SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
บทปฏิบัติการทดลองที่ 3
                               โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                  เรื่อง หนาที่พิเศษของราก

                            เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของรากพืชดอก

จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได
      1. บอกเกณฑในการจําแนกไดวาโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นคือราก
      2. บอกลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่พิเศษของรากได
      3. ทํากิจกรรมและสรุปผลการทํากิจกรรมได

หลักการ / ทฤษฎี
          ราก (Root) เปนอวัยวะหรือสวนของพืชที่ไมมี ขอ ปลอง ตา และใบเจริญลงสูดินตามแรง
ดึงดูดของโลก(positive geotropism ) มีกําเนิดมาจาก เรดิเคิล( radicle) ของ เอมบริโอ (embryo) ซึ่งอยู
ภายในเมล็ด รากที่เปลี่ยนแปลงมาจาก เรดิเคิล จัดเปนรากที่มีการเจริญในระยะแรก (Primary growth)
สวนรากของพืชใบเลี้ยงคูหรือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด จะมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 (Secondary growth)
รากเปนสวนทีทําหนาที่ในการ ค้ําจุนสวนตางๆ ของพืชใหทรงตัวอยูได (anchorage) ดูดและลําเลียงน้ํา
              ่
(absorption and transportation) และหนาทีอื่นๆ ขึ้นกับลักษณะของรากเชน สะสมอาหาร ยึดเกาะ ใช
                                          ่
ใน การหายใจ เปนตน

วัสดุอุปกรณ
       1. ภาพรากของพืชชนิดตางๆ เชน รากกลวยไม รากกาฝาก รากฝอยทอง รากไทร รากโกงกาง
       2. รากพืชชนิดตางๆ ที่นักเรียนนํามาศึกษา เชน หัวกระชาย หัวผักกาด มันแกว มันเทศ
       3. กระดาษฟลิปชารต 1 แผน
       4. ปากกาเมจิก          1 ดาม
วิธีทํา
     1. ใหนกเรียนนํารากพืชชนิดตางๆ อยางนอยกลุมละ 5 -10 ชนิด มาศึกษา แลวจําแนกชนิดของ
               ั
ราก หนาที่พเิ ศษของราก โดยพิจารณารูปรางลักษณะทีสังเกตได เปรียบเทียบกับภาพรากพืชชนิดตางๆ
                                                  ่
     2. บันทึกผลการทํากิจกรรมลงในกระดาษฟลิปชารต แลวนําเสนอหนาชันเรียน ้
รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 1
                                              เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของรากพืชดอก

วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง

ชื่อสมาชิกในกลุม
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. .............................................................................................................
5. .............................................................................................................

วัตถุประสงค
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. ............................................................................................................

ผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

อภิปรายผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
คําถามหลังการทดลอง

1. หนาที่ของรากโดยทัวไป
                     ่
  1……………………………………………………………………
  2……………………………………………………………………
  3. ………………………………………………………………….

2. รากพืชที่นกเรียนนํามาศึกษา แยกเปนกี่ชนิด อะไรบาง และหนาทีอยางไร
                     ั                                                                                      ่
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. ยกตัวอยางของรากที่ทําหนาที่ดังตอไปนี้
    3.1 Prop root เปนรากที่ทําหนาที่ ............................................................ เชน ..........................
     3.2 Climbing root เปนรากที่ทําหนาที่ .................................................... เชน ..........................
    3.3 Parasitic root เปนรากที่ทําหนาที่ ...................................................... เชน .........................
    3.4 Photosynthetic root เปนรากที่ทําหนาที่ .............................................. เชน ........................
    3.5 Aerail root(Respiratory root) เปนรากที่ทําหนาที่ .............................. เชน .......................

4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
ใบความรูที่ 1
                               โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                  เรื่อง หนาที่พิเศษของราก

  สาระสําคัญ
                                          ราก ( Root )
            ราก (Root) เปนอวัยวะหรือสวนของพืชที่ไมมี ขอ ปลอง ตา และใบเจริญลงสูดินตามแรง
ดึงดูดของโลก(positive geotropism ) มีกําเนิดมาจาก เรดิเคิล( radicle) ของ เอมบริโอ (embryo) ซึ่งอยู
ภายในเมล็ด รากที่เปลี่ยนแปลงมาจาก เรดิเคิล จัดเปนรากที่มีการเจริญในระยะแรก (Primary growth)
สวนรากของพืชใบเลี้ยงคูหรือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด จะมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 (Secondary growth)
รากเปนสวนทีทําหนาที่ในการ ค้ําจุนสวนตางๆ ของพืชใหทรงตัวอยูได (anchorage) ดูดและลําเลียงน้ํา
                ่
(absorption and transportation) และหนาทีอื่นๆ ขึ้นกับลักษณะของรากเชน สะสมอาหาร ยึดเกาะ ใช
                                              ่
ใน การหายใจ เปนตน
          หนาที่ของราก
1.ดูด ( absorption ) น้ําและแรธาตุจากดิน
2. ลําเรียง ( conduction ) น้ํา แรธาตุ และ อาหาร
3. ยึด ( anchorange ) ลําตนใหติดกับพื้นดิน
4. สรางฮอรโมน ( producing hormones ) เชน cytokinin,gibberellinเพื่อพัฒนาลําตนยอดและสวนอื่น ๆ
5. อาจทําหนาที่พิเศษอื่น ๆ เชน สะสมอาการ สังเคราะหแสง ค้ําจุน ยึดเกาะ หายใจ เปนตน

ชนิดของราก : ชนิดของรากเมื่อแยกตามกําเนิด จําแนกออกเปน 3 ชนิดคือ
1. Primary root หรือ รากแกว (tap root) มีลักษณะตอนโคนจะโตแลวคอยเรียวเล็กลงไปจนถึงปลาย
จะยาวและใหญกวารากอื่นๆที่แยกออกไป ทําหนาที่ เปนหลักรับสวนอื่นๆใหทรงตัวอยูได รากชนิดนี้
พบในพืชใบเลี้ยงคูที่งอกออกจากเมล็ดโดยปกติ สวนพืชใบเลี้ยงเดียวที่งอกออกจากเมล็ดใหมๆก็มราก
                                                               ่                           ี
ระบบนี้เหมือนกันแตมีอายุไดไมนานก็เนาเปอยไปแลวเกิดรากชนิดใหมขึ้นมาแทน (รากฝอย)




                    ภาพที่ 1 แสดง Primary root หรือ รากแกว (tap root)
2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ branch root) เปนรากที่เจริญเติบโตออกมาจาก
รากแกว มักงอกเอียงลงไปในดินจนเกือบขนานหรือขนานไปกับพืนดิน รากชนิดนี้อาจแตกแขนง
                                                            ้
ออกเปนทอดๆ ไดอีกเรื่อยๆ ทั้งรากแขนงและแขนงตางๆที่ยื่นออกไปเปนทอดๆตางกําเนิดมาจาก
เนื้อเยื่อเพริไซเคิลในรากเดิมทั้งสิ้น




                   ภาพที่ 2 แสดง Secondary root หรือ รากแขนง (lateral root)

3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ เปนรากที่ไมไดกําเนิดมาจากรากแกวหรือรากแขนง รากชนิด
นี้อาจแตกออกจากโคนตนของพืช ตามขอของลําตนหรือกิ่ง ตามใบหรือจากกิ่งตอนของไมผลทุกชนิด
แยกเปนชนิดยอยไดตามรูปรางและหนาที่ ไดดังนี้
      3.1 รากฝอย (fibrous root) เปนรากเสนเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่ําเสมอกันไมไมเรียวลงที่ปลาย
อยางรากแกว งอกออกจากรอบโคนตนแทนรากแกวที่ฝอเสียไปหรือทีหยุดเตอบโต พบในพืชใบเลี้ยง
                                                                ่
เดี่ยวเปนสวนใหญ




                        ภาพที่ 3 แสดง รากฝอย (fibrous root)
3.2 รากค้ําจุน (Prop root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตน ที่อยูใตดิน และเหนือดิน
ขึ้นมาเล็กนอย และพุงแทงลงไปในดิน เพื่อพยุงลําตนเอาไวไมใหลมงาย เชนรากค้ําจุนของตน
ขาวโพด ตนลําเจียก ตนโกงกาง




                         ภาพที่ 4 แสดง รากค้ําจุน (prop root)

     3.3 รากเกาะ (Climbing root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตนแลวมาเกาะตามหลัก
หรือเสา เพื่อพยุงลําตนใหติดแนนและชูลําตนขึ้นที่สูง เชนรากของพลู พลูดาง กลวยไม




         ภาพที่ 5 แสดง รากยึดเกาะ climbing root)
3.4 รากสังเคราะหแสง (photosynthtic root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตน แลวหอยลง
มาในอากาศ มีสีเขียวของคลอโรฟล เปนรากที่ทําหนาที่สังเคราะหแสง เชน รากกลวยไมที่มีสีเขียว
เฉพาะรากออน หรือปลายรากที่แกเทานั้น รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะตรงที่หอยอยูในอากาศ
                                                                                   
สวนที่ไซลงไปในดินแลวไมมีสีเขียวเลย




         ภาพที่ 6 แสดง รากสังเคราะหแสง (photosynthtic root) ของกลวยไม

    3.5 รากหายใจ (Respiratory root)รากพวกนี้เปนแขนงงอกออกจากรากใหญที่แทงลงไปในดินอีก
ทีหนึ่ง แตแทนที่จะงอกลงไปในดิน กับ ชูปลายขึ้นมาเหนือดินหรือผิวน้ํา บางทีก็ลอยตามผิวน้ํา เชน
รากของแพงพวย




                    ภาพที่ 7 แสดง รากหายใจ (Respiratory root)
3.6 รากกาฝาก (Parasitic root) เปนรากของพืชบางชนิดที่เปนปรสิต เชนรากของตนกาฝาก และ
ตนฝอยทอง




               ภาพที่ 8 แสดง รากกาฝาก (Parasitic root) ของฝอยทองและกาฝากทั่วไป

   3.7 รากสะสมอาหาร (storage root) เปนรากที่ทําหนาที่ในการสะสมอาหารประเภทแปง น้ําตาล
หรือ โปรตีนเอาไว ทําใหมีลักษณะอวบอวนเรามักเรียกวา หัว เชน หัวแครอต หัวผักกาด หัวมันเทศ
หัวมันแกว มันสําปะหลัง กระชาย เปนตน




                     ภาพที่ 9 แสดง รากสะสมอาหาร (storage root)
หน้าที่พิเศษของราก

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 

Tendances (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 

Similaire à หน้าที่พิเศษของราก

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
กิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการกิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการsomthawin
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1Tiew Yotakong
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20sutinkripet
 

Similaire à หน้าที่พิเศษของราก (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
กิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการกิจกรรมค่ายวิชาการ
กิจกรรมค่ายวิชาการ
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1
 
A
AA
A
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
แผนการจัดการเรียนรู้พืชที่ 20
 

Plus de Biobiome

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มขBiobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มขBiobiome
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52Biobiome
 

Plus de Biobiome (20)

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
 
72 pat2
72 pat272 pat2
72 pat2
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

หน้าที่พิเศษของราก

  • 1. บทปฏิบัติการทดลองที่ 3 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง หนาที่พิเศษของราก เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของรากพืชดอก จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได 1. บอกเกณฑในการจําแนกไดวาโครงสรางที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นคือราก 2. บอกลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่พิเศษของรากได 3. ทํากิจกรรมและสรุปผลการทํากิจกรรมได หลักการ / ทฤษฎี ราก (Root) เปนอวัยวะหรือสวนของพืชที่ไมมี ขอ ปลอง ตา และใบเจริญลงสูดินตามแรง ดึงดูดของโลก(positive geotropism ) มีกําเนิดมาจาก เรดิเคิล( radicle) ของ เอมบริโอ (embryo) ซึ่งอยู ภายในเมล็ด รากที่เปลี่ยนแปลงมาจาก เรดิเคิล จัดเปนรากที่มีการเจริญในระยะแรก (Primary growth) สวนรากของพืชใบเลี้ยงคูหรือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด จะมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 (Secondary growth) รากเปนสวนทีทําหนาที่ในการ ค้ําจุนสวนตางๆ ของพืชใหทรงตัวอยูได (anchorage) ดูดและลําเลียงน้ํา ่ (absorption and transportation) และหนาทีอื่นๆ ขึ้นกับลักษณะของรากเชน สะสมอาหาร ยึดเกาะ ใช ่ ใน การหายใจ เปนตน วัสดุอุปกรณ 1. ภาพรากของพืชชนิดตางๆ เชน รากกลวยไม รากกาฝาก รากฝอยทอง รากไทร รากโกงกาง 2. รากพืชชนิดตางๆ ที่นักเรียนนํามาศึกษา เชน หัวกระชาย หัวผักกาด มันแกว มันเทศ 3. กระดาษฟลิปชารต 1 แผน 4. ปากกาเมจิก 1 ดาม วิธีทํา 1. ใหนกเรียนนํารากพืชชนิดตางๆ อยางนอยกลุมละ 5 -10 ชนิด มาศึกษา แลวจําแนกชนิดของ ั ราก หนาที่พเิ ศษของราก โดยพิจารณารูปรางลักษณะทีสังเกตได เปรียบเทียบกับภาพรากพืชชนิดตางๆ ่ 2. บันทึกผลการทํากิจกรรมลงในกระดาษฟลิปชารต แลวนําเสนอหนาชันเรียน ้
  • 2. รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง การศึกษาหนาที่พิเศษของรากพืชดอก วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง ชื่อสมาชิกในกลุม 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................. 5. ............................................................................................................. วัตถุประสงค 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................ ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 3. สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 4. คําถามหลังการทดลอง 1. หนาที่ของรากโดยทัวไป ่ 1…………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………. 2. รากพืชที่นกเรียนนํามาศึกษา แยกเปนกี่ชนิด อะไรบาง และหนาทีอยางไร ั ่ ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3. ยกตัวอยางของรากที่ทําหนาที่ดังตอไปนี้ 3.1 Prop root เปนรากที่ทําหนาที่ ............................................................ เชน .......................... 3.2 Climbing root เปนรากที่ทําหนาที่ .................................................... เชน .......................... 3.3 Parasitic root เปนรากที่ทําหนาที่ ...................................................... เชน ......................... 3.4 Photosynthetic root เปนรากที่ทําหนาที่ .............................................. เชน ........................ 3.5 Aerail root(Respiratory root) เปนรากที่ทําหนาที่ .............................. เชน ....................... 4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 5. ใบความรูที่ 1 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง หนาที่พิเศษของราก สาระสําคัญ ราก ( Root ) ราก (Root) เปนอวัยวะหรือสวนของพืชที่ไมมี ขอ ปลอง ตา และใบเจริญลงสูดินตามแรง ดึงดูดของโลก(positive geotropism ) มีกําเนิดมาจาก เรดิเคิล( radicle) ของ เอมบริโอ (embryo) ซึ่งอยู ภายในเมล็ด รากที่เปลี่ยนแปลงมาจาก เรดิเคิล จัดเปนรากที่มีการเจริญในระยะแรก (Primary growth) สวนรากของพืชใบเลี้ยงคูหรือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด จะมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 (Secondary growth) รากเปนสวนทีทําหนาที่ในการ ค้ําจุนสวนตางๆ ของพืชใหทรงตัวอยูได (anchorage) ดูดและลําเลียงน้ํา ่ (absorption and transportation) และหนาทีอื่นๆ ขึ้นกับลักษณะของรากเชน สะสมอาหาร ยึดเกาะ ใช ่ ใน การหายใจ เปนตน หนาที่ของราก 1.ดูด ( absorption ) น้ําและแรธาตุจากดิน 2. ลําเรียง ( conduction ) น้ํา แรธาตุ และ อาหาร 3. ยึด ( anchorange ) ลําตนใหติดกับพื้นดิน 4. สรางฮอรโมน ( producing hormones ) เชน cytokinin,gibberellinเพื่อพัฒนาลําตนยอดและสวนอื่น ๆ 5. อาจทําหนาที่พิเศษอื่น ๆ เชน สะสมอาการ สังเคราะหแสง ค้ําจุน ยึดเกาะ หายใจ เปนตน ชนิดของราก : ชนิดของรากเมื่อแยกตามกําเนิด จําแนกออกเปน 3 ชนิดคือ 1. Primary root หรือ รากแกว (tap root) มีลักษณะตอนโคนจะโตแลวคอยเรียวเล็กลงไปจนถึงปลาย จะยาวและใหญกวารากอื่นๆที่แยกออกไป ทําหนาที่ เปนหลักรับสวนอื่นๆใหทรงตัวอยูได รากชนิดนี้ พบในพืชใบเลี้ยงคูที่งอกออกจากเมล็ดโดยปกติ สวนพืชใบเลี้ยงเดียวที่งอกออกจากเมล็ดใหมๆก็มราก ่ ี ระบบนี้เหมือนกันแตมีอายุไดไมนานก็เนาเปอยไปแลวเกิดรากชนิดใหมขึ้นมาแทน (รากฝอย) ภาพที่ 1 แสดง Primary root หรือ รากแกว (tap root)
  • 6. 2. Secondary root หรือรากแขนง(lateral root หรือ branch root) เปนรากที่เจริญเติบโตออกมาจาก รากแกว มักงอกเอียงลงไปในดินจนเกือบขนานหรือขนานไปกับพืนดิน รากชนิดนี้อาจแตกแขนง ้ ออกเปนทอดๆ ไดอีกเรื่อยๆ ทั้งรากแขนงและแขนงตางๆที่ยื่นออกไปเปนทอดๆตางกําเนิดมาจาก เนื้อเยื่อเพริไซเคิลในรากเดิมทั้งสิ้น ภาพที่ 2 แสดง Secondary root หรือ รากแขนง (lateral root) 3. Adventitious root หรือ รากวิสามัญ เปนรากที่ไมไดกําเนิดมาจากรากแกวหรือรากแขนง รากชนิด นี้อาจแตกออกจากโคนตนของพืช ตามขอของลําตนหรือกิ่ง ตามใบหรือจากกิ่งตอนของไมผลทุกชนิด แยกเปนชนิดยอยไดตามรูปรางและหนาที่ ไดดังนี้ 3.1 รากฝอย (fibrous root) เปนรากเสนเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่ําเสมอกันไมไมเรียวลงที่ปลาย อยางรากแกว งอกออกจากรอบโคนตนแทนรากแกวที่ฝอเสียไปหรือทีหยุดเตอบโต พบในพืชใบเลี้ยง  ่ เดี่ยวเปนสวนใหญ ภาพที่ 3 แสดง รากฝอย (fibrous root)
  • 7. 3.2 รากค้ําจุน (Prop root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตน ที่อยูใตดิน และเหนือดิน ขึ้นมาเล็กนอย และพุงแทงลงไปในดิน เพื่อพยุงลําตนเอาไวไมใหลมงาย เชนรากค้ําจุนของตน ขาวโพด ตนลําเจียก ตนโกงกาง ภาพที่ 4 แสดง รากค้ําจุน (prop root) 3.3 รากเกาะ (Climbing root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตนแลวมาเกาะตามหลัก หรือเสา เพื่อพยุงลําตนใหติดแนนและชูลําตนขึ้นที่สูง เชนรากของพลู พลูดาง กลวยไม ภาพที่ 5 แสดง รากยึดเกาะ climbing root)
  • 8. 3.4 รากสังเคราะหแสง (photosynthtic root) เปนรากที่แตกออกมาจากขอของลําตน แลวหอยลง มาในอากาศ มีสีเขียวของคลอโรฟล เปนรากที่ทําหนาที่สังเคราะหแสง เชน รากกลวยไมที่มีสีเขียว เฉพาะรากออน หรือปลายรากที่แกเทานั้น รากของไทร โกงกาง มีสีเขียวเฉพาะตรงที่หอยอยูในอากาศ  สวนที่ไซลงไปในดินแลวไมมีสีเขียวเลย ภาพที่ 6 แสดง รากสังเคราะหแสง (photosynthtic root) ของกลวยไม 3.5 รากหายใจ (Respiratory root)รากพวกนี้เปนแขนงงอกออกจากรากใหญที่แทงลงไปในดินอีก ทีหนึ่ง แตแทนที่จะงอกลงไปในดิน กับ ชูปลายขึ้นมาเหนือดินหรือผิวน้ํา บางทีก็ลอยตามผิวน้ํา เชน รากของแพงพวย ภาพที่ 7 แสดง รากหายใจ (Respiratory root)
  • 9. 3.6 รากกาฝาก (Parasitic root) เปนรากของพืชบางชนิดที่เปนปรสิต เชนรากของตนกาฝาก และ ตนฝอยทอง ภาพที่ 8 แสดง รากกาฝาก (Parasitic root) ของฝอยทองและกาฝากทั่วไป 3.7 รากสะสมอาหาร (storage root) เปนรากที่ทําหนาที่ในการสะสมอาหารประเภทแปง น้ําตาล หรือ โปรตีนเอาไว ทําใหมีลักษณะอวบอวนเรามักเรียกวา หัว เชน หัวแครอต หัวผักกาด หัวมันเทศ หัวมันแกว มันสําปะหลัง กระชาย เปนตน ภาพที่ 9 แสดง รากสะสมอาหาร (storage root)