SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
ตลาดและการ
กำาหนดราคา
Market and Price
Determination
ตลาด ( Market )
•ตลาด หมายถึง กิจกรรมการตกลงซื้อขาย
สินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต ไม่
จำาเป็นต้องเป็นเฉพาะสถานที่ แต่เน้นที่การ
ซื้อขายเป็นหลัก เช่น การซื้อขายบน
อินเตอร์เน็ต การซื้อโดยผ่านทางโทรศัพท์
•ตลาดจึงมีหน้าที่อำานวยความสะดวกให้ผู้
ซื้อและผู้ขายได้ทำาการแลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการ อาจเป็นทั้งระบบ
No Market
Market
New Market
Order
Delivery
การจำาแนกตลาด
•จำาแนกตามเขตภูมิศาสตร์ เช่น ตลาดท้องถิ่น
ตลาดภายในประเทศ ตลาดต่างประเทศ ตลาด
โลก
•จำาแนกตามชนิดของสิ่งของที่ซื้อขาย เช่น
ตลาดผลผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต
•จำาแนกตามชนิดสินค้าจำาแนกตามสภาพและ
ลักษณะการซื้อขาย เช่น ตลาดกลาง ตลาด
ขายส่งและขายปลีก
•ตลาดอื่นๆ** เช่น ตลาดการเงิน ตลาดทุน
โครงสร้างตลาด ( Market
Structure )
•สามารถแบ่งลักษณะของตลาดตามความ
สามารถในการกำาหนดราคาของผู้ผลิต
จำานวนผู้ผลิต และลักษณะของสินค้าและ
บริการ ซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ
•ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( Perfectly
Competitive Market )
•ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ( Imperfectly
Competitive Market ) วึ่งอาจเป็นประ
เภทย่อยๆตามระดับของความไม่สมบูรณ์
Competition
- Many Firms,
Free Entry
-One Product
Monopoly
- One Firm, No
Entry
Monopolistic
- Many Firms,
Free Entry
-Differentiated
Product
Oligopoly
- FewFirms,
Limited Entry
-One Product
Number of Firms
roduct Differentiation
การตั้งราคาในทางทฤษฎี
•เกณฑ์สำาคัญในการตั้งราตาตามทฤษฎีนั้น
ต้องจำาแนกเสียก่อนว่า โครงสร้างตลาดมี
ลักษณะเป็นอย่างไร เพราะย่อมส่งผลต่อ
อุปสงค์ อุปทาน ความสามารถในการกำาหนด
ราคาของผู้ผลิต ตลอดจนดุลยภาพของตลาด
•นอกจากนี้ คุณลักษณะของเส้น ต้นทุนเฉลี่ย
ต้นทุนส่วนเพิ่ม เป็นอีกปัจจัยที่กำาหนดราคา
และปริมาณการผลิต
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
•ผู้ซื้อและผู้ขายมีจำานวนมากราย ผู้ซื้อและผู้
ขายรายหนึ่งรายใดไม่ทำาให้อุปสงค์ของ
ตลาดเปลี่ยนแปลง ไม่ส่งผลกระทบต่อราคา
ตลาด ราคาตลาดไม่สามารถเปลี่ยนโดยคน
ใดคนหนึ่ง
•สินค้ามีลักษณะใกล้เคียงกัน ผู้ซื้อไม่เห็น
ความแตกต่างของสินค้าจากผู้ผลิตแต่ละราย
•ผู้ผลิตสามารถเข้าสู่ตลาดโดยง่าย ( อาจบ่งชี้
ว่าต้นทุนคงที่ของสินค้ามีไม่สูงมาก )
•เคลื่อนย้ายสินค้าจากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง
•จากการที่ผู้ขายแต่ละรายต้องขายตาม
ราคาตลาด ไม่สามารถตั้งราคาตามใจ
ของตนเองได้ ( Price Taker )
•ราคานั้นเป็นราคาดุลยภาพของตลาด
(ขายจะสามารถขายได้ราคาเดียว ดังนั้น
อุปสงค์ที่ผู้ขายพบคือเป็นเส้นขนานแกน
นอน ( ความยืดหุ่นมีค่าเป็นอสงไขย )
ปริมาณ
ราคา
ปริมาณ
ราคา
P P D =AR =MR
D
S
ปริมาณผลผลิต
ราคา
AC
D = MR =AR
MC
A
B
P
C
QO
ข้อสังเกต
•ณ จุดที่กำำไรสูงสุด MC = MR ให้ปริมำณที่
ควรผลิตเท่ำกับ Q
•ดังนั้นรำยได้รวมจึงมีค่ำเท่ำกับ OP.OQ =
พื้นที่สี่เหลี่ยมใหญ่OPAQ
•ต้นทุนต่อหน่วย ณ ปริมำณกำรผลิต Q
พิจำรณำจำกเส้น AC คือ หน่วยละ OC บำท
ดังนั้นต้นทุนรวมเท่ำกับ OC.OQ = พื้นที่
สี่เหลี่ยม OCBQ
•กำำไรเกินปกติที่ได้รับ คือ รำยได้ - ต้นทุน =
•โดยปกติหำกเกิดกรณีที่มีผู้ผลิตได้กำำไรเกิน
ปกติ เนื่องจำกผู้ผลิตรำยใหม่เล็งเห็นกำำไรส่วน
นี้และด้วยควำมที่เป็นตลำดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้
ผลิตรำยใหม่สำมำรถเข้ำมำได้โดยง่ำย จึง
ทำำให้เกิดกำรแข่งขันและกำำไรส่วนที่เกินปกติ
นี้ก็จะหำยไป
•และหำกพิจำรณำต่อถึง ต้นทุนผันแปรต่อ
หน่วย เพื่อใช้ในกำรตัดสินใจ ก็จะได้ข้อสรุป
ในเรื่องว่ำเมื่อใดควรผลิตและเมื่อใดควรเลิก
กิจกำร ( รำคำต้องสูงกว่ำต้นทุนผันแปรต่อ
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = MR =AR
MC
A
B
P
C
QO
AVC
C1 D
กรณีที่ AVC < AC <
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = MR =AR
MC
A
PC
QO
AVC
C1 D
กรณีที่ AVC < AC =
Zero Profit
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = MR =AR
MC
A
BP
C
QO
AVC
C1 D
TR = OPBQ
TC = OCAQ
TVC = OC1DQ
Loss = PCAB
กรณีที่ AVC < P < AC
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = MR =AR
MC
A
B
P
C
QO
AVC
C1
D
TR = OPDQ
TC = OCAQ
TVC = OC1BQ
Loss = PCAD
กรณีที่ P < AVC < AC
ตลำดผูกขำดแท้จริง
( Monopoly )
•มีผู้ผลิตเพียงรำยเดียวเท่ำนั้น เรียกว่ำ ผู้
ผูกขำด ( Monopolist )
•สินค้ำนั้นไม่สำมำรถหำสินค้ำใดมำเทียบเคียง
ได้ ( ถ้ำไม่มีสินค้ำทดแทนแสดงว่ำควำม
ยืดหยุ่นมีค่ำเป็นศูนย์ หรือมีค่ำควำมยืดหยุ่นที่
น้อยมำก )
•ผู้ผลิตรำยใหม่ๆไม่สำมำรถเข้ำสู่ตลำดได้
อำจเป็นควำมสำมำรถกีดกันจำกผู้ผลิตรำย
เดิม เช่น สัมปทำน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร
( ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตรต่ำงกันอย่ำงไร ??? )
•เนื่องจำกเป็นผู้ขำยรำยเดียว เส้นอุปสงค์
ของสินค้ำที่ผู้ผลิตเผชิญจึงเป็นเส้นเดียวกัน
กับเส้นอุปสงค์ตลำด ( ทอดจำกซ้ำยบนมำ
ขวำล่ำง )
•จุดที่ทำำให้กำำไรสูงสุดยังคงเป็นตำมเงื่อนไข
MC = MR
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = AR
MC
A
MR
P
C
QO
B
C
ปริมำณผลผลิต
รำคำ
AC
D = AR
MC
A
MR
P
C
QO
B
C
ข้อสังเกต
•ณ จุดที่กำำไรสูงสุด MC = MR ให้ปริมำณที่
ควรผลิตเท่ำกับ Q
•ดังนั้นรำยได้รวมจึงมีค่ำเท่ำกับ OP.OQ =
พื้นที่สี่เหลี่ยมใหญ่OPAQ
•ต้นทุนต่อหน่วย ณ ปริมำณกำรผลิต Q
พิจำรณำจำกเส้น AC คือ หน่วยละ OC
บำท ดังนั้นต้นทุนรวมเท่ำกับ OC.OQ =
พื้นที่สี่เหลี่ยม OCBQ
•กำำไรเกินปกติที่ได้รับ คือ รำยได้ - ต้นทุน =
•ในกรณีของตลำดผูกขำดสมบูรณ์ รำคำ
สินค้ำสูงกว่ำ MC เสมอ
•รำคำในตลำดผูกขำด สูงกว่ำรำคำในตลำด
สมบูรณ์เสมอ เพรำะผู้ผลิตจะคุมรำคำหรือ
ปริมำณที่ทำำให้ ระดับรำคำสูงกว่ำ MC และ
AC เสมอ เพื่อที่จะสำมำรถได้กำำไรเกินปกติ
•กำำไรเกินปกติจะคงอยู่ เพรำะไม่มีคู่แข่งรำย
ใดสำมำรถเข้ำสู่ตลำดได้จำกอำำนำจกำร
กีดกันของผู้ผลิต
•ผู้ผลิตอำจตั้งรำคำ โดยใช้ หลัก กำรแบ่ง
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
•หน่วยผลิตมีจำานวนมาก
•ผู้ผลิตรายใหม่เข้าสู่ตลาดได้โดยง่าย
•สินค้านั้นไม่ใช่มีลักษณะเดียวกัน
( Heterogeneous Product ) เหมือนกับ
กรณีแข่งขันแบบสมบูรณ์ ( ถ้าสินค้าเหมือน
กัน เรียก Homogeneous Product )
•ความแตกต่าง เช่น รูปลักษณ์ของสินค้า
ฟังก์ชันการใช้งาน
•ถ้าสินค้ายิ่งแตกต่างมากเท่าไรก็สามารถ
ตลาดผู้ขายน้อยราย
( กรณี 2 ราย : Oligopoly)
•ผู้ขายมีน้อยราย โดยที่สินค้านั้นมีลักษณะที่
เหมือนกัน ดังนั้นผู้ขายจึงทำาการกำาหนด
ปริมาณการผลิต ( ปริมาณสามารถบ่งชี้ว่า
ราคาควรเป็นเท่าไร P = f( Q1 + Q2 ) )
•ผู้ขายรายหนึ่งอาจดูว่าผู้ขายอีกรายจะมี
กลยุทธ์อย่างไรแล้วจึงกำาหนดกลยุทธ์ของตัว
เอง ในขณะที่อีกฝ่ายก็จะทำาในลักษณะ
เดียวกัน
•ในการพิจารณาอาจใช้ทฤษฎีเกม ( Game
Theory ) เข้ามาประกอบการตัดสินใจ
สมมตินักโทษ 2 คน วางแผนจะหนีจากคุก ซึ่ง
ถ้าทั้งสองสามารถทำาสำาเร็จก็จะเป็นประโยชน์ทั้ง
คู่ แต่ถ้าไม่แหกคุก ต่างคนก็ต่างรับโทษ แต่หาก
มีใครหักหลังคนที่เอาไปฟ้องก็จะเป็นประโยชน์
ในขณะที่อีกฝ่ายก็จะได้รับโทษมากขึ้น
นักโทษ B
ร่วมมือ หักหลัง
นักโทษ A ร่วมมือ ( 5 , 5 )
( -5 , 2 )
หักหลัง ( 2 , -5 ) ( -2 ,
รณีที่ผู้ผลิตมีการพิจารณาถึงกลยุทธ์ของอีกฝ่ายหน
ปริมาณที่ A ผลิต
ปริมาณที่ B ผลิต
ปริมาณ Q1+Q2
ราคา
D
S
S*
การกำาหนดราคาในทาง
ปฏิบัติ
•การตั้งราคาเพื่อให้ได้กำาไรสูงสุด
( Maximize Profit Pricing )
•การตั้งราคาตามต้นทุนส่วนเพิ่ม ( Marginal
Cost Pricing )
•การตั้งราคาตามต้นทุนเฉลี่ย ( Average
Pricing )
•การตั้งราคาตามราคาตลาด ( Market
Pricing )
การกำาหนดราคาในทาง
ปฏิบัติ
•การตั้งราคาตามรุ่นหรือรูปแบบสินค้า
( Multiple Model Pricing )
•การตั้งราคาเพื่อสร้างค่านิยม ( Pristige
Pricing )
•การตั้งราคาตามประเพณีนิยม ( Customary
Pricing )
•การตั้งราคาแบอื่นๆ เช่น การขายพ่วง การตั้ง
ราคาลงเลข 9 การตั้งราคาแบบนั่งเทียน การ
การตั้งราคาเพื่อให้ได้กำาไร
สูงสุด
•ในการพิจารณานั้นเป็นการคิดในเชิงทฤษฎี
ต้องตั่งราคาตามเงื่อนไข MC = MR ซึ่ง
เป็นการยาก ( ยากที่สุด ) ในการวัดค่าต้นทุน
เพิ่ม รายรับเพิ่ม ซึ่งจะง่ายหากมีข้อสมมติฐาน
ว่าตลาดนั้นเป็นตลาดที่แข่งขันสมบูรณ์ ซึ่งที่
จริงอาจไม่ใช่
•บางหน่วยผลิตอาจไม่ได้มุ่งการสร้างกำาไร
สูงสุดเช่น กิจการที่ไม่หวังผลกำาไร องค์กร
การตั้งราคาตามต้นทุนส่วน
เพิ่ม
•ในการตั้งราคาจะให้ MC = AR แทนที่จะเป็น
ตามเงื่อนไข MC = MR
•ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์แล้วกติกาไม่ได้แตก
ต่างจากเดิม เพราะ AR เป็นเส้นเดียวกับ MR
แต่ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์นั้นจะมีความ
แตกต่าง
•ความแตกต่างนั้น คือ ราคาของสินค้าและ
บริการจะลดลง จะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค
ปริมาณผลผลิต
ราคา
AC
D = MR =AR
MC
A
B
P
C
QO
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปริมาณผลผลิต
ราคา
AC
D = AR
MC
A
MR
P
C
QO
B
C
P*
Q*
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การตั้งราคาตามต้นทุน
เฉลี่ย
•ในกรณีนี้จะให้ต้นทุนเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ
รายรับเฉลี่ย ( AC = AR ) โดยกำาหนดจุด
นั้นเป็นปริมาณการผลิตของหน่วยผลิต
เพราะต้นทุนนั้นมีการรวมต้นทุนของผู้
ประกอบการไว้แล้ว ดังนั้นก็เพียงพอ
สำาหรับผู้ผลิตเพราะจะได้กำาไรปกติอยู่แล้ว
•ราคาที่ผู้บริโภคจ่ายในกรณีที่ตลาด
แข่งขันไม่สมบูรณ์ก็จะลดลง เพราะผู้ผลิต
ปริมาณผลผลิต
ราคา
AC
D = MR =AR
MC
A
PC
QO
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ กรณีผลิตที่ AC =
ปริมาณผลผลิต
ราคา
AC
D = AR
MC
A
MR
P
C
QO
B
C
P**
Q**
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ กรณีผลิตที่ AC = A
P*
Q*
การตั้งราคาตามราคา
ตลาด
•การตั้งราคาตามวิธีนี้ก็เป็นการสังเกตว่า
ดุลยภาพของตลาดอยู่ที่เท่าไร ผู้ผลิตก็จะตั้ง
ราคาตามนั้น
•เมื่อเป็นเช่นนั้น ผู้ผลิตก็ต้องพยายามลดต้นทุน
การผลิตของตน หรือผลิตให้มีประสิทธิภาพดี
ขึ้นเพื่อให้ได้กำาไรที่สูงขึ้น
•ถ้าราคาตลาดสูงกว่าต้นทุนการผลิต ผู้ผลิตก็
ไม่สามารถอยู่ได้ อาจต้องออกจากระบบการ
ผลิต และหากมีกำาไร ผู้ผลิตรายใหม่ๆก็อยาก
เข้ามา
ตัวอย่างการตั้งราคาตาม
ราคาตลาด
กรณี การซื้อขายเงินตราต่าง
ประเทศ•เงินตราต่างประเทศ มีการเสนอราคาเทียบ
กับเงินบาท ดังนี้ คือ
สกุล เสนอซื้อ ( Bid ) เสนอ
ขาย ( Ask )
US Dollar 45.15
45.60
DM 19.40
20.10
JPY ( 100 เยน ) 30.30
ตัวอย่างการตั้งราคาตาม
ราคาตลาด
กรณี การเสนออัตราดอกเบี้ย
•อัตราดอกเบี้ยขึ้นกับระยะเวลาเป็นสำาคัญ
ตามตัวอย่างคือ
สกุล เสนอซื้อ ( Bid ) เสนอ
ขาย ( Ask )
7 Days 2.25
2.50
1 Mth 2.50 - 60
3 Mths 2.70 - 85
6 Mths 3.00 - 25
การตั้งราคาตามต้นทุน
•เป็นวิธีการที่นิยม ผู้ผลิตจะคิดต้นทุนทั้งหมด
และบวกกำาไรที่ต้องการ เช่นหากต้นทุน 100
บาท ต้องการกำาไร 20% ดังนั้นก็จะตั้งราคา
ขาย 120 บาท
•ราคาขายที่ตั้งนั้นต้องไม่สูงกว่าราคาที่ซื้อขาย
อยู่ในตลาด ถ้าอยู่สูงกว่าราคาตลาด ผู้ผลิต
ต้องหาหนทางคือ
•เพิ่มปริมาณผลผลิต เพื่อให้ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อ
หน่วยถูกลง ( Why ? ) ปรับปรุงประสิทธิภาพ
การตั้งราคาสินค้าให้แตก
ต่างกัน
•สินค้าชนิดเดียวกันแต่อาจปรับปรุงคุณสมบัติ
หรือข้อกำาหนดบางประการ แล้วแยกตลาด
ในการกำาหนดราคา เช่น สายการบินที่มีชั้น
First Class, Business Class, Economy
Class หรือ การตั้งราคาไฟฟ้าที่ต่างกัน
ระหว่างครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม
หรือ การกำาหนดราคาตั๋วตามอายุ เช่นกรณี
ของบัตรรถไฟฟ้า หรือ การขายของที่มาจา
กกโรงงานเดียวกันในราคาที่ต่างๆกัน
•เป็นการนำาเรื่องความยืดหยุ่นมาใช้ ตั้งราคา
ตลาด A
ราคาสูง
ตลาด B
ราคาตำ่า
ตลาด A
ราคาสูง ตลาด B
ราคาตำ่า
ตลาด C
ราคาสูงมาก
กรณีนี้
แบ่งตลาด
ได้อย่าง
ไม่เด็ด
ขาด
กรณีนี้
แบ่งตลาด
ได้อย่าง
เด็ดขาด
ปริมาณผลผลิต
ราคา
D
A
P
C
QO
B
CP**
Q**
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ตั้งราคาหลายระดับ
P*
Q*
B*
C*
ตลาด C
ตลาด B
ตลาด A
ข้อสังเกต
•หากเขาตั้งราคาเดียวที่ P เขาจะมีรายได้ =
สี่เหลี่ยม OPAQ
•หากเขาตั้งราคาเดียวที่ P* เขาจะมีรายได้ =
สี่เหลี่ยม OP*AQ*
•หากเขาตั้งราคาเดียวที่ P** เขาจะมีรายได้
= สี่เหลี่ยม OP**AQ**
•ซึ่งพื้นที่ OPAQ > OP*AQ* > OP**AQ**
•ถ้าเขาตั้งราคาเป็น 3 ระดับ คือ P , P* ,
p** รายได้รวมจะเท่ากับ พื้นที่สี่เหลี่ยม
การตั้งราคาตามรุ่นหรือรูป
แบบสินค้า
•วิธีการนี้ใช้กับสินค้าที่มีความทันสมัย เพราะ
จะมีรุ่นใหม่ๆออกมาประจำาและอาจเกิดการตก
รุ่นได้ และราคาของสินค้าที่ตกรุ่นก็จะมีราคา
ที่คำ่ากว่าสินค้าที่ไม่ตกรุ่น
•ผู้ผลิตอาจตั้งราคาสินค้าโดยมีการปรับเปลี่ยน
คุณภาพสินค้า เช่น โทรศัพท์มือถือ ที่มีตั้งแต่
รุ่น 3210 3310 8210 8250 หรือการ
ผลิตรถ เช่น S - Class , C - Class, V -
Class
การตั้งราคาเพื่อสร้างค่า
นิยม
•ในที่นี้ราคาอาจไม่สัมพันธ์กับต้นทุนการผลิต
โดยอาศัยชื่อเสียงและเอกลักษณ์ของสินค้า
นั้นๆ
•ราคาอาศัยการโฆษณาเป็นสำาคัญ และอาจ
แสดงถึงรสนิยมของผู้ซื้อสินค้าและบริการ
นั้นๆ
•สินค้าเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ฟุ่มเฟือย
มีลักษณะพิเศษคือ เมื่อราคาลดอาจไม่ซื้อแต่
การตั้งราคาตามประเพณี
นิยม
•ตั้งราคาตามกลยุทธ์ทางการตลาดและทาง
จิตวิทยา เช่น ลงด้วยเลข 9 การให้ของแถม
•การตั้งราคาเพื่อทุ่มตลาด ( Dumping
Pricing )
•การตั้งราคาแบบเจาะตลาด ( Penetration
การตั้งราคาแบบอื่นๆ
•การตั้งราคาแบบนี้อาศัยความเคยชินของคนทั่วไป เช่น นำ้าแข็งแห้ง
นำ้าอัดลม หนังสือพิมพ์ ค่าบริการรถโดยสารประจำาทาง ซึ่งหากสินค้า
พวกนี้ขึ้นราคาก็จะมีการโวยวาย

Contenu connexe

Tendances

Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Yaowaluk Chaobanpho
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfssuserb58b6b1
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกJanchai Pokmoonphon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬbussayamas Baengtid
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์  อุปทานPowerpoint อุปสงค์  อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์ อุปทานwarinda_lorsawat
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 

Tendances (20)

Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdf
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
Brand equity 2
Brand equity 2Brand equity 2
Brand equity 2
 
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์  อุปทานPowerpoint อุปสงค์  อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

En vedette (15)

Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Dbms
DbmsDbms
Dbms
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Mai
MaiMai
Mai
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิต
 
IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 
04 association
04 association04 association
04 association
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 

Present c5