SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ทักษะการใช้ เมาส์ และแป้ นพิมพ์


เมาส์
          เมาส์ เป็ นอุปกรณ์ภายนอกที่ใช้ต่อพ่วงกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการรับข้อมูลทาให้การ
ใช้งานง่าย และสะดวกขึ้น เช่น การเลือกรายการคาสั่ง การแก้ไข การเลือกข้อความ ตลอดจนการเคลื่อนย้าย
และเปลี่ยนขนาด ของหน้าต่าง สาหรับผูที่เริ่ ม ต้นใช้เมาส์ อาจจะเป็ นเรื่ องที่ค่อนข้างลาบาก แต่เมื่อใช้เป็ น
                                       ้
แล้วจะได้รับประโยชน์และความสะดวกในการทางานมากกว่าการใช้ แป้ นพิมพ์ เมาส์ที่ใช้ในปั จจุบน มีท้ ง     ั ั
แบบ 2 ปุ่ ม และ 3 ปุ่ ม โดยปกติสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวเมาส์บนจอภาพจะเป็ น รู ปลูกศรเรี ยกว่า ตัวชี้ (pointer)
ใช้เลื่อนไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอ โดยทัวไปเมาส์ชนิด 2 ปุ่ ม จะใช้ปุ่มทางซ้ายของเมาส์ส่งงานแต่ในบาง
                                         ่                                                ั
โปรแกรม เช่น ไมโครซอฟต์เอ็กเซล จะมีการใช้ปุ่มทางด้านขวาด้วย




                                                                               ่                    ่
         การจับเมาส์ ทถูกวิธี คือ การวางมือคว่าบนตัวเมาส์ โดยให้นิ้วกลางอยูที่ปุ่มด้านขวา นิ้วชี้อยูที่ปุ่ม
                        ี่
ด้านซ้าย ใช้นิ้วที่เหลือจับตัวเมาส์ให้ถนัดแล้วจึงเลื่อนเมาส์ไปมาตามทิศทางที่ตอง การ ซึ่งจะเป็ นการเลื่อน
                                                                             ้
ตัวชี้จอภาพไปในทิศทางที่เลื่อน




        การใช้งานเมาส์มี 4 ลักษณะ

        1. การชี้ตาแหน่ ง (point) เป็ นการเลื่อนตาแหน่งของตัวชี้ไปยังตาแหน่งที่ตองการ ซึ่งเป็ นรู ปลูกศรที่
                                                                                ้
        ่
ปรากฏอยูบนจอภาพไปยังพื้นที่ท่ีตองการทางาน เมื่อเลื่อนเมาส์ไปบนพื้นเรี ยบ ตัวชี้จะเคลื่อนที่ไปใน
                               ้
ทิศทางที่สอดคล้องกันบนจอภาพ
2. การคลิก (click) หมายถึง การกดปุ่ มซ้ายของเมาส์แล้วปล่อยอย่างรวดเร็ ว เป็ นการเลือกหรื อ
ยืนยันการใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่ตวชี้ช้ ีอยู่ ปัจจุบนมีการใช้ คลิกขวา (right click) ซึ่ งจะใช้ในการเรี ยกใช้คาสั่งลัด
                             ั                  ั
โดยการคลิกขวาที่วตถุใด ๆ ก็ได้ เช่น คลิกขวาที่ My Computer ก็จะมีคาสั่งลัดในการจัดการเกี่ยวกับ
                 ั
My Computer เป็ นต้น

         3. การดับเบิลคลิก (double click) หมายถึงการกดปุ่ มซ้ายของเมาส์ 2 ครั้งติดต่อกันอย่างรวดเร็ ว เป็ น
การยืนยันการเลือกเข้าสู่ โปรแกรมที่ตวชี้ช้ ี อยู่
                                    ั

         4. การลาก (drag) หมายถึง การกดปุ่ มด้านซ้ายมือของเมาส์คางไว้แล้วเลื่อนตัวชี้ไปในตาแหน่งที่
                                                                ้
ต้องการ แล้วจึง ปล่อยปุ่ มที่กดไว้ นอกจากนี้การลากยังเป็ นการกาหนดขอบเขตหรื อพื้นที่ที่ตองการ
                                                                                        ้

สั ญลักษณ์ และความหมายของตัวชี้เมาส์
พัฒนาการของเมาส์

           เมาส์พฒนาขึ้นมาครั้งแรก ในศูนย์คนคว้าที่เมืองปาโลอัลโต้ ของบริ ษทซี ร็อก (Xerox Corporation’s
                   ั                         ้                              ั
Palo Alto Research Center) เมาส์มีหลายรู ปร่ าง หลายลักษณะ โดยเฉพาะเมาส์รุ่นใหม่ๆ จะออกแบบมา
อย่างสวยงาม โดยปกติปุ่มของเมาส์ จะมี 2 ปุ่ มสาหรับเมาส์ของเครื่ องพีซี และปุ่ มเดียวสาหรับเครื่ อง
Macintosh ปั จจุบนมีการพัฒนาให้เมาส์ใช้งานได้ง่ายขึ้น โดยเพิ่มปุ่ มเลื่อนตรงกลาง มีลกษณะคล้ายล้อ ดัง
                      ั                                                              ั
                                                        ั ้
รู ป เรี ยกว่า Intelli Mouse ซึ่ งจะอานวยความสะดวกให้กบผูใช้ในการเลื่อนจอภาพเพื่อดูขอมูล นอกจากนี้ยง
                                                                                       ้              ั
มีเมาส์ที่ทางานด้วยสัญญาณแสง ที่เรี ยกว่า Infrared หรื อ Wireless Mouse




เมาส์ ทางานอย่างไร ?




                                     ่ ้
เมาส์ประกอบด้วย ลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยูดานล่าง และมีปุ่มกดควบคุม (ตั้งแต่ 1 - 3 ปุ่ ม) การใช้เมาส์จะนาเมาส์
วางไว้บนพื้นราบ และเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางที่ตองการ บนจอภาพจะปรากฏ สัญลักษณ์ช้ ีตาแหน่ง เรี ยกว่า
                                                 ้
"Mouse Pointer" (มักจะเป็ นรู ปลูกศรเฉียงซ้าย) เมื่อต้องการจะทางานใดๆ ก็ทาการกดปุ่ มเมาส์ ตามหลักการ
ใช้เมาส์ คอมพิวเตอร์ จะรับสัญญาณ และทาการประมวลผลต่อไป

กลไกการทางานของเมาส์

      กลไกการทางานของเมาส์ มี 3 ประเภท คือ Mechanical, Opto-Mechanical, Optical

Mechanical
                   เป็ นกลไกการทางานที่อาศัยลูกบอลยาง ที่สามารถกลิ้งไปมาได้ เมื่อทาการเคลื่อนย้ายตัว
                                    ่ ั
        เมาส์ ซึ่ งลูกบอลจะกดแนบอยูกบลูกกลิ้ง โดยแกนของลูกกลิ้ง จะต่อกับจานแปลรหัส (Encoder)
        บนจานจะมีหน้าสัมผัสเป็ นจุดๆ เมื่อจุดสัมผัสเลื่อนมาตรงแกนสัมผัส ก็จะสร้างสัญญาณ บอกไปยัง
เครื่ องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมควบคุมเมาส์ จะทาหน้าที่ แปลเป็ นคาสั่งเคลื่อนย้ายเคอร์ เซอร์ บน
        จอภาพต่อไป




Opto-Mechanical
                  กลไกการทางานคล้าย Mechanical แต่ตวรับการเคลื่อนที่ของจาน Encoder จะมี LED อยู่
                                                          ั
        อีกด้านหนึ่งของจานไว้คอยกาเนิดแสง และอีกด้านหนึ่ง จะมี Opto-Transistor (ทรานซิ สเตอร์ไว
        แสง) ไว้คอยตรวจจับแสงแทนการใช้การสัมผัส
Optical
        กลไกการทางานที่อาศัยแผ่นรองชนิ ดพิเศษ ซึ่ งมีผวมันสะท้อนแสง และมีตารางเส้นตามแกน X , Y
                                                            ิ
        โดยแกนหนึ่งเป็ นสี น้ าเงิน อีกแกนเป็ นสี ดา ตัดกันไว้คอยตรวจจับการเคลื่อนที่ ซึ่งบนเมาส์ จะมี
        LED 2 ตัวให้กาเนิ ดแสงออกมา 2 สี คือ สี ดา และสี น้ าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสี ดา จะดูดกลืนแสงสี
        น้ าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสี น้ าเงิน จะดูดกลืนแสงสี ดา ซึ่งตัวตรวจจับแสง เป็ นทรานซิ สเตอร์ไวแสง
        สี ที่ตรวจจับได้จะบอกทิศทาง ส่ วนช่วงของแสงที่หายไป จะบอกถึงระยะทางการเคลื่อนที่
แป้ นพิมพ์
       แผงแป้ นพิมพ์เป็ น อุปกรณ์สาหรับป้ อนข้อมูลและคาสั่งต่าง ๆ มีลกษณะคล้ายเครื่ องพิมพ์ดีดทัวไป
                                                                     ั                             ่
ทาหน้าที่ในการนาข้อมูลหรื อโปรแกรมเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ จานวนแป้ นพิมพ์มีต้ งแต่ 97 ถึง 108 แป้ น
                                                                              ั
หรื อมากกว่าแล้วแต่จุดประสงค์ในการใช้งาน ภายในแป้ นจะมีไมโครโพรเซสเซอร์ขนาดเล็กคอยทาหน้าที่
รับการกดแป้ นเพื่อแปลงเป็ นรหัสแล้วส่ งไปที่แผงวงจรหลัก ตัวอักษรที่สามารถส่ งเข้าเครื่ องได้เช่น อักษร
ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยทัวไปแป้ นพิมพ์ จะแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม ดังนี้
                                                         ่

                                                ่
        1. กลุ่มแปนอักษร (alphanumeric Keys) อยูตรงกลางแผงแป้ นพิมพ์ ใช้ในการป้ อนข้อมูลตัวอักษร
                  ้
ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ




                                              ่
          2. กลุ่มแปนตัวเลข (numeric keys) อยูทางขวามือของแผงแป้ นพิมพ์ เมื่อต้องการใช้แป้ นตัวเลข ให้
                    ้
กดปุ่ ม Num Lock จะเห็นว่ามีไฟที่แผงเหนื อแป้ นตัวเลข แสดงว่าให้ป้อนตัวเลขได้และถ้ากดปุ่ ม Num lock
อีกครั้ง จะเปลี่ยนจากการใช้ตวเลขกลับมาเป็ นแป้ นควบคุมทิศทาง
                              ั




                                                            ่
        3. กลุ่มแปนฟังก์ ชั่น (function keys) ส่ วนใหญ่จะอยูทางด้านบนของแผงแป้ นพิมพ์ มี 12 แป้ นคือ
                  ้
F1 ถึง F12 แป้ นเหล่านี้เป็ นแป้ นใช้งานเฉพาะอย่าง แล้วแต่โปรแกรมจะกาหนดไว้ ซึ่ งหน้าที่ของแป้ นเหล่านี้
จะศึกษาได้จากค่มือ การใช้งานโปรแกรมนั้น ๆ
4. กลุ่มแปนควบคุมเคอร์ เซอร์ (cursor control keypad) กาหนดทิศทางและตาแหน่งต่าง ๆ ของ
                  ้
เคอร์เซอร์




          5. กลุ่มแปนควบคุม (control keys) เช่น Enter แป้ น Shift แป้ น Ctrl แป้ น Alt แป้ นเหล่านี้ อาจ
                    ้
มีการใช้ ร่ วมกันมากกว่าหนึ่งแป้ นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ ตาแหน่งแป้ นพิเศษอาจอยูในตาแหน่ง ่
ที่ต่างกันแล้วแต่รุ่นและบริ ษทที่ผลิต เช่น แป้ น Enter บางครั้งใช้คาว่า Return ซึ่ งทาหน้าที่สั่งให้คอมพิวเตอร์
                             ั
ทางานหรื อเลื่อนเคอร์ เซอร์ไปบรรทัดถัดไปใน การพิมพ์เอกสาร

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
chunkidtid
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
Sittidet Nawee
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
krumolticha
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
krutitirut
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Noppakhun Suebloei
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
Mam Chongruk
 

Tendances (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Similaire à 1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
Guntima Pisaidsin
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
Pokypoky Leonardo
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
Guntima Pisaidsin
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPCการดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
Napadon Yingyongsakul
 
การดู Serial Number โครงการ OTPC
การดู Serial Number โครงการ OTPCการดู Serial Number โครงการ OTPC
การดู Serial Number โครงการ OTPC
kruamporn
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
sompriaw aums
 
งานคอมที่คุณรู้จัก
งานคอมที่คุณรู้จักงานคอมที่คุณรู้จัก
งานคอมที่คุณรู้จัก
kamalonss082
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 

Similaire à 1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์ (20)

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
27hardware ปัทมา
27hardware ปัทมา27hardware ปัทมา
27hardware ปัทมา
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
บุญญา
บุญญาบุญญา
บุญญา
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูลส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูล
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPCการดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
การดู serial number และ Mac Address Tablet OTPC
 
การดู Serial Number โครงการ OTPC
การดู Serial Number โครงการ OTPCการดู Serial Number โครงการ OTPC
การดู Serial Number โครงการ OTPC
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
Work3-12
Work3-12Work3-12
Work3-12
 
งานคอมที่คุณรู้จัก
งานคอมที่คุณรู้จักงานคอมที่คุณรู้จัก
งานคอมที่คุณรู้จัก
 
Work 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่4
Work 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่4Work 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่4
Work 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่4
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 

Plus de Chatree MChatree

กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5
กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
Chatree MChatree
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
Chatree MChatree
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
Chatree MChatree
 

Plus de Chatree MChatree (11)

กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5
กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
1.4 การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 

1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์

  • 1. ทักษะการใช้ เมาส์ และแป้ นพิมพ์ เมาส์ เมาส์ เป็ นอุปกรณ์ภายนอกที่ใช้ต่อพ่วงกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการรับข้อมูลทาให้การ ใช้งานง่าย และสะดวกขึ้น เช่น การเลือกรายการคาสั่ง การแก้ไข การเลือกข้อความ ตลอดจนการเคลื่อนย้าย และเปลี่ยนขนาด ของหน้าต่าง สาหรับผูที่เริ่ ม ต้นใช้เมาส์ อาจจะเป็ นเรื่ องที่ค่อนข้างลาบาก แต่เมื่อใช้เป็ น ้ แล้วจะได้รับประโยชน์และความสะดวกในการทางานมากกว่าการใช้ แป้ นพิมพ์ เมาส์ที่ใช้ในปั จจุบน มีท้ ง ั ั แบบ 2 ปุ่ ม และ 3 ปุ่ ม โดยปกติสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวเมาส์บนจอภาพจะเป็ น รู ปลูกศรเรี ยกว่า ตัวชี้ (pointer) ใช้เลื่อนไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอ โดยทัวไปเมาส์ชนิด 2 ปุ่ ม จะใช้ปุ่มทางซ้ายของเมาส์ส่งงานแต่ในบาง ่ ั โปรแกรม เช่น ไมโครซอฟต์เอ็กเซล จะมีการใช้ปุ่มทางด้านขวาด้วย ่ ่ การจับเมาส์ ทถูกวิธี คือ การวางมือคว่าบนตัวเมาส์ โดยให้นิ้วกลางอยูที่ปุ่มด้านขวา นิ้วชี้อยูที่ปุ่ม ี่ ด้านซ้าย ใช้นิ้วที่เหลือจับตัวเมาส์ให้ถนัดแล้วจึงเลื่อนเมาส์ไปมาตามทิศทางที่ตอง การ ซึ่งจะเป็ นการเลื่อน ้ ตัวชี้จอภาพไปในทิศทางที่เลื่อน การใช้งานเมาส์มี 4 ลักษณะ 1. การชี้ตาแหน่ ง (point) เป็ นการเลื่อนตาแหน่งของตัวชี้ไปยังตาแหน่งที่ตองการ ซึ่งเป็ นรู ปลูกศรที่ ้ ่ ปรากฏอยูบนจอภาพไปยังพื้นที่ท่ีตองการทางาน เมื่อเลื่อนเมาส์ไปบนพื้นเรี ยบ ตัวชี้จะเคลื่อนที่ไปใน ้ ทิศทางที่สอดคล้องกันบนจอภาพ
  • 2. 2. การคลิก (click) หมายถึง การกดปุ่ มซ้ายของเมาส์แล้วปล่อยอย่างรวดเร็ ว เป็ นการเลือกหรื อ ยืนยันการใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่ตวชี้ช้ ีอยู่ ปัจจุบนมีการใช้ คลิกขวา (right click) ซึ่ งจะใช้ในการเรี ยกใช้คาสั่งลัด ั ั โดยการคลิกขวาที่วตถุใด ๆ ก็ได้ เช่น คลิกขวาที่ My Computer ก็จะมีคาสั่งลัดในการจัดการเกี่ยวกับ ั My Computer เป็ นต้น 3. การดับเบิลคลิก (double click) หมายถึงการกดปุ่ มซ้ายของเมาส์ 2 ครั้งติดต่อกันอย่างรวดเร็ ว เป็ น การยืนยันการเลือกเข้าสู่ โปรแกรมที่ตวชี้ช้ ี อยู่ ั 4. การลาก (drag) หมายถึง การกดปุ่ มด้านซ้ายมือของเมาส์คางไว้แล้วเลื่อนตัวชี้ไปในตาแหน่งที่ ้ ต้องการ แล้วจึง ปล่อยปุ่ มที่กดไว้ นอกจากนี้การลากยังเป็ นการกาหนดขอบเขตหรื อพื้นที่ที่ตองการ ้ สั ญลักษณ์ และความหมายของตัวชี้เมาส์
  • 3. พัฒนาการของเมาส์ เมาส์พฒนาขึ้นมาครั้งแรก ในศูนย์คนคว้าที่เมืองปาโลอัลโต้ ของบริ ษทซี ร็อก (Xerox Corporation’s ั ้ ั Palo Alto Research Center) เมาส์มีหลายรู ปร่ าง หลายลักษณะ โดยเฉพาะเมาส์รุ่นใหม่ๆ จะออกแบบมา อย่างสวยงาม โดยปกติปุ่มของเมาส์ จะมี 2 ปุ่ มสาหรับเมาส์ของเครื่ องพีซี และปุ่ มเดียวสาหรับเครื่ อง Macintosh ปั จจุบนมีการพัฒนาให้เมาส์ใช้งานได้ง่ายขึ้น โดยเพิ่มปุ่ มเลื่อนตรงกลาง มีลกษณะคล้ายล้อ ดัง ั ั ั ้ รู ป เรี ยกว่า Intelli Mouse ซึ่ งจะอานวยความสะดวกให้กบผูใช้ในการเลื่อนจอภาพเพื่อดูขอมูล นอกจากนี้ยง ้ ั มีเมาส์ที่ทางานด้วยสัญญาณแสง ที่เรี ยกว่า Infrared หรื อ Wireless Mouse เมาส์ ทางานอย่างไร ? ่ ้ เมาส์ประกอบด้วย ลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยูดานล่าง และมีปุ่มกดควบคุม (ตั้งแต่ 1 - 3 ปุ่ ม) การใช้เมาส์จะนาเมาส์ วางไว้บนพื้นราบ และเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางที่ตองการ บนจอภาพจะปรากฏ สัญลักษณ์ช้ ีตาแหน่ง เรี ยกว่า ้ "Mouse Pointer" (มักจะเป็ นรู ปลูกศรเฉียงซ้าย) เมื่อต้องการจะทางานใดๆ ก็ทาการกดปุ่ มเมาส์ ตามหลักการ ใช้เมาส์ คอมพิวเตอร์ จะรับสัญญาณ และทาการประมวลผลต่อไป กลไกการทางานของเมาส์ กลไกการทางานของเมาส์ มี 3 ประเภท คือ Mechanical, Opto-Mechanical, Optical Mechanical เป็ นกลไกการทางานที่อาศัยลูกบอลยาง ที่สามารถกลิ้งไปมาได้ เมื่อทาการเคลื่อนย้ายตัว ่ ั เมาส์ ซึ่ งลูกบอลจะกดแนบอยูกบลูกกลิ้ง โดยแกนของลูกกลิ้ง จะต่อกับจานแปลรหัส (Encoder) บนจานจะมีหน้าสัมผัสเป็ นจุดๆ เมื่อจุดสัมผัสเลื่อนมาตรงแกนสัมผัส ก็จะสร้างสัญญาณ บอกไปยัง
  • 4. เครื่ องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมควบคุมเมาส์ จะทาหน้าที่ แปลเป็ นคาสั่งเคลื่อนย้ายเคอร์ เซอร์ บน จอภาพต่อไป Opto-Mechanical กลไกการทางานคล้าย Mechanical แต่ตวรับการเคลื่อนที่ของจาน Encoder จะมี LED อยู่ ั อีกด้านหนึ่งของจานไว้คอยกาเนิดแสง และอีกด้านหนึ่ง จะมี Opto-Transistor (ทรานซิ สเตอร์ไว แสง) ไว้คอยตรวจจับแสงแทนการใช้การสัมผัส Optical กลไกการทางานที่อาศัยแผ่นรองชนิ ดพิเศษ ซึ่ งมีผวมันสะท้อนแสง และมีตารางเส้นตามแกน X , Y ิ โดยแกนหนึ่งเป็ นสี น้ าเงิน อีกแกนเป็ นสี ดา ตัดกันไว้คอยตรวจจับการเคลื่อนที่ ซึ่งบนเมาส์ จะมี LED 2 ตัวให้กาเนิ ดแสงออกมา 2 สี คือ สี ดา และสี น้ าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสี ดา จะดูดกลืนแสงสี น้ าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสี น้ าเงิน จะดูดกลืนแสงสี ดา ซึ่งตัวตรวจจับแสง เป็ นทรานซิ สเตอร์ไวแสง สี ที่ตรวจจับได้จะบอกทิศทาง ส่ วนช่วงของแสงที่หายไป จะบอกถึงระยะทางการเคลื่อนที่
  • 5. แป้ นพิมพ์ แผงแป้ นพิมพ์เป็ น อุปกรณ์สาหรับป้ อนข้อมูลและคาสั่งต่าง ๆ มีลกษณะคล้ายเครื่ องพิมพ์ดีดทัวไป ั ่ ทาหน้าที่ในการนาข้อมูลหรื อโปรแกรมเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ จานวนแป้ นพิมพ์มีต้ งแต่ 97 ถึง 108 แป้ น ั หรื อมากกว่าแล้วแต่จุดประสงค์ในการใช้งาน ภายในแป้ นจะมีไมโครโพรเซสเซอร์ขนาดเล็กคอยทาหน้าที่ รับการกดแป้ นเพื่อแปลงเป็ นรหัสแล้วส่ งไปที่แผงวงจรหลัก ตัวอักษรที่สามารถส่ งเข้าเครื่ องได้เช่น อักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยทัวไปแป้ นพิมพ์ จะแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม ดังนี้ ่ ่ 1. กลุ่มแปนอักษร (alphanumeric Keys) อยูตรงกลางแผงแป้ นพิมพ์ ใช้ในการป้ อนข้อมูลตัวอักษร ้ ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ่ 2. กลุ่มแปนตัวเลข (numeric keys) อยูทางขวามือของแผงแป้ นพิมพ์ เมื่อต้องการใช้แป้ นตัวเลข ให้ ้ กดปุ่ ม Num Lock จะเห็นว่ามีไฟที่แผงเหนื อแป้ นตัวเลข แสดงว่าให้ป้อนตัวเลขได้และถ้ากดปุ่ ม Num lock อีกครั้ง จะเปลี่ยนจากการใช้ตวเลขกลับมาเป็ นแป้ นควบคุมทิศทาง ั ่ 3. กลุ่มแปนฟังก์ ชั่น (function keys) ส่ วนใหญ่จะอยูทางด้านบนของแผงแป้ นพิมพ์ มี 12 แป้ นคือ ้ F1 ถึง F12 แป้ นเหล่านี้เป็ นแป้ นใช้งานเฉพาะอย่าง แล้วแต่โปรแกรมจะกาหนดไว้ ซึ่ งหน้าที่ของแป้ นเหล่านี้ จะศึกษาได้จากค่มือ การใช้งานโปรแกรมนั้น ๆ
  • 6. 4. กลุ่มแปนควบคุมเคอร์ เซอร์ (cursor control keypad) กาหนดทิศทางและตาแหน่งต่าง ๆ ของ ้ เคอร์เซอร์ 5. กลุ่มแปนควบคุม (control keys) เช่น Enter แป้ น Shift แป้ น Ctrl แป้ น Alt แป้ นเหล่านี้ อาจ ้ มีการใช้ ร่ วมกันมากกว่าหนึ่งแป้ นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ ตาแหน่งแป้ นพิเศษอาจอยูในตาแหน่ง ่ ที่ต่างกันแล้วแต่รุ่นและบริ ษทที่ผลิต เช่น แป้ น Enter บางครั้งใช้คาว่า Return ซึ่ งทาหน้าที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ ั ทางานหรื อเลื่อนเคอร์ เซอร์ไปบรรทัดถัดไปใน การพิมพ์เอกสาร