการสร้างพืชที่มีคุณค่าทางอาหารมากขึ้น เช่น การสร้างพันธุ์ข้าวที่เพิ่มธาตุเหล็ก (Iron) และวิตามิน เอ (Betacarotene) โดยการตัดต่อจีน ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 10. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 10 ภาพที่ 8 การสร้างสายพันธุ์ข้าวที่เพิ่มธาตุเหล็กและวิตามินเอ 3.4 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมทางนิติเวช สามารถใช้เทคโนโลยีการตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอพิสูจน์ ความสัมพันธ์ทางสายเลือด เช่น กรณีการพิสูจน์ความเป็นพ่อลูกของเด็กที่ถูกอ้างว่าเป็นลูกของนักร้องลูกทุ่งชื่อดังมนต์ สิทธิ์ คาสร้อย และใช้เป็นหลักฐานในทางศาลได้ด้วย เนื่องจากอาศัยความจริงที่ว่าลูกต้องได้รับดีเอ็นเอจากพ่อและแม่ อย่างละครึ่ง หลักการนาลายพิมพ์ดีเอ็นเอมาแปลผล คือ เมื่อเปรียบเทียบลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกกับพ่อแม่ ลายพิมพ์ดี เอ็นเอของลูกต้องประกอบด้วยแถบดีเอ็นเอที่มาจากพ่อและแม่เท่านั้น หากพบว่าแถบ ดีเอ็นเอของลูกแม้เพียง 1 แถบ ไม่ตรงกับพ่อหรือแม่ สามารถสรุปได้ทันทีว่าไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างพ่อและลูก หรือแม่และลูก ภาพที่ 9 การพิสูจน์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ 3.4 ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรมด้านสิ่งแวดล้อมการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่สามารถ ย่อยสลายสารอินทรีย์และของเสียในสิ่งแวดล้อม หรือเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นแอลกอฮอล์ หรือสร้างแบคทีเรียที่มี พลาสมิดซึ่งสามารถย่อยสลายองค์ประกอบที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เพื่อนาไปถ่ายให้แบคทีเรียที่อยู่ใน ทะเล ทาให้สามารถขจัดคราบน้ามันในน้าได้ ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 11. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 11 แบบฝึกหัดเรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 1.แต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 2. เอนไซม์ตัดจาเพาะแต่ละชนิดมีลาดับเบสจาเพาะเท่ากันหรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 3. ลาดับเบสจาเพาะของเอนไซม์ตัดจาเพาะแต่ละชนิดมีลักษณะร่วมกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 4. การเชื่อมสาย DNA ปลายทู่จะเหมือนหรือต่างจากการเชื่อมสาย DNA ปลายเหนียวอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 5. นักเรียนได้ DNA สายผสมในรูปของพลาสมิดที่มี DNA ที่ต้องการแทรกอยู่ทั้งหมดกี่วง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 6. ถ้ามีแบคทีเรียที่พร้อมรับพลาสมิดเข้าสู่เซลล์จานวน 10 เซลล์ ถ้าโมเลกุล DNA จาลองที่นักเรียนสร้างขึ้นจะเข้าเซลล์ ได้เพียง 1 โมเลกุลแล้ว นักเรียนจะนาที่มีพลาสมิดที่มี DNA ที่ ต้องการทั้ง 10 โมเลกุล ที่สร้างขึ้นไปเลี้ยงบนอาหาร เลี้ยงเชื้อที่มียาปฏิชีวนะ ซึ่งพลาสมิดสี เขียวจะมียีนต้านทานยาปฏิชีวนะอยู่ แบคทีเรีย 1 เซลล์ที่เติบโตได้จะกลายเป็น โคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ 1 โคโลนี นักเรียนคิดว่าบนอาหารเลี้ยงเชื้อจะมีโคโลนีเกิดขึ้นกี่โคโลนี ทุกโคโลนีที่เกิดขึ้นมี ส่วนของยีนที่ต้องการ (กระดาษสีแดง) อยู่หรือไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครูแป๋ว ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… By ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. ชีววิทยาน่ารู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. Biologynsp.wordpress.com
  • 12. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 12 7. นักเรียนทราบได้อย่างไรว่าโคโลนีใดมีพลาสมิดที่มีส่วนของ DNA ที่ต้องการแทรกอยู่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 8. การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิคพอลิเมอเรสเชนรีแอกชันหรือพีซีอาร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 9. จากภาพ ชิ้นส่วน DNA ได้จากการตัดด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะ ซึ่งเป็น 1 ยีนที่ประกอบด้วย 10 โคดอน และแต่ละ ส่วนมีลาดับเบสบางส่วนซ้ากัน เมื่อนาชิ้นส่วนเหล่านี้มา ต่อกันจะมีลาดับเบสอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 10.แนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุวิศวกรรม และการโคลนยีนไปใช้ประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 11. สรุปเกี่ยวกับพันธุวิศวกรรม และการโคลนยีน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com
  • 13. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 13 แบบฝึกหัดที่ 2 1. จากการวิเคราะห์ลายพิมพ์ DNA ในภาพ - สามีภรรยาคู่หนึ่งมีลูกสาว 2 คน ลูกชาย 2 คน จงวิเคราะห์ว่าลูกคนใดเป็นลูกแท้จริง คนใด เป็นลูกติดแม่ และคนใดเป็นลูกบุญธรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. 2. จงยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ DNA ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์ ในเชิงการเกษตร และในเชิงสิ่งแวดล้อม มาอย่างละ 1 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. . 3. ขั้นตอนการสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) เป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) เป็นอย่างไร มีจุดเด่น จุดด้อย และจุดน่าสนใจ อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………….……….. 5.การใช้พันธุศาสตร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหายีนและหน้าที่ของยีนเป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ครูแป๋ว ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. จงอธิบายถึงการบาบัดด้วยยีน By ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชีววิทยาน่ารู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… Biologynsp.wordpress.com
  • 14. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 14 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. จงอธิบายถึงจริยธรรมในการใช้พันธุวิศวกรรมในคน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………….. 8. จงอธิบายถึงการนาเทคนิคพันธุวิศวกรรมมาใช้ในการคัดเลือกพันธ์พืช ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………….. 9. จงอธิบายถึงอันตรายที่อาจเป็นไปได้ที่ผลิตภัณฑ์อาหารมาจากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….. 10. แนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนมไปใช้ประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………….. 11. สรุปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….. ครูแป๋ว By ชีววิทยาน่ารู้ Biologynsp.wordpress.com