SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS         1
                                                          ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ




         เรื่อง การออกแบบวิธการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ICT Literacy
                            ี



                                  เสนอ
                           อ.ดร. อิศรา ก้านจักร




                                    โดย
         นายคณพศ ยศพล                     รหัสนักศึกษา   543050213-3
         นางสาวกนกภรณ์ โพธิจักร           รหัสนักศึกษา   543050376-5
         นางสาวศรีสุดา แสงกล้า            รหัสนักศึกษา   543050384-6
         นายเตวิช สีเนหะ                  รหัสนักศึกษา   543050546-6
         นายวิระชา ทักษิณ                 รหัสนักศึกษา   543050548-2


รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (237231)
                          ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
                   สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
                               มหาวิทยาลัยขอนแก่น
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS               2
                                                                            ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                      ออกแบบวิธีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ICT Literacy


         ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ตลอดทุกเวลาทุกสถานที่ การรับ
ข่าวสารด้วยการคิดพิจารณาจึงเป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งที่ต้องส่งเสริมให้เกิดกับผู้เรียน โดยการใช้ทักษะการ
คิด ซึ่งประกอบด้วยทักษะ การสังเกต การสารวจ การตั้งคาถาม การรวบรวมข้อมูล การระบุ การจาแนก
แยกแยะ การจัดลาดับ การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การเชื่อมโยง การขยายความ การให้เหตุผล การ
สรุปความ การวิเคราะห์ การผสมผสานข้อมูล การจัดระบบความคิด การสร้างองค์ความรู้ใหม่ และการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นต้น
                  การพัฒนาทักษะการคิดในกระบวนการเรียนรู้ ICT ได้นา Graphic Organizers ซึ่งเป็น
รูปแบบของการสื่อสารในลักษณะของรูปภาพ กราฟไดอะแกรม เพื่อใช้นาเสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ กระชับ ชัดเจน ช่วยทาให้เกิดความเข้าใจง่ายขึ้น เร็วขึ้น และจดจาในสิ่งที่เรียนรู้ได้นาน
ให้ผู้เรียนศึกษาและมีทักษะการใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนตระหนักรู้ในความต้องการ
สารสนเทศ มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ รู้จักประมวลและประเมินสารสนเทศ ใช้และ
ถ่ายทอดสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้รู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ อันจะนาไปสู่การพัฒนาเป็นผู้
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learner) ต่อไป Graphic Organizers ที่นามาใช้ ได้แก่ Timeline Cluster
Diagram Venn Diagram Webbing 5Ws and 1H KWLH Spider Map Chain of
Events The Fishbone Problem/Solution Concept Map และ Mind Map
หลักการและแนวคิด
               กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วยการรวบรวมและตรวจสอบ
ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บและการดูแลรักษาข้อมูล การประเมินสารสนเทศ ตลอดจน
ความสามารถในการ ประยุกต์ใช้และถ่ายทอดสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยทักษะ การ
คิดทุกทักษะตลอดทั้งกระบวนการ จึงจะทาให้ผู้เรียนเป็น “ผู้รู้เท่าทันเทคโนโลยี (IT Literacy)”
วัตถุประสงค์
        1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
        2. เพื่อพัฒนากระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
มาตรฐานการแสดงออกของกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy) ได้แก่
        1. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
        2. คัดเลือกข้อมูลที่มีคุณภาพและจัดการข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS             3
                                                                              ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

        3. เลือกใช้วิธีการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับแหล่งข้อมูล
        4. สรุปใจความสาคัญของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น
        5. สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างความคิดใหม่
        6. เปรียบเทียบความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เพื่อตัดสินใจเลือกใช้ข้อมูล
        7. ประยุกต์ใช้ความรู้เดิมเข้ากับความรู้ใหม่เพื่อวางแผนและสร้างสรรค์ผลงาน
        8. แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
        9. นาเสนอผลงานที่ภาคภูมิใจต่อผู้อื่น
        10. มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้
        1. จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยการปฏิบัติจริง (Authentic Learning)
        2. จัดให้มีการเรียนรู้ตามความสนใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น (Active Learning)
        3. จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้และร่วมมือช่วยเหลือกัน (Collabolative Learning) มีการจัดการความรู้โดย
           แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันด้วยวิธีการที่หลากหลาย
        4. ประเมินผลตามสภาพจริงจากการปฏิบัติงานของผู้เรียน (Authentic Assessment)
           ผลที่เกิดกับผู้เรียน
        1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด
        2. ผู้เรียนมีกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS                                   4
                                                                                                                               ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

             ตัวอย่างการพัฒนาทักษะการคิดในกระบวนการเรียนรู้ ICT โดยใช้ Graphic Organizers
                                                                         1. Timeline
จุดประสงค์
             เพื่อจัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือลักษณะการกระทาให้เป็นรูปแบบที่มีการจัดลาดับ
โดยระบุเหตุการณ์สาคัญและเรียงลาดับตามเวลาที่เกิดเหตุการณ์
ฝึกทักษะการคิด
             ทบทวนความรู้เดิม จัดลาดับ สรุปความ
วิธีการใช้
             จัดระเบียบเวลาและเหตุการณ์เข้าด้วยกัน
             จัดลาดับตามเวลาที่เหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น
หัวข้อ
จุดประสงค์ :
คาชี้แจงนักเรียน :


วันที่ / ปี พ.ศ.                                                                                 เหตุการณ์ / ลักษณะการกระทา
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
......................................... ....................................................................................................................
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS            5
                                                                       ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                    2. Cluster Diagram
จุดประสงค์
        เพื่อจาแนกข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ โดยแบ่งแยกออกเป็นประเภท
และจัดระบบตามลาดับชั้น
ฝึกทักษะการคิด
         รวบรวมข้อมูล จาแนกแยกแยะ จัดหมวดหมู่ จัดลาดับ วิเคราะห์
วิธีการใช้
        1. เขียนหัวข้อที่วงกลมตรงกลาง
            2. เขียนหัวข้อรองที่วงกลมต่างๆ ชั้นที่สอง
            3. เขียนหัวข้อย่อยที่วงกลมต่างๆ ชั้นที่สาม

                                              หัวข้อ
จุดประสงค์ :
คาชี้แจงนักเรียน :




                                             หัวข้อ
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS              6
                                                                             ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


         ความรู้พื้นฐานไอซีที (ICT literacy) ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคือ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในบริบทของการเรียนรู้วิชาแกน นักเรียนต้องใช้
เทคโนโลยีให้เป็นเพื่อเรียนรู้เนื้อหาและทักษะจะได้รู้จักวิธีเรียนรู้ การคิดเชิงวิพากษ์ การแก้ไขปัญหา การใช้
ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร การผลิตนวัตกรรม และการร่วมมือทางาน

บริบทการพัฒนา
        กาหนดบริบทของการพัฒนาโรงเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงาน
ประกอบด้วยบริบท 7 ประการ คือ
        1) ทฤษฎีพื้นฐานสู่แนวคิดการพัฒนาโรงเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เป็นบริบทที่มีขอบข่าย
พื้นฐานตามแนวทฤษฎีการศึกษา (Theory of Education) ที่เรียกว่า Constructionism ทั้งนี้
Constructionism มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ที่เรียกว่า Constructivism ของ
Piaget ความสัมพันธ์ของทั้งสองทฤษฎี



                                             อธิบายว่า
           Constructivism                                       ความรูเ้ กิดขึ้นได้อย่างไร
                                                                                นาสู่วิธีการ

                                                                 Constructionism
                                                                                เป็นวิธีเน้น
           ออกแบบ สร้างทา แก้ปัญหา                                    สร้างผลผลิต

                                          ทาให้
                                                                       สร้างความรู ้

        ความสัมพันธ์ของทฤษฎีพื้นฐานที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS                7
                                                                              ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

           2) ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาตามแนว Constructionism เป็นบริบทที่ประกอบด้วยการมีวัสดุที่ดี
สาหรับการสร้าง และการมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ICT เป็นเทคโนโลยีที่มีวัสดุหรือโปรแกรมที่ดีสาหรับ
ให้นักเรียนนามาใช้สร้างชิ้นงานหรือทาโครงงานโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ช่วยให้นักเรียนสารวจ ทดลองดู
เรียนรู้โดยลงมือทา นาสิ่งเรียนรู้มาปฏิบัติ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน สาหรับ
บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียน หมายถึงการที่ผู้เรียนมีทางเลือกกระทาในสิ่งที่สนใจ หรือตรงกับความสนใจ
ผู้เรียนมีความหลากหลาย เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน และมีความเป็นกันเองที่ทาให้
ผู้เรียนมีโอกาสเข้าถึงเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
           3) กระบวนการในชั้นเรียน เป็นบริบทที่หมายถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบทบาทครู บทบาท
นักเรียน วิธีเรียนรู้ และวิธีสอน การใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามแนว Constructionism นั้น เน้นให้ครูมี
บทบาทเป็นผู้ให้แนวทาง (guide) เป็นผู้ฝึกหัด (coach) เป็นพี่เลี้ยง (mentor) เป็นผู้อานวยความสะดวก
(facilitator) ในขณะที่นักเรียนทาโครงงานโดยใช้ ICT เป็นเครื่องมือ มีบทบาทเป็นผู้สร้าง ออกแบบ ลงมือ
ปฏิบั ติ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร่ ว มกัน สะท้ อนความคิด ผ่ านการนาเสนอและผ่ านจอภาพ ทาให้ ครู มีบทบาท
ช่วยเหลือดูแลนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือส่งเสริมนักเรี ยน ทาให้ครูสามารถสอนนักเรียนได้อย่าง
ใกล้ชิดในลักษณะการสอนตัวต่อตัว (Interactive Teaching) ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้เรียนและปรับแก้สิ่งที่
นักเรียนยังเข้าใจไม่ถูกต้อง สาหรับวิธีการเรียนรู้ เน้นวิธีเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) การที่
นักเรียนสร้างสรรค์งานโดยการสร้างชิ้นงานหรือทาโครงงาน ย่อมต้องมีปัญหาในระหว่างการทางาน ซึ่งเป็น
สภาพจริงที่เกิดขึ้น การแก้ปัญหาอาจเกิดขึ้นได้หลายวิธี ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว การเรียนรู้
ร่วมกันอย่างมีปฏิสัมพันธ์จึงเกิดขึ้น
           4) บทบาท ICT เป็นบริบทที่กาหนดบริบทไว้ว่าบทบาท ICT นั้น ขึ้นกับวิธีการนา ICT มาใช้ หาก
นามาใช้เป็นเครื่องมือถ่ายทอด ICT ก็จะมีบทบาทเป็นเพียงเครื่องมือสอนแทนครู แต่ถ้านา ICT มาใช้ตามแนว
Constructionism ICT ก็จะเป็นเครื่องมือสาหรับให้นักเรียนทาโครงงานในสถานการณ์ที่เลียนแบบกั บสิ่งที่มี
อยู่หรือพบเห็นจริง เช่น นักหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ นักสร้างหุ่นยนตร์สมองกลให้แก้ปัญหา นักผลิตสื่อเพื่อ
การถ่ายทอด นักค้นคว้าข้อมูลและสารสนเทศ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการค้นหา
ถ่ายโอนแฟ้ม รับส่งอีเมล์ แสดงความคิดเห็นบนเว็บบอร์ด สนทนา และสื่อสารผ่านวีดิโอคอนเฟอร์เรนซ์
           5) เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้ เป็นบริบทของการใช้ ICT เป็นเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ จาแนกออก
ได้เป็น ๔ ประการ คือ
                    1. เป็นเครื่องมือนาเสนอบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Multimedia Tools) ทาให้
นักเรียนเข้าถึงข้อมูลทีประสมประสานข้อความ ภาพ เสียง วีดิโอ ปฏิสัมพันธ์ หลากหลายวิชา
                        ่
                    2. เป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสาร (Communication Tools)
                    3. เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลและสารสนเทศ (Searching Tools)
                    4. เป็นเครื่องมือสร้างชิ้นงาน (Authoring Tools) โดยอาจเป็นเครื่องมือสร้างเว็บเพจ
(Web Authoring Tools) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เช่นภาษา HTML ภาษา Logo
เป็นเครื่องมือสร้างภาพกราฟิกส์ (Graphics Tools) เป็นเครื่องมือทางานสานักงาน (Microsoft Office
Tools) เป็นต้น
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS            8
                                                                        ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


        6) ห้องเรียน ICT กาหนดบริบทไว้ว่าควรเป็นห้องที่มีระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย โต๊ะเก้าอี้
การจัดวางห้องเรียนควรเน้นให้ครูและนักเรียนมีโอกาสใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นเครื่องมือสะท้อนความคิดและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันได้สะดวก เน้นการจัดห้องเรียนที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากเพื่อนและครู
สามารถมองเห็ น การเรี ย นรู้ ของแต่ล ะคนผ่ านทางจอภาพ การพูดคุย และการสั งเกตการทางานของผู้ อื่น
ตัวอย่างของการจัดห้องเรียนดังแสดงในภาพ




          7) โครงการพัฒนานับเป็นบริบทสาคัญของการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ซึ่งต้องมีการพัฒนาทั้งครูและนักเรียน ตลอดจนการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ตามแนว Constructionism

ยุทธศาสตร์การพัฒนา
         การดาเนินการพัฒนาโรงเรียน ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในช่วงแรก ได้ใช้บริบทที่กาหนดข้างต้น
เป็ น แนวทาง และได้ดาเนิ น โครงการพัฒ นาอาจารย์ ให้มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทาง ICT (ICT
Literacy) และสร้างความมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และดาเนินโครงการ
พัฒนานักเรียนโดยการจัดการประกวดทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม เมื่อได้แนวทางใน
การดาเนินงาน โรงเรียนจะต้องมีการประชุมเพื่อวางยุทธศาสตร์การพัฒนาให้เป็นรูปธรรม โดยแบ่งออกเป็น
5 ยุทธศาสตร์ดังนี้

        ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาครูให้มีทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
        พัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ พื้นฐานในการใช้ ICT ได้แนวคิดแนวทางในการนา ICT ไปใช้ในการ
เรียนการสอนและการพัฒนานักเรียน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบใช้ ICT เพื่อ
พัฒนาการเรียนรู้


          ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนานักเรียนให้มีทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
          พัฒนานักเรียนให้มีความรู้และทักษะ พื้นฐานในการใช้ ICT ใช้ ICT ในการสร้างชิ้นงาน ใช้แหล่ง
เรียนรู้จากการค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และสร้างงานจากการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาโลโก้
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS              9
                                                                           ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

          ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเรียนรู้แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้
          การปฏิรูปการเรียนรู้มีจุดเน้นสาคัญ คือการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ใน
ทัศนะใหม่ คือทฤษฎีการสร้างความรู้ เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนมากกว่ากระบวนการสอนของครู
การศึกษาแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้ จะทาให้ครูมองเห็นแนวทางในการจัดการศึกษาใหม่ ที่สร้างนักเรียน
ให้เป็นผู้มีปัญญา บนฐานของศีล สมาธิ ปัญญา และการใช้ ICT เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของนักเรียนตาม
แนวคิดใหม่ที่เน้นการสร้างทาชิ้นงาน ตลอดจนการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้
          ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนากระบวนการในชั้นเรียน (บทบาทครู บทบาทนักเรียน และวิธีเรียนรู้)
          กระบวนการในชั้นเรีย นหมายถึงกิจกรรมที่เน้นวิธี วิธีการ ขั้นตอน หรือ แบบแผน ที่นั กเรียนทา
โครงงานหรือชิ้นงานเป็นกลุ่มหรือเดี่ยวด้วยวัสดุที่เหมาะสมต่อการสร้างทา และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก
การนาเสนองานเพื่อสะท้อนความคิดของตนเองและผู้อื่น ห้องเรียนนับเป็นปัจจัยที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงกระบวนการ
เรียนการสอนว่าเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบใด การเน้ นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนควรมีโอกาสเรียนรู้ โดยการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน ห้องเรียนในแนวใหม่นั้นจะทาให้ครูและนักเรียนมีบทบาทที่เปลี่ยนไป ครูจะ
มีบทบาทเป็นผู้ช่วยเหลือดูแลให้คาปรึกษา ในขณะที่นักเรียนร่วมกันคิดออกแบบและสร้างชิ้นงาน
          ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การประยุ กต์ ICT เป็ น เครื่ องมือการเรี ย นรู้ ส าระวิช าตามหลักสู ตรระดั บ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น
          ICT มีบทบาทต่อกระบวนการเรียนรู้ เนื่องจาก ICT เป็นเทคโนโลยีที่มีเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ที่
หลากหลาย ทั้งการติดต่อสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ และการสร้างชิ้นงาน ทาให้เกิด
การบูรณาการการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสาระวิชา พัฒนาทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะการคิดขั้นสูง และ
การคิดสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS                      10
                                                                                     ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

การดาเนินงาน
          การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์อาจจะดาเนินผ่านกิจกรรมหลากหลาย เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุม การเยี่ยมโรงเรียน การจัดนิทรรศการ การจัดค่าย การจัดประกวด ฯลฯ
ตัวอย่างการจัดกิจกรรม เช่น
          - กิจกรรมครั้งที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเรียนรู้ในแนวคิดใหม่ ทาใหม่”
              อาจจั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารให้ กั บ ครู ที่ โ รงเรี ย นของตนเอง หรื อ จั ด อบรมที่ ส านั ก บริ ก าร
     คอมพิวเตอร์ในสถานที่ที่
ใช้ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟเวิลด์ เป็นเครื่องมือให้ครูได้อภิปรายเกี่ยวกับการ
เรียนรู้ และได้ทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการใช้คอมพิวเตอร์ ตลอดจนการสร้างเจตคติที่ดีต่อการใช้คอมพิวเตอร์
ในการเรียนรู้ ในการอบรมฯ ครั้งนี้ ครูต้องสามารถสร้างและนาเสนอผลงาน พร้อมแสดงข้อคิดเห็นในการ
น าไปใช้ ในบรรยากาศของการลงมือสร้ าง ออกแบบ ในสิ่ งที่แต่ล ะคนสนใจ และเรียนรู้ร่ว มกันโดยการ
แลกเปลี่ยนสิ่งที่ค้นพบได้
          - กิจกรรมครั้งที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้”
          - กิจกรรมครั้งที่ 3 การเปิดโครงการโรงเรียนใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการประชุมเชิง
              ปฏิบัติการ
“เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้”
          - กิจกรรมครั้งที่ 4 การจัดนิทรรศการเผยแพร่โครงการโรงเรียนต้นแบบการใช้ ICT เพื่อพัฒนาการ
              เรียนรู้
          และควรจัดกิจกรรม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในครั้งต่อๆ ไป เพื่อเป็นการพัฒนา
ICT literacy เพื่อการเรียนรู้สาหรับครูและนักเรียน
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS        11
                                                                                ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                            ประเมินอย่างไรให้รู้ว่าผู้เรียนมี ICT Literacy

กรอบแนวคิดและทฤษฎีทใช้ ในการประเมิน
                   ี่

           ขอบข่ายของไอซีที

           1. ระบบสื่อสาร

           2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร

           3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อการศึกษา
           (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา : 2546)




                           ขั้นตอนการใช้สื่อ
                                                                                  การศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยี
           1. ขั้นวางแผน (Planning)
                                                                          สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ
           2. ขั้นเลือกสื่อ (Selection)
                                                                          เรียนการสอนในโรงเรียนต้นแบบการ
           3. ขั้นเตรียมการใช้ (Preparation)                              พัฒนาการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้
           4. ขั้นการใช้สื่อ (Presentation)

           5. ขั้นประเมินการใช้ (Evaluation)




                     การจัดกระบวนการเรียนรู้

           1. รูปแบบที่ 1 แบบรายวิชา

           2. รูปแบบที่ 2 แบบบูรณาการ

           3. รูปแบบที่ 3 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเสริม
           ศึกษา
           (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2545 :
           27-29)
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS            12
                                                                         ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

         การวัดการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่คะแนนจากแบบทดสอบเรื่องการใช้เทคโนโลยีต่างๆ
ict ต่างๆ ซึ่งได้แก่ ความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญที่ผู้เรียนต้องมีเพื่อความสาเร็จในการทางานและการ
ดารงชีวิต โดยมีลักษณะการบูรณาการทั้งคุณธรรมและความรู้ แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาผู้เรียนด้านสมองและ
จิตใจต้องควบคู่กันไปโดยไม่แยกส่วน ซึ่งในการประเมินสามารถประเมินระหว่างเรียนและประเมินสรุปรวม
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการประเมิน
2. พิจารณาขอบเขต เกณฑ์ วิธีการ และสิ่งที่จะประเมิน เช่น การรู้ ICT การนาเทคโนโลยีต่างๆไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันและทักษะในการใช้เทคโนโลยี
3. กาหนดองค์ประกอบและผู้ประเมินว่ามีใครบ้างที่จะประเมิน เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา นักเรียน/
นักศึกษา
4. เลือกใช้เทคนิคและเครื่องมือในการประเมินที่มีความหลากหลายเหมาะกับวัตถุประสงค์และเกณฑ์การ
ประเมิน เช่น การทดสอบ การใช้แบบสอบถาม เป็นต้น
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS        13
                                                                            ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอย่างรายการประเมินคุณลักษณะทาง ICT แบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่
                                                                                  คาตอบ
                          คุณลักษณะ และ ตัวบ่งชี้
                                                                            ใช่           ไม่ใช่

     1.1 เห็นคุณค่า สนใจใฝ่รู้ ICT

              1) ศึกษาข้อมูลและติดตามข่าวสารด้าน ICT

              2) มีการรวบรวมผลงานด้าน ICT

              3) นา ICT มาใช้ในชีวิตประจาวัน

     1.2 มีจรรยาบรรณในการสร้างผลงาน เลือกและใช้สื่อเทคโนโลยี

               1) มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลทุกประเภท

               2) ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นเป็นของตน

               3) ใช้ซอฟต์แวร์โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์

               4) สร้างผลงานทีถูกกฎหมายและไม่ขัดต่อวัฒนธรรม ประเพณีอัน
                              ่
               ดีงาม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ

       1.3 ยอมรับความสามารถของตนเองและผู้อื่น

                1) รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้อื่น

                2) กล้าแสดงออกในการใช้ ICT
                3) กล้านาเสนอผลงานของตนต่อสาธารณะ

                4) ชื่นชมในผลงานของผู้อื่น

         1.4ระบบปฏิบัติการ
            1) รู้จักประเภทระบบปฏิบัติการ เช่นWindows, Linux, Dos ฯลฯ
            2) จัดการไฟล์ ( Files Manager) ได้ เช่น สร้าง ลบ แก้ไข ย้าย
           สาเนาไฟล์ ฯลฯ

            3) บอกลักษณะการทางานที่ผิดปกติเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการได้

            4) แก้ไขปัญหาเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการได้

            5) ติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการได้
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS        14
                                                                         ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                                                               คาตอบ
                        คุณลักษณะ และ ตัวบ่งชี้
                                                                         ใช่           ไม่ใช่



1.5โปรแกรมประยุกต์

              1.5.1โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing)

    1) รู้จักโปรแกรมประมวลผลคา
     2) เลือกและใช้โปรแกรมประมวลผลคา

     3) รู้จักและใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องและเหมาะสมกับงานทีปฏิบัติ
                                                            ่

     4) จัดรูปแบบเอกสารได้

     5) พิมพ์เอกสาร จัดเก็บ พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้

          6) ส่งออกข้อมูลเป็นไฟล์ชนิดอื่นได้ เช่น html, pdf ฯลฯ
             1.5.2โปรแกรมนาเสนอ

    1)   รู้จักโปรแกรมนาเสนอ
    2)   เลือกและใช้ โปรแกรมนาเสนอ
    3)   รู้จักและใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องเหมาะสม
    4)   สร้าง จัดเก็บ และนาเสนองานได้อย่างเหมาะสม
    5)   เลือกรูปแบบการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้อย่างเหมาะสมกับงาน
    6)   ส่งออกข้อมูลเป็นไฟล์ชนิดอื่นได้ เช่น html, pdf ฯลฯ

              1.5.3โปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย

   1) รู้จักโปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย

   2) เลือกและใช้โปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายได้
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS              15
                                                                             ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. สรุปวิเคราะห์ผลและการจัดการข้อมูลการประเมิน
ในการประเมินจาเป็นต้องใช้เครื่องมือที่มีเหมาะสมสอดคล้องกับสิ่งที่จะวัดและมีความน่าเชื่อถือได้ ด้วยเหตุนี้
การกาหนดเกณฑ์และวิธีการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนจึงเป็นสิ่งสาคัญ เนื่องจากมีการปฏิบัติ ไม่มีการเฉลย
เหมือนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ การให้คะแนนนั้นเป็นการให้คะแนนตามความสามารถ
 เกณฑ์การให้คะแนนเป็นภาพรวม คือ แนวทางในการให้คะแนนโดยพิจารณาจากความรู้เรื่องเกี่ยวกับICT โดย
เกณฑ์คะแนน จะเต็ม50 และจะแบ่งเป็น 4 ระดับ เช่น
0-15 ระดับต่า
16-25 ระดับพอใช้
26-35 ระดับดี
36-50 ระดับดีมาก
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS            16
                                                                       ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

                                        บรรณานุกรม


ทิศนา แขมมณี และคณะ. วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ พ.ว., 2544.
       สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร :
       โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2547
Enchanted Learning Software. (2004). Graphic Organizers.
http://www.enchantedlearning.com/graphicorganizers2004.
อภิญญา สุดา. 2547. “การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนในโครงการโรงเรียนต้นแบบ
          การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการเรียนรู้”. วิทยานิพนธ์
          ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและ
          ความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงรัตน์ อาบใจ. 2547 “สมรรถภาพที่พึงประสงค์สาหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้
          เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับโรงเรียนในโครงการพัฒนาการศึกษา
         ระดับมัธยมศึกษา”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา
         ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์
         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เธียร สานวน. 2547. “การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน จังหวัดสงขลา
       กรณีศึกษา : โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา” . วิทยานิพนธ์
       ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย,
         มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS             17
                                                                         ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ



พรพรรณ พึ่งประยูรพงศ์. 2547. “การพัฒนารูปแบบการสอนคอมพิวเตอร์ตามแนวคอนสตรัคติ
       วิสต์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบ สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ตามหลักสูตร
       การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544” . วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต
       สาขาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์,
       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระคาภีร์ สมภักดี. 2544. “ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ
       ศึกษา สังกัดกรมการศาสนา จังหวัดร้อยเอ็ด”. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญา
       การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เอกราช ตรันเจริญ. 2542. “ระบบการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลักสาหรับนักศึกษา
       มหาวิทยาลัยขอนแก่น” วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีและ
       สื่อสารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กระทรวงศึกษาธิการ. 2549. รายงานผลการวิจัยและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการใช้ ICT
       เพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
________________. 2547. คู่มือฝึกอบรม ICT เพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การ
       รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ.).

Contenu connexe

Tendances

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning Surapon Boonlue
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 

Tendances (15)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Smart classroom
Smart classroomSmart classroom
Smart classroom
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
project
projectproject
project
 

En vedette

โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯThira Woratanarat
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงNitikan2539
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1เล้ง ยอดดี
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามpingkung
 
แบบสอบถามซีโออาม 10
แบบสอบถามซีโออาม 10แบบสอบถามซีโออาม 10
แบบสอบถามซีโออาม 10Te'tee Pudcha
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

En vedette (17)

แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
ตัวอย่างการวางแผนแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกโดยนิสิตแพทย์จุฬาฯ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
แบบสอบถามซีโออาม 10
แบบสอบถามซีโออาม 10แบบสอบถามซีโออาม 10
แบบสอบถามซีโออาม 10
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similaire à Ict literacy

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...Naruepon Seenoilkhaw
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารpataravadee1
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 

Similaire à Ict literacy (20)

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
3.2.5 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรี...
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
K2
K2K2
K2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Ict literacy

  • 1. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 1 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง การออกแบบวิธการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ICT Literacy ี เสนอ อ.ดร. อิศรา ก้านจักร โดย นายคณพศ ยศพล รหัสนักศึกษา 543050213-3 นางสาวกนกภรณ์ โพธิจักร รหัสนักศึกษา 543050376-5 นางสาวศรีสุดา แสงกล้า รหัสนักศึกษา 543050384-6 นายเตวิช สีเนหะ รหัสนักศึกษา 543050546-6 นายวิระชา ทักษิณ รหัสนักศึกษา 543050548-2 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (237231) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 2 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ออกแบบวิธีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ICT Literacy ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ตลอดทุกเวลาทุกสถานที่ การรับ ข่าวสารด้วยการคิดพิจารณาจึงเป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งที่ต้องส่งเสริมให้เกิดกับผู้เรียน โดยการใช้ทักษะการ คิด ซึ่งประกอบด้วยทักษะ การสังเกต การสารวจ การตั้งคาถาม การรวบรวมข้อมูล การระบุ การจาแนก แยกแยะ การจัดลาดับ การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การเชื่อมโยง การขยายความ การให้เหตุผล การ สรุปความ การวิเคราะห์ การผสมผสานข้อมูล การจัดระบบความคิด การสร้างองค์ความรู้ใหม่ และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นต้น การพัฒนาทักษะการคิดในกระบวนการเรียนรู้ ICT ได้นา Graphic Organizers ซึ่งเป็น รูปแบบของการสื่อสารในลักษณะของรูปภาพ กราฟไดอะแกรม เพื่อใช้นาเสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบ กระชับ ชัดเจน ช่วยทาให้เกิดความเข้าใจง่ายขึ้น เร็วขึ้น และจดจาในสิ่งที่เรียนรู้ได้นาน ให้ผู้เรียนศึกษาและมีทักษะการใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนตระหนักรู้ในความต้องการ สารสนเทศ มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ รู้จักประมวลและประเมินสารสนเทศ ใช้และ ถ่ายทอดสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้รู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ อันจะนาไปสู่การพัฒนาเป็นผู้ เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learner) ต่อไป Graphic Organizers ที่นามาใช้ ได้แก่ Timeline Cluster Diagram Venn Diagram Webbing 5Ws and 1H KWLH Spider Map Chain of Events The Fishbone Problem/Solution Concept Map และ Mind Map หลักการและแนวคิด กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วยการรวบรวมและตรวจสอบ ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บและการดูแลรักษาข้อมูล การประเมินสารสนเทศ ตลอดจน ความสามารถในการ ประยุกต์ใช้และถ่ายทอดสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยทักษะ การ คิดทุกทักษะตลอดทั้งกระบวนการ จึงจะทาให้ผู้เรียนเป็น “ผู้รู้เท่าทันเทคโนโลยี (IT Literacy)” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิด 2. เพื่อพัฒนากระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) มาตรฐานการแสดงออกของกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy) ได้แก่ 1. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 2. คัดเลือกข้อมูลที่มีคุณภาพและจัดการข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
  • 3. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 3 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เลือกใช้วิธีการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับแหล่งข้อมูล 4. สรุปใจความสาคัญของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น 5. สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างความคิดใหม่ 6. เปรียบเทียบความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เพื่อตัดสินใจเลือกใช้ข้อมูล 7. ประยุกต์ใช้ความรู้เดิมเข้ากับความรู้ใหม่เพื่อวางแผนและสร้างสรรค์ผลงาน 8. แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 9. นาเสนอผลงานที่ภาคภูมิใจต่อผู้อื่น 10. มีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ 1. จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยการปฏิบัติจริง (Authentic Learning) 2. จัดให้มีการเรียนรู้ตามความสนใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น (Active Learning) 3. จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้และร่วมมือช่วยเหลือกัน (Collabolative Learning) มีการจัดการความรู้โดย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันด้วยวิธีการที่หลากหลาย 4. ประเมินผลตามสภาพจริงจากการปฏิบัติงานของผู้เรียน (Authentic Assessment) ผลที่เกิดกับผู้เรียน 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด 2. ผู้เรียนมีกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
  • 4. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างการพัฒนาทักษะการคิดในกระบวนการเรียนรู้ ICT โดยใช้ Graphic Organizers 1. Timeline จุดประสงค์ เพื่อจัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือลักษณะการกระทาให้เป็นรูปแบบที่มีการจัดลาดับ โดยระบุเหตุการณ์สาคัญและเรียงลาดับตามเวลาที่เกิดเหตุการณ์ ฝึกทักษะการคิด ทบทวนความรู้เดิม จัดลาดับ สรุปความ วิธีการใช้ จัดระเบียบเวลาและเหตุการณ์เข้าด้วยกัน จัดลาดับตามเวลาที่เหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น หัวข้อ จุดประสงค์ : คาชี้แจงนักเรียน : วันที่ / ปี พ.ศ. เหตุการณ์ / ลักษณะการกระทา ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... .................................................................................................................... ......................................... ....................................................................................................................
  • 5. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. Cluster Diagram จุดประสงค์ เพื่อจาแนกข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ โดยแบ่งแยกออกเป็นประเภท และจัดระบบตามลาดับชั้น ฝึกทักษะการคิด รวบรวมข้อมูล จาแนกแยกแยะ จัดหมวดหมู่ จัดลาดับ วิเคราะห์ วิธีการใช้ 1. เขียนหัวข้อที่วงกลมตรงกลาง 2. เขียนหัวข้อรองที่วงกลมต่างๆ ชั้นที่สอง 3. เขียนหัวข้อย่อยที่วงกลมต่างๆ ชั้นที่สาม หัวข้อ จุดประสงค์ : คาชี้แจงนักเรียน : หัวข้อ
  • 6. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 6 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้พื้นฐานไอซีที (ICT literacy) ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในบริบทของการเรียนรู้วิชาแกน นักเรียนต้องใช้ เทคโนโลยีให้เป็นเพื่อเรียนรู้เนื้อหาและทักษะจะได้รู้จักวิธีเรียนรู้ การคิดเชิงวิพากษ์ การแก้ไขปัญหา การใช้ ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร การผลิตนวัตกรรม และการร่วมมือทางาน บริบทการพัฒนา กาหนดบริบทของการพัฒนาโรงเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงาน ประกอบด้วยบริบท 7 ประการ คือ 1) ทฤษฎีพื้นฐานสู่แนวคิดการพัฒนาโรงเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เป็นบริบทที่มีขอบข่าย พื้นฐานตามแนวทฤษฎีการศึกษา (Theory of Education) ที่เรียกว่า Constructionism ทั้งนี้ Constructionism มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ที่เรียกว่า Constructivism ของ Piaget ความสัมพันธ์ของทั้งสองทฤษฎี อธิบายว่า Constructivism ความรูเ้ กิดขึ้นได้อย่างไร นาสู่วิธีการ Constructionism เป็นวิธีเน้น ออกแบบ สร้างทา แก้ปัญหา สร้างผลผลิต ทาให้ สร้างความรู ้ ความสัมพันธ์ของทฤษฎีพื้นฐานที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
  • 7. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 7 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาตามแนว Constructionism เป็นบริบทที่ประกอบด้วยการมีวัสดุที่ดี สาหรับการสร้าง และการมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ICT เป็นเทคโนโลยีที่มีวัสดุหรือโปรแกรมที่ดีสาหรับ ให้นักเรียนนามาใช้สร้างชิ้นงานหรือทาโครงงานโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ช่วยให้นักเรียนสารวจ ทดลองดู เรียนรู้โดยลงมือทา นาสิ่งเรียนรู้มาปฏิบัติ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน สาหรับ บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียน หมายถึงการที่ผู้เรียนมีทางเลือกกระทาในสิ่งที่สนใจ หรือตรงกับความสนใจ ผู้เรียนมีความหลากหลาย เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน และมีความเป็นกันเองที่ทาให้ ผู้เรียนมีโอกาสเข้าถึงเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 3) กระบวนการในชั้นเรียน เป็นบริบทที่หมายถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบทบาทครู บทบาท นักเรียน วิธีเรียนรู้ และวิธีสอน การใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามแนว Constructionism นั้น เน้นให้ครูมี บทบาทเป็นผู้ให้แนวทาง (guide) เป็นผู้ฝึกหัด (coach) เป็นพี่เลี้ยง (mentor) เป็นผู้อานวยความสะดวก (facilitator) ในขณะที่นักเรียนทาโครงงานโดยใช้ ICT เป็นเครื่องมือ มีบทบาทเป็นผู้สร้าง ออกแบบ ลงมือ ปฏิบั ติ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร่ ว มกัน สะท้ อนความคิด ผ่ านการนาเสนอและผ่ านจอภาพ ทาให้ ครู มีบทบาท ช่วยเหลือดูแลนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือส่งเสริมนักเรี ยน ทาให้ครูสามารถสอนนักเรียนได้อย่าง ใกล้ชิดในลักษณะการสอนตัวต่อตัว (Interactive Teaching) ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้เรียนและปรับแก้สิ่งที่ นักเรียนยังเข้าใจไม่ถูกต้อง สาหรับวิธีการเรียนรู้ เน้นวิธีเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) การที่ นักเรียนสร้างสรรค์งานโดยการสร้างชิ้นงานหรือทาโครงงาน ย่อมต้องมีปัญหาในระหว่างการทางาน ซึ่งเป็น สภาพจริงที่เกิดขึ้น การแก้ปัญหาอาจเกิดขึ้นได้หลายวิธี ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว การเรียนรู้ ร่วมกันอย่างมีปฏิสัมพันธ์จึงเกิดขึ้น 4) บทบาท ICT เป็นบริบทที่กาหนดบริบทไว้ว่าบทบาท ICT นั้น ขึ้นกับวิธีการนา ICT มาใช้ หาก นามาใช้เป็นเครื่องมือถ่ายทอด ICT ก็จะมีบทบาทเป็นเพียงเครื่องมือสอนแทนครู แต่ถ้านา ICT มาใช้ตามแนว Constructionism ICT ก็จะเป็นเครื่องมือสาหรับให้นักเรียนทาโครงงานในสถานการณ์ที่เลียนแบบกั บสิ่งที่มี อยู่หรือพบเห็นจริง เช่น นักหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ นักสร้างหุ่นยนตร์สมองกลให้แก้ปัญหา นักผลิตสื่อเพื่อ การถ่ายทอด นักค้นคว้าข้อมูลและสารสนเทศ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการค้นหา ถ่ายโอนแฟ้ม รับส่งอีเมล์ แสดงความคิดเห็นบนเว็บบอร์ด สนทนา และสื่อสารผ่านวีดิโอคอนเฟอร์เรนซ์ 5) เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้ เป็นบริบทของการใช้ ICT เป็นเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ จาแนกออก ได้เป็น ๔ ประการ คือ 1. เป็นเครื่องมือนาเสนอบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Multimedia Tools) ทาให้ นักเรียนเข้าถึงข้อมูลทีประสมประสานข้อความ ภาพ เสียง วีดิโอ ปฏิสัมพันธ์ หลากหลายวิชา ่ 2. เป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสาร (Communication Tools) 3. เป็นเครื่องมือค้นหาข้อมูลและสารสนเทศ (Searching Tools) 4. เป็นเครื่องมือสร้างชิ้นงาน (Authoring Tools) โดยอาจเป็นเครื่องมือสร้างเว็บเพจ (Web Authoring Tools) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เช่นภาษา HTML ภาษา Logo เป็นเครื่องมือสร้างภาพกราฟิกส์ (Graphics Tools) เป็นเครื่องมือทางานสานักงาน (Microsoft Office Tools) เป็นต้น
  • 8. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 8 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6) ห้องเรียน ICT กาหนดบริบทไว้ว่าควรเป็นห้องที่มีระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย โต๊ะเก้าอี้ การจัดวางห้องเรียนควรเน้นให้ครูและนักเรียนมีโอกาสใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นเครื่องมือสะท้อนความคิดและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันได้สะดวก เน้นการจัดห้องเรียนที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากเพื่อนและครู สามารถมองเห็ น การเรี ย นรู้ ของแต่ล ะคนผ่ านทางจอภาพ การพูดคุย และการสั งเกตการทางานของผู้ อื่น ตัวอย่างของการจัดห้องเรียนดังแสดงในภาพ 7) โครงการพัฒนานับเป็นบริบทสาคัญของการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการพัฒนาทั้งครูและนักเรียน ตลอดจนการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ตามแนว Constructionism ยุทธศาสตร์การพัฒนา การดาเนินการพัฒนาโรงเรียน ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในช่วงแรก ได้ใช้บริบทที่กาหนดข้างต้น เป็ น แนวทาง และได้ดาเนิ น โครงการพัฒ นาอาจารย์ ให้มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทาง ICT (ICT Literacy) และสร้างความมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน ใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และดาเนินโครงการ พัฒนานักเรียนโดยการจัดการประกวดทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรม เมื่อได้แนวทางใน การดาเนินงาน โรงเรียนจะต้องมีการประชุมเพื่อวางยุทธศาสตร์การพัฒนาให้เป็นรูปธรรม โดยแบ่งออกเป็น 5 ยุทธศาสตร์ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาครูให้มีทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะ พื้นฐานในการใช้ ICT ได้แนวคิดแนวทางในการนา ICT ไปใช้ในการ เรียนการสอนและการพัฒนานักเรียน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบใช้ ICT เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนานักเรียนให้มีทักษะและความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนานักเรียนให้มีความรู้และทักษะ พื้นฐานในการใช้ ICT ใช้ ICT ในการสร้างชิ้นงาน ใช้แหล่ง เรียนรู้จากการค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และสร้างงานจากการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาโลโก้
  • 9. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 9 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเรียนรู้แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้ การปฏิรูปการเรียนรู้มีจุดเน้นสาคัญ คือการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้ใน ทัศนะใหม่ คือทฤษฎีการสร้างความรู้ เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนมากกว่ากระบวนการสอนของครู การศึกษาแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนรู้ จะทาให้ครูมองเห็นแนวทางในการจัดการศึกษาใหม่ ที่สร้างนักเรียน ให้เป็นผู้มีปัญญา บนฐานของศีล สมาธิ ปัญญา และการใช้ ICT เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของนักเรียนตาม แนวคิดใหม่ที่เน้นการสร้างทาชิ้นงาน ตลอดจนการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนากระบวนการในชั้นเรียน (บทบาทครู บทบาทนักเรียน และวิธีเรียนรู้) กระบวนการในชั้นเรีย นหมายถึงกิจกรรมที่เน้นวิธี วิธีการ ขั้นตอน หรือ แบบแผน ที่นั กเรียนทา โครงงานหรือชิ้นงานเป็นกลุ่มหรือเดี่ยวด้วยวัสดุที่เหมาะสมต่อการสร้างทา และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก การนาเสนองานเพื่อสะท้อนความคิดของตนเองและผู้อื่น ห้องเรียนนับเป็นปัจจัยที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงกระบวนการ เรียนการสอนว่าเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบใด การเน้ นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนควรมีโอกาสเรียนรู้ โดยการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน ห้องเรียนในแนวใหม่นั้นจะทาให้ครูและนักเรียนมีบทบาทที่เปลี่ยนไป ครูจะ มีบทบาทเป็นผู้ช่วยเหลือดูแลให้คาปรึกษา ในขณะที่นักเรียนร่วมกันคิดออกแบบและสร้างชิ้นงาน ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การประยุ กต์ ICT เป็ น เครื่ องมือการเรี ย นรู้ ส าระวิช าตามหลักสู ตรระดั บ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ICT มีบทบาทต่อกระบวนการเรียนรู้ เนื่องจาก ICT เป็นเทคโนโลยีที่มีเครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ที่ หลากหลาย ทั้งการติดต่อสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ และการสร้างชิ้นงาน ทาให้เกิด การบูรณาการการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสาระวิชา พัฒนาทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะการคิดขั้นสูง และ การคิดสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
  • 10. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 10 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การดาเนินงาน การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์อาจจะดาเนินผ่านกิจกรรมหลากหลาย เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการ การประชุม การเยี่ยมโรงเรียน การจัดนิทรรศการ การจัดค่าย การจัดประกวด ฯลฯ ตัวอย่างการจัดกิจกรรม เช่น - กิจกรรมครั้งที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเรียนรู้ในแนวคิดใหม่ ทาใหม่” อาจจั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารให้ กั บ ครู ที่ โ รงเรี ย นของตนเอง หรื อ จั ด อบรมที่ ส านั ก บริ ก าร คอมพิวเตอร์ในสถานที่ที่ ใช้ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟเวิลด์ เป็นเครื่องมือให้ครูได้อภิปรายเกี่ยวกับการ เรียนรู้ และได้ทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการใช้คอมพิวเตอร์ ตลอดจนการสร้างเจตคติที่ดีต่อการใช้คอมพิวเตอร์ ในการเรียนรู้ ในการอบรมฯ ครั้งนี้ ครูต้องสามารถสร้างและนาเสนอผลงาน พร้อมแสดงข้อคิดเห็นในการ น าไปใช้ ในบรรยากาศของการลงมือสร้ าง ออกแบบ ในสิ่ งที่แต่ล ะคนสนใจ และเรียนรู้ร่ว มกันโดยการ แลกเปลี่ยนสิ่งที่ค้นพบได้ - กิจกรรมครั้งที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้” - กิจกรรมครั้งที่ 3 การเปิดโครงการโรงเรียนใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการประชุมเชิง ปฏิบัติการ “เครื่องมือ ICT เพื่อการเรียนรู้” - กิจกรรมครั้งที่ 4 การจัดนิทรรศการเผยแพร่โครงการโรงเรียนต้นแบบการใช้ ICT เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ และควรจัดกิจกรรม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในครั้งต่อๆ ไป เพื่อเป็นการพัฒนา ICT literacy เพื่อการเรียนรู้สาหรับครูและนักเรียน
  • 11. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 11 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินอย่างไรให้รู้ว่าผู้เรียนมี ICT Literacy กรอบแนวคิดและทฤษฎีทใช้ ในการประเมิน ี่ ขอบข่ายของไอซีที 1. ระบบสื่อสาร 2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร 3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อการศึกษา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา : 2546) ขั้นตอนการใช้สื่อ การศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยี 1. ขั้นวางแผน (Planning) สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ 2. ขั้นเลือกสื่อ (Selection) เรียนการสอนในโรงเรียนต้นแบบการ 3. ขั้นเตรียมการใช้ (Preparation) พัฒนาการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ 4. ขั้นการใช้สื่อ (Presentation) 5. ขั้นประเมินการใช้ (Evaluation) การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. รูปแบบที่ 1 แบบรายวิชา 2. รูปแบบที่ 2 แบบบูรณาการ 3. รูปแบบที่ 3 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเสริม ศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2545 : 27-29)
  • 12. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 12 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่คะแนนจากแบบทดสอบเรื่องการใช้เทคโนโลยีต่างๆ ict ต่างๆ ซึ่งได้แก่ ความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญที่ผู้เรียนต้องมีเพื่อความสาเร็จในการทางานและการ ดารงชีวิต โดยมีลักษณะการบูรณาการทั้งคุณธรรมและความรู้ แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาผู้เรียนด้านสมองและ จิตใจต้องควบคู่กันไปโดยไม่แยกส่วน ซึ่งในการประเมินสามารถประเมินระหว่างเรียนและประเมินสรุปรวม โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการประเมิน 2. พิจารณาขอบเขต เกณฑ์ วิธีการ และสิ่งที่จะประเมิน เช่น การรู้ ICT การนาเทคโนโลยีต่างๆไปใช้ใน ชีวิตประจาวันและทักษะในการใช้เทคโนโลยี 3. กาหนดองค์ประกอบและผู้ประเมินว่ามีใครบ้างที่จะประเมิน เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา นักเรียน/ นักศึกษา 4. เลือกใช้เทคนิคและเครื่องมือในการประเมินที่มีความหลากหลายเหมาะกับวัตถุประสงค์และเกณฑ์การ ประเมิน เช่น การทดสอบ การใช้แบบสอบถาม เป็นต้น
  • 13. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 13 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างรายการประเมินคุณลักษณะทาง ICT แบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ คาตอบ คุณลักษณะ และ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่ 1.1 เห็นคุณค่า สนใจใฝ่รู้ ICT 1) ศึกษาข้อมูลและติดตามข่าวสารด้าน ICT 2) มีการรวบรวมผลงานด้าน ICT 3) นา ICT มาใช้ในชีวิตประจาวัน 1.2 มีจรรยาบรรณในการสร้างผลงาน เลือกและใช้สื่อเทคโนโลยี 1) มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลทุกประเภท 2) ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นเป็นของตน 3) ใช้ซอฟต์แวร์โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ 4) สร้างผลงานทีถูกกฎหมายและไม่ขัดต่อวัฒนธรรม ประเพณีอัน ่ ดีงาม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ 1.3 ยอมรับความสามารถของตนเองและผู้อื่น 1) รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้อื่น 2) กล้าแสดงออกในการใช้ ICT 3) กล้านาเสนอผลงานของตนต่อสาธารณะ 4) ชื่นชมในผลงานของผู้อื่น 1.4ระบบปฏิบัติการ 1) รู้จักประเภทระบบปฏิบัติการ เช่นWindows, Linux, Dos ฯลฯ 2) จัดการไฟล์ ( Files Manager) ได้ เช่น สร้าง ลบ แก้ไข ย้าย สาเนาไฟล์ ฯลฯ 3) บอกลักษณะการทางานที่ผิดปกติเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการได้ 4) แก้ไขปัญหาเบื้องต้นของระบบปฏิบัติการได้ 5) ติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการได้
  • 14. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 14 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คาตอบ คุณลักษณะ และ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่ 1.5โปรแกรมประยุกต์ 1.5.1โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing) 1) รู้จักโปรแกรมประมวลผลคา 2) เลือกและใช้โปรแกรมประมวลผลคา 3) รู้จักและใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องและเหมาะสมกับงานทีปฏิบัติ ่ 4) จัดรูปแบบเอกสารได้ 5) พิมพ์เอกสาร จัดเก็บ พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ 6) ส่งออกข้อมูลเป็นไฟล์ชนิดอื่นได้ เช่น html, pdf ฯลฯ 1.5.2โปรแกรมนาเสนอ 1) รู้จักโปรแกรมนาเสนอ 2) เลือกและใช้ โปรแกรมนาเสนอ 3) รู้จักและใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องเหมาะสม 4) สร้าง จัดเก็บ และนาเสนองานได้อย่างเหมาะสม 5) เลือกรูปแบบการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้อย่างเหมาะสมกับงาน 6) ส่งออกข้อมูลเป็นไฟล์ชนิดอื่นได้ เช่น html, pdf ฯลฯ 1.5.3โปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย 1) รู้จักโปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย 2) เลือกและใช้โปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายได้
  • 15. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 15 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5. สรุปวิเคราะห์ผลและการจัดการข้อมูลการประเมิน ในการประเมินจาเป็นต้องใช้เครื่องมือที่มีเหมาะสมสอดคล้องกับสิ่งที่จะวัดและมีความน่าเชื่อถือได้ ด้วยเหตุนี้ การกาหนดเกณฑ์และวิธีการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนจึงเป็นสิ่งสาคัญ เนื่องจากมีการปฏิบัติ ไม่มีการเฉลย เหมือนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ การให้คะแนนนั้นเป็นการให้คะแนนตามความสามารถ เกณฑ์การให้คะแนนเป็นภาพรวม คือ แนวทางในการให้คะแนนโดยพิจารณาจากความรู้เรื่องเกี่ยวกับICT โดย เกณฑ์คะแนน จะเต็ม50 และจะแบ่งเป็น 4 ระดับ เช่น 0-15 ระดับต่า 16-25 ระดับพอใช้ 26-35 ระดับดี 36-50 ระดับดีมาก
  • 16. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 16 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บรรณานุกรม ทิศนา แขมมณี และคณะ. วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ พ.ว., 2544. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2547 Enchanted Learning Software. (2004). Graphic Organizers. http://www.enchantedlearning.com/graphicorganizers2004. อภิญญา สุดา. 2547. “การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนในโครงการโรงเรียนต้นแบบ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการเรียนรู้”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและ ความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดวงรัตน์ อาบใจ. 2547 “สมรรถภาพที่พึงประสงค์สาหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับโรงเรียนในโครงการพัฒนาการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เธียร สานวน. 2547. “การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน จังหวัดสงขลา กรณีศึกษา : โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา” . วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
  • 17. 237213 INFORMATION TECHNOLOGY LITERACY SKILLS 17 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พรพรรณ พึ่งประยูรพงศ์. 2547. “การพัฒนารูปแบบการสอนคอมพิวเตอร์ตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบ สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544” . วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระคาภีร์ สมภักดี. 2544. “ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา สังกัดกรมการศาสนา จังหวัดร้อยเอ็ด”. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เอกราช ตรันเจริญ. 2542. “ระบบการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลักสาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น” วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กระทรวงศึกษาธิการ. 2549. รายงานผลการวิจัยและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ________________. 2547. คู่มือฝึกอบรม ICT เพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การ รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ.).