SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
บทปฏิบัติการทดลองที่ 7
                                โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                   เรื่อง หนาที่พิเศษของใบ

                             เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของใบพืชดอก

จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได
       1. บอกลักษณะพิเศษของใบพืชที่นํามาศึกษาได
       2. จําแนกชนิดของใบตามลักษณะพิเศษได
       3. ทํากิจกรรมและสรุปผลการทํากิจกรรมได

หลักการ / ทฤษฎี

       ใบ (leaf) เปนสวนของพืชที่เจริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของ
ขอ ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช
ใบมีหนาที่สําคัญ คือ สรางอาหารดวยวิธการสังเคราะหดวยแสง (photosynthesis) การหายใจ
                                         ี              
(respiration) และการคายน้ํา (transpiration) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่พิเศษ (Modified leaf)
ไดแก มือเกาะ (leaf tendril) หนาม (Leaf spine) ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) ใบเกล็ด (Scale
leaf) ทุนลอย (Floating leaf ) ใบประดับ หรือใบดอก (Bract ) ใบสืบพันธุ (Reproductive leaf) และ
ใบกับดักแมลง (insectivorous leaf หรือ carnivorous leaf)

วัสดุอุปกรณ
         1. ภาพใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่ตางๆ
                                                 
         2. ใบพืชชนิดตางๆ ที่นักเรียนนํามาศึกษา
         3. กระดาษฟลิปชารต
         4. ปากกาเมจิก

วิธีทํา
          1. ใหนักเรียนศึกษาใบพืชชนิดตางๆ ทีนักเรียนนํามา ศึกษาอยางนอยกลุมละ 5 -10 ชนิด
                                              ่
              หรือศึกษาจากบริเวณตางๆ ภายใน โรงเรียนแลวจําแนกชนิดของใบ หนาที่พิเศษของใบ
             โดยพิจารณารูปรางลักษณะที่สังเกตได เปรียบเทียบกับภาพใบพืชชนิดตางๆ
          2. บันทึกผลการทํากิจกรรมลงในกระดาษฟลิปชารต แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 7
                                              เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของใบพืชดอก

วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง

ชื่อสมาชิกในกลุม
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. .............................................................................................................
5. .............................................................................................................

วัตถุประสงค
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. ............................................................................................................

ผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

อภิปรายผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
คําถามหลังการทดลอง

1. หนาที่ของใบโดยทั่วไป
  1……………………………………………………………………
  2……………………………………………………………………
  3. ………………………………………………………………….

2. ใบพืชที่นักเรียนนํามาศึกษา แยกเปนกี่ชนิด อะไรบาง และหนาที่อยางไร
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. ยกตัวอยางของใบที่ทําหนาที่ดังตอไปนี้
    3.1 Reproductive leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ....................................เชน ………………………
    3.2 Scale leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ................................................. เชน ………………………
    3.3 Floral leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ............................................... เชน ………………………
    3.4 Storage leaf เปนใบที่ทาหนาที่ ............................................. เชน ………………………
                                ํ
    3.5 Spine leaf เปนใบที่ทําหนาที่ .............................................. เชน ………………………

4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
ใบความรูที่ 1
                                โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                   เรื่อง หนาที่พิเศษของใบ

  สาระสําคัญ
                                            ใบ ( Leaf )
       ใบ (leaf) เปนสวนของพืชที่เจริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของ
ขอ ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช
ใบมีหนาที่สําคัญ คือ สรางอาหารดวยวิธการสังเคราะหดวยแสง (photosynthesis) การหายใจ
                                           ี             
(respiration) และการคายน้ํา (transpiration) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่พิเศษ (Modified leaf)
ใบที่เปลี่ยนแปลง ( modified leaf )
       1 มือเกาะ (leaf tendril) เปนใบทีเ่ ปลี่ยนแปลงมาเปนมือเกาะเพื่อพยุงลําตนใหไตขึ้นที่สูงได
อาจเปลี่ยนแปลงมาจากใบหรือสวนใดสวนหนึ่งของใบ เชน มือเกาะของถั่วลันเตา มะระ ตําลึง




                           ภาพแสดง ใบมือเกาะ (leaf tendril)

      2 หนาม (Leaf spine) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนหนาม เพื่อใชเปนเครื่องปองกัน อันตราย
ตางๆจากศัตรูหรือสัตว ที่จะมากิน และปองกันการระเหยของน้ํา อาจเปลี่ยนแปลงมาจากใบหรือสวน
ใดสวนหนึ่งของใบก็ได เชนหนามของตนเหงือกปลาหมอ เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบและหูใบ
หนามของตนกระบองเพชรและ เปลี่ยนแปลงมาจากใบทั้งใบ หนามของมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมา
จากหูใบ หนามของสับปะรด เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ




                                 ภาพแสดง ใบหนาม (Leaf spine)
3 ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปน อวัยวะสําหรับเก็บหรือสะสม
อาหารหรือน้ํา ใบประเภทนีจะมีลักษณะอวบอวน เนื่องจากเก็บอาหาร และอมน้ําไวมาก เชน ใบเลี้ยง
                        ้
ของพืชตางๆ ใบวานหางจระเข กลีบหัวหอม และ กลีบของกระเทียม




                     ภาพแสดง ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) วานหางจระเข

      4 ใบเกล็ด (Scale leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนเกล็ดเล็กๆ ใบเกล็ดมักไมมี คลอโรฟลล
เชน เชนใบเกล็ดของขิง ขา เผือก




                                     ภาพแสดง ใบเกล็ด (Scale leaf)

     5 ทุนลอย (Floating leaf ) พืชน้ําบางชนิด เชนผักตบชวา สามารถลอยน้ําอยูได โดยอาศัยกานใบ
อาศัยกานใบพองโตออก ภายในมีเนื้ออยูกนอยางหลวมๆ และมีชองวางอากาศใหญทําใหมีอากาศอยู
                                         ั
มาก จึงชวยพยุงใหลําตนลอยน้ําอยูได
                                   




                           ภาพแสดง ทุนลอย (Floating leaf )
                                     
6 ใบประดับ หรือใบดอก (Bract ) เปนใบทีเ่ ปลี่ยนแปลงพิเศษเพื่อรองรับดอก โดยอยูบริเวณกานดอก
                                                                                 
สวนมากมีสีเขียว แตมีหลายชนิดที่มีสีอื่นๆ สวยงามคลายดอก เชน เฟองฟา หนาวัว คริสตมาส
                                                                  




                 ภาพแสดง ใบประดับ หรือใบดอก (Bract )

      7 ใบสืบพันธุ (Reproductive leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงมาเพื่อสืบพันธุ เพื่อชวยในการแพร
พันธุ เชน ใบของตนตายใบเปน




   8 กับดักแมลง (insectivorous leaf หรือ carnivorous leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนกับดัก
แมลง หรือสัตวเล็ก ภายในกับดักจะมีตอมสรางน้ํายอยอาหารจําพวก โปรตีน เชนตนกาบหอยแคลง
หยาดน้ําคาง สาหรายขาวเหนียว หมอขาวหมอแกงลิง เปนตน




   ภาพแสดง ใบกับดักแมลง (insectivorous leaf) หยาดน้ําคาง หมอขาวหมอแกงลิง

Contenu connexe

Tendances

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
Aomiko Wipaporn
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
Duangjai Boonmeeprasert
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
teerachon
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
Anana Anana
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 

Tendances (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 

Similaire à หน้าที่พิเศษของใบ

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
chunkidtid
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
Yuporn Tugsila
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
Press Trade
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
Wann Rattiya
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
Aomiko Wipaporn
 

Similaire à หน้าที่พิเศษของใบ (20)

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
br001
br001br001
br001
 
พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2
 
ใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวดใบความรู้สวนขวด
ใบความรู้สวนขวด
 
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
 

Plus de Biobiome

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
Biobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Biobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Biobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
Biobiome
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
Biobiome
 

Plus de Biobiome (20)

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
 
72 pat2
72 pat272 pat2
72 pat2
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

หน้าที่พิเศษของใบ

  • 1. บทปฏิบัติการทดลองที่ 7 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง หนาที่พิเศษของใบ เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของใบพืชดอก จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได 1. บอกลักษณะพิเศษของใบพืชที่นํามาศึกษาได 2. จําแนกชนิดของใบตามลักษณะพิเศษได 3. ทํากิจกรรมและสรุปผลการทํากิจกรรมได หลักการ / ทฤษฎี ใบ (leaf) เปนสวนของพืชที่เจริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของ ขอ ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช ใบมีหนาที่สําคัญ คือ สรางอาหารดวยวิธการสังเคราะหดวยแสง (photosynthesis) การหายใจ ี  (respiration) และการคายน้ํา (transpiration) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่พิเศษ (Modified leaf) ไดแก มือเกาะ (leaf tendril) หนาม (Leaf spine) ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) ใบเกล็ด (Scale leaf) ทุนลอย (Floating leaf ) ใบประดับ หรือใบดอก (Bract ) ใบสืบพันธุ (Reproductive leaf) และ ใบกับดักแมลง (insectivorous leaf หรือ carnivorous leaf) วัสดุอุปกรณ 1. ภาพใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่ตางๆ  2. ใบพืชชนิดตางๆ ที่นักเรียนนํามาศึกษา 3. กระดาษฟลิปชารต 4. ปากกาเมจิก วิธีทํา 1. ใหนักเรียนศึกษาใบพืชชนิดตางๆ ทีนักเรียนนํามา ศึกษาอยางนอยกลุมละ 5 -10 ชนิด ่ หรือศึกษาจากบริเวณตางๆ ภายใน โรงเรียนแลวจําแนกชนิดของใบ หนาที่พิเศษของใบ โดยพิจารณารูปรางลักษณะที่สังเกตได เปรียบเทียบกับภาพใบพืชชนิดตางๆ 2. บันทึกผลการทํากิจกรรมลงในกระดาษฟลิปชารต แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
  • 2. รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 7 เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของใบพืชดอก วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง ชื่อสมาชิกในกลุม 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................. 5. ............................................................................................................. วัตถุประสงค 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................ ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 3. สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 4. คําถามหลังการทดลอง 1. หนาที่ของใบโดยทั่วไป 1…………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………. 2. ใบพืชที่นักเรียนนํามาศึกษา แยกเปนกี่ชนิด อะไรบาง และหนาที่อยางไร ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3. ยกตัวอยางของใบที่ทําหนาที่ดังตอไปนี้ 3.1 Reproductive leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ....................................เชน ……………………… 3.2 Scale leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ................................................. เชน ……………………… 3.3 Floral leaf เปนใบที่ทําหนาที่ ............................................... เชน ……………………… 3.4 Storage leaf เปนใบที่ทาหนาที่ ............................................. เชน ……………………… ํ 3.5 Spine leaf เปนใบที่ทําหนาที่ .............................................. เชน ……………………… 4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 5. ใบความรูที่ 1 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง หนาที่พิเศษของใบ สาระสําคัญ ใบ ( Leaf ) ใบ (leaf) เปนสวนของพืชที่เจริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของ ขอ ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช ใบมีหนาที่สําคัญ คือ สรางอาหารดวยวิธการสังเคราะหดวยแสง (photosynthesis) การหายใจ ี  (respiration) และการคายน้ํา (transpiration) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่พิเศษ (Modified leaf) ใบที่เปลี่ยนแปลง ( modified leaf ) 1 มือเกาะ (leaf tendril) เปนใบทีเ่ ปลี่ยนแปลงมาเปนมือเกาะเพื่อพยุงลําตนใหไตขึ้นที่สูงได อาจเปลี่ยนแปลงมาจากใบหรือสวนใดสวนหนึ่งของใบ เชน มือเกาะของถั่วลันเตา มะระ ตําลึง ภาพแสดง ใบมือเกาะ (leaf tendril) 2 หนาม (Leaf spine) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนหนาม เพื่อใชเปนเครื่องปองกัน อันตราย ตางๆจากศัตรูหรือสัตว ที่จะมากิน และปองกันการระเหยของน้ํา อาจเปลี่ยนแปลงมาจากใบหรือสวน ใดสวนหนึ่งของใบก็ได เชนหนามของตนเหงือกปลาหมอ เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบและหูใบ หนามของตนกระบองเพชรและ เปลี่ยนแปลงมาจากใบทั้งใบ หนามของมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมา จากหูใบ หนามของสับปะรด เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ ภาพแสดง ใบหนาม (Leaf spine)
  • 6. 3 ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปน อวัยวะสําหรับเก็บหรือสะสม อาหารหรือน้ํา ใบประเภทนีจะมีลักษณะอวบอวน เนื่องจากเก็บอาหาร และอมน้ําไวมาก เชน ใบเลี้ยง ้ ของพืชตางๆ ใบวานหางจระเข กลีบหัวหอม และ กลีบของกระเทียม ภาพแสดง ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) วานหางจระเข 4 ใบเกล็ด (Scale leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนเกล็ดเล็กๆ ใบเกล็ดมักไมมี คลอโรฟลล เชน เชนใบเกล็ดของขิง ขา เผือก ภาพแสดง ใบเกล็ด (Scale leaf) 5 ทุนลอย (Floating leaf ) พืชน้ําบางชนิด เชนผักตบชวา สามารถลอยน้ําอยูได โดยอาศัยกานใบ อาศัยกานใบพองโตออก ภายในมีเนื้ออยูกนอยางหลวมๆ และมีชองวางอากาศใหญทําใหมีอากาศอยู ั มาก จึงชวยพยุงใหลําตนลอยน้ําอยูได  ภาพแสดง ทุนลอย (Floating leaf ) 
  • 7. 6 ใบประดับ หรือใบดอก (Bract ) เปนใบทีเ่ ปลี่ยนแปลงพิเศษเพื่อรองรับดอก โดยอยูบริเวณกานดอก  สวนมากมีสีเขียว แตมีหลายชนิดที่มีสีอื่นๆ สวยงามคลายดอก เชน เฟองฟา หนาวัว คริสตมาส  ภาพแสดง ใบประดับ หรือใบดอก (Bract ) 7 ใบสืบพันธุ (Reproductive leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงมาเพื่อสืบพันธุ เพื่อชวยในการแพร พันธุ เชน ใบของตนตายใบเปน 8 กับดักแมลง (insectivorous leaf หรือ carnivorous leaf) เปนใบที่เปลี่ยนแปลงไปเปนกับดัก แมลง หรือสัตวเล็ก ภายในกับดักจะมีตอมสรางน้ํายอยอาหารจําพวก โปรตีน เชนตนกาบหอยแคลง หยาดน้ําคาง สาหรายขาวเหนียว หมอขาวหมอแกงลิง เปนตน ภาพแสดง ใบกับดักแมลง (insectivorous leaf) หยาดน้ําคาง หมอขาวหมอแกงลิง