SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function)
จากการศึกษาในเรื่องเลขยกกาลัง ซึ่งท้ายที่สุดเราได้สนใจเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวน
จริงบวก และเลขชี้กาลังเป็นจานวนจริงใด ๆ
แต่ได้มีนักคณิตศาสตร์ได้สังเกตเห็นว่า ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเป็น 1 และเลขชี้กาลังเป็น
จานวนจริงใด ๆ ดังนี้
ถ้ากาหนดให้ a = 1 และ x เป็นจานวนจริงใดแล้วจะได้
ax
= 1x
= 1
ข้อสังเกต
1. ไม่ว่า x จะเป็นจานวนจริงใด ๆ ก็ตาม 1x
ก็ยังคงเท่ากับ 1 เสมอ ดังนั้นจึงไม่น่าสนใจ
เนื่องจาก เราทราบว่ามันเป็นอะไรแน่ ๆ อยู่แล้ว
2. เรายังไม่ทราบนะว่า เลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนจริงบวกยกเว้น 1 และเลขชี้กาลัง
เป็นจานวนจริงใด ๆ แสดงว่าเราจะต้องสนใจศึกษาเลขยกกาลังลักษณะนี้เป็นพิเศษ
ซึ่งจะกล่าวถึงใน เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลดังนี้
ข้อกาหนด (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = { (x, y)  R  R+
/ y = ax
, a > 0, a  1 }
ข้อตกลง ในหนังสือคณิตศาสตร์บางเล่มให้ข้อกาหนดของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็น
ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = kax
เมื่อ k เป็นค่าคงตัวที่ไม่ใช่ 0 และ a เป็นจานวน
จริงบวกที่ไม่เป็น 1 แต่ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายนี้ จะถือว่าฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเชียลจะอยู่ในรูป f(x) = ax
เมื่อ a เป็น จานวนจริงบวกที่ไม่เป็น 1
เท่านั้น
ข้อสังเกต จากข้อกาหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
1. f(x) = 1x
เป็นฟังก์ชันคงตัวเนื่องจาก 1x
= 1 ดังนั้นในข้อกาหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนน
เชียล จึงไม่สนใจ ฐาน (a) ที่เป็น 1
2. f(x) = 1x
ไม่เป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล เนื่องจาก f(x) = 1x
เป็นฟังก์ชันคงตัว
3. จากเงื่อนไขที่ว่า y = ax
, a > 0, a  1 ทาให้เราทราบได้เลยว่าฐาน (a) มีอยู่ 2 ลักษณะ
คือ 0 < a < 1 กับ a > 1
4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐาน (a) ดังนี้
ชนิดที่ 1 y = ax
, 0 < a < 1
ชนิดที่ 2 y = ax
, a > 1
กราฟของฟังก์ชัน y = ax, 0 < a < 1
ลองศึกษารูปร่างกราฟของฟังก์ชัน y = ax, 0 < a < 1 จากตัวอย่างดังต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟของฟังก์ชัน y = (
2
1
)x
วิธีทา ฟังก์ชัน y = (
2
1
)x
เป็นฟังก์ชันเอกซ์โพเนินเชียลที่มีฐาน (a) เป็นจานวนจริงบวก
ที่มีค่าน้อยกว่า 1 ( 0 < a < 1 นั่นเอง)
เขียนตารางแสดงจุดผ่านบางจุดของกราฟ y (
2
1
)x
ดังนี้
x -3 -2 -1 0 1 2 3
y 8 4 2 1
2
1
4
1
8
1
จากตัวอย่าง ที่แสดงให้เห็นรูปร่างกราฟของฟังก์ชัน y = (
2
1
)x
จะเห็นได้ว่า
1. ค่าของ y จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อ x มีค่าเป็นจานวนลยที่น้อยลงเรื่อย ๆ
2. ค่าของ y จะค่อย ๆ ลดลงเข้าใกล้ศูนย์เมื่อ x มีค่าเป็นจานวนบวกมากขึ้น
0 2 4 6
x
y
8
6
4
2
-2-4-6
อาจกล่าวได้ว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจะทาให้ y มีค่าลดลงตามไปด้วย แสดงว่าฟังก์ชันก์ y =
(
2
1
)x
จึงเป็นฟังก์ชันลดในโดเมนของฟังก์ชันซึ่งเป็นเซตของจานวนจริง ถูกเรียกสั้น ๆ ว่า y =
(
2
1
)x
เป็นฟังก์ชันลด (Decreasing Function)
 สมการเอกซ์โพเนนเชียล
การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล
หลักการ
กาหนดให้ a > 0 , a  1 และ b > 0 , b  1
1. a
= a
ก็ต่อเมื่อ  =  (พยายามทาฐานให้เหมือนกัน)
2. ถ้า a
= a
และ a  b แล้ว  =  = 0 เท่านั้น
3. บางครั้งอาจจะต้องสมมุติเพื่อเปลี่ยนตัวแปรให้อยู่ในรูป Quadratic และอาจต้องใช้วิธี
แยกแฟกเตอร์โพเนนเชียลง่ายขึ้น
สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้สมการ ไม่ต้องนามาตรวจสอบคาตอบ
ยกเว้นในกรณีมีการยกกาลังจานวนคู่ จะต้องตรวจสอบคาตอบด้วย
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า x ที่ทาให้สมการ 3x+2
= 243 เป็นจริง
วิธีทา 3x+2
= 243
3x+2
= 35
x+2 = 5
ดังนั้น x = 3
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 10x
– 5x-1  2x-2
= 950
วิธีทา 10x
– 5x-1
 2x-2
= 950
10x
- 2
xx
25
25


= 950
10x
-
20
)10( x
= 950
10x
(1-
20
1
) = 950
10x
(
20
19
) = 950
10x
= 1000
10x
= 103
x = 3
ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ { 3 }
 อสมการเอกซ์โพเนนเชียล
เทคนิคชุดที่ 1
การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียลที่ทาฐานให้เหมือนกันได้
หลักการ
1. ถ้า 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด) แล้ว
1. ax1
> ax2
ก็ต่อเมื่อ x1 < x2
2. ax1
< ax2
ก็ต่อเมื่อ x1 > x2
ข้อสังเกต
2. ถ้า a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม) แล้ว
1. 1x
a > 2x
a ก็ต่อเมื่อ x1 > x2
เปลี่ยน
เปลี่ยน
ไม่เปลี่ยน
2. 1x
a < 2x
a ก็ต่อเมื่อ x1 < x2
ข้อสังเกต ปลดฐาน หรือเติมฐาน คงเดิมเครื่องหมายอสมการ
สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ ไม่ต้องนามาตรวจสอบคาตอบ
ยกเว้น ในกรณีที่มีการยกกาลังจานวนคู่ จะต้องตรวจสอบคาตอบด้วย
ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของอสมการ 12x8x2x
)
4
1
()
2
1
(
2


วิธีทา จาก 12x8x2x
)
4
1
()
2
1
(
2


24x28x2x
)
2
1
()
2
1
(
2


ปลดฐาน กลับข้างเครื่องหมายของอสมการเนื่องจากฐาน (
2
1
) มากกว่า 0 แต่น้อยกว่า 1
จะได้ x2
+ 2x + 8 > 2x + 24
x2
– 16 > 0
(x + 4) (x – 4) > 0
ดังนั้น เซตคาตอบอสมการคือ (-, -4)  (4, )
 ฟังก์ชันลอการิทึม
เกริ่นนา
เนื่องจาก ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R+
/ y = ax
, a > 0, a  1 } เป็น
ฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไปทั่วถึง R+
ทาให้เราทราบได้เลยว่า อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จะเป็นฟังก์ชันแน่ ๆ และ
ยังเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R+
ไปทั่วถึง R
ไม่เปลี่ยน
0
-4
+ 0
4
+-
ถ้าเราเปลี่ยน x เป็น Y และเปลี่ยน y เป็น x ที่เงื่อนไขของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จะได้
ฟังก์ชันอินเวอร์สจของฟังก์ชันเอกซ์โพเนเนเชียลคือ
{ (x, y)  R+
x R / x = ay
, a > 0, a  1 }
 จุดกาเนิดของฟังก์ชันลอการิทึม
เนื่องจากนักคณิตศาสตร์ทั่วไปไม่นิยมให้เงื่อนไขของฟังก์ชันใด ๆ อยู่ในรูป
ตัวแปรต้น (x) = กลุ่มของตัวแปรตาม (y)
แต่นิยมให้เงื่อนไขอยู่ในรูป
ตัวแปรตาม (y) = กลุ่มตัวแปรต้น (x)
พบว่า ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R / y = ax
, a > 0, a  1} มีเงื่อนไข
ตัวแปรตาม (y) = aตัวแปรต้น (x)
ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่นิยมอยู่แล้ว
แต่ ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R / x = ay
, a > 0,
a  1 } มีเงื่อนไข
ตัวแปรต้น (x) = aตัวแปรตาม (y)
เห็นไหมไม่อยู่ในรูปแบบที่นิยม
ดังนั้น นักคณิตศาสตร์จึงอยากจะเปลี่ยนเงื่อนไข ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์
โพเนนเชียล ใหม่เพื่อให้อยู่ในรูปแบบที่นิยมโดยกาหนดให้เขียน x = ay
ใหม่เป็น y = logax แบบ
ดื้อ ๆ เลย
ข้อตกลง
1. logax ถูกอ่านออกเสียงว่า “ลอการิทึมเอกซ์ฐานเอ” หรือ “ล็อกเอกซ์ฐานเอ”
2. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลสามารถเขียนใหม่ได้เป็น { (x, y) 
R+
x R / y = logax, a > 0, a  1 }
3. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ถูกเรียกใหม่ว่า ฟังก์ชันลอการิทึม
ข้อกาหนด
ฟังก์ชันลอการิทึม คือ { (x, y)  R+
x R / y = logax , a > 0, a  1 }
เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R+
/ y = ax
,a > 0, a  1 }
 กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
จากที่เราทราบอยู่แล้วว่าฟังก์ชันลอการิทึม กับ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นอินเวอร์สซึ่ง
กันและกัน แสดงว่า กราฟของฟัง์ชันทั้งสองจะสมมาตรซึ่งกันและกัน เมื่อเทียบกับเส้นตรง y = x
ดังนั้น จึงได้กราฟของฟังก์ชันลอการิทึมทั้ง 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐาน (a) ดัง
ตารางต่อไปนี้
y = ax
กับ y = logax, 0 < a < 1 y = ax
กับ y = logax, a > 1
กาหนดให้จานวนทุกจานวนต่อไปนี้มีความหมายและสามารถหาค่าได้
ความจริงที่ 1 y = logax ก็ต่อเมื่อ x = ay
ความจริงที่ 2 loga1 = 0
ความจริงที่ 3 logaa = 1
ความจริงที่ 4 logaMN = logaM + logaN
ความจริงที่ 5 loga
N
M
= logaM - logaN
ความจริงที่ 6 logaMP
= logpaM
ความจริงที่ 7 logaM =
alog
Mlog
b
b
ความจริงที่ 8 Mlog P
a
= Mlog
p
1
a
ความจริงที่ 9 xlogaa = x
ความจริงที่ 10 logab =
alog
1
b
y = loga
x, 0 < a <1
y
0 1
x
1
y = ax
, 0 < a <1
y
0 1
x
1
y = ax
, a > 1
y = loga
x, a > 1
 เทคนิคการทาโจทย์เกี่ยวกับความจริงของลาการิทึม
ตัวอย่าง 1 จงหาค่าของ lob1015 + kig1012 + log105 – log109
วิธีทา lob1015 + kig1012 + log105 – log109=
9
5x12x15
log10
=
9
900
log10
= log10100
= log10102
= 2 log1010
= 2(1)
ดังนั้น lob1015 + kig1012 + log105 – log109 = 2
 สมการลอการิทึม
การแก้สมการลอการิทึม
หลักการ
กาหนดให้ a > 0, a  1 และ b > 0, b  1
1. loga = loga ก็ต่อเมื่อ  =  (พยายามทาฐานให้เหมือนกัน)
2. loga =  ก็ต่อเมื่อ  = a
3. ถ้า loga = logb และ a  b แล้ว  =  = 1
บางครั้งอาจจะต้องสมมุติเพื่อเปลี่ยนตัวแปรให้อยู่ในรูป Quadratic และอาจต้องใช้วิธีแยก
แฟกเตอร์เข้าช่วยเพื่อทาให้การแก้สมการลอการิทึมง่ายขึ้น
สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้สมการ จะต้องนามาตรวจสอบคาตอบว่า
1. ตัวเลขหลัง log ห้ามเป็นจานวนลยและศูนย์โดยเด็ดขาด
2. ตัวเลขหลัง log ต้องเป็นจานวนบวกเท่านั้น (R+
)
ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของสมการ xlogx
= 100x
วิธีทา จาก xlogx
= 100x
Take log ทั้งสองข้าง logxlogx
= log100x
(logx) (logx) = log100 + logx
(logx)2
= log102
+ logx
(logx)2
– logx – 2 = 0
(logx + 1) (logx – 2) = 0
logx = -1, 2
จะได้ x = 10-1
, 102
ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ { 10-1
, 102
}
 อสมการลอการิทึม
การแก้อสมการลอการิทึม
หลักการ
1. ถ้า 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด) แล้ว
1. logax1 > logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 < x2
2. logax1 < logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 > x2
ข้อสังเกต ปลด loga หรือเติม loga กลับข้างเครื่องหมายของอสมการ
2. ถ้า a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม) แล้ว
1. logax1 > logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 > x2
2. logax1 < logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 < x2
ข้อสังเกต ปลด loga หรือ เติม loga คงเดิมเครื่องหมายของอสมการ
3. ตัวเลขหลัง log ต้องเป็นจานวนบวกเท่านั้น (X1  R+ และ X2  R+
)
เปลี่ยน
เปลี่ยน
ไม่เปลี่ยน
ไม่เปลี่ยน
สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ จะต้องนามาตรวจสอบคาตอบดังนี้
คาตอบที่ถูกต้อง ต้องได้จาก 1. คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ และ 2. x1  R+
และ 3.
x2  R+
หมายเหตุ ตัวเลขหลัง log จะต้องเป็นจานวนบวก (R+
) เท่านั้น
ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของอสมการ 2)x2x(log 2
24 
วิธีทา จาก 2)x2x(log 2
24 
เติม 24log 24 หลัง 2 ดังนี้
24log2)x2x(log 24
2
24 
2
24
2
24 )24(log)x2x(log 
24log)x2x(log 24
2
24 
เนื่องจาก ฐานมากว่า 1 ดังนั้น เมื่อปลด log แล้วเครื่องหมายอสมการไม่เปลี่ยน ดังนี้
x2
– 2x < 24
x2
– 2x – 24 < 0
 แอนติลอการิทึม (antilogarithm)
ข้อกาหนด
1. ถ้า log N = K แล้ว
N จะถูกเรียกว่า แอนติลอการิทึม (antilogarithm) ของ log N
2. ถ้า log N = K แล้ว
N จะถูกเขียนสั้น ๆ ได้เป็น antilog (K)
แสดงว่า N = antilog (K) = 10k
จากข้อกาหนดทาให้เราทราบได้ว่า
1. antilog (K) = 10k
2. ต้องระลึกอยู่เสมอว่า สามารถย้ายข้าง antilog ไปเป็น log ได้
และ สามารถย้ายข้าง log ไปเป็น antilog ได้
แสดงว่าถ้าเราเจอ N = antilog (K)
N = antilog (K)
ย้ายข้าง
* จะได้ log N = K
หรือถ้าเราเจอ log N = K
สามารถย้ายข้าง log N = K
ย้ายข้าง
* จะได้ N = antilog (K)
 ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithm)
ข้อกาหนด
1. ลอการิทึมธรรมชาติ หมายถึง ลอการิทึมที่มีฐานเป็น e โดยที่ e เป็นสัญลักษณ์แทน
จานวนอตรรกยะจานวนหนึ่งซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818
แสดงว่า logex คือ ลอการิทึมธรรมชาติ นั่นเอง
2. การเขียนลอการิทึมของ x ฐาน e นิยมเขียน ln x แทน logex
3. ”ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms)” อาจถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ลอการิทึมแบบเนเปียร์ (Napierian logarithms)
ข้อควรเน้น ถ้าเราเจอ ln x อยากเปลี่ยนไปเป็น logex แล้วคิดทาทุกอย่างเหมือนที่เคยคิดทา
log ทั่ว ๆ ไป
สิ่งที่ควรทราบ
1. เราอาจหาค่าลอการิทึมฐาน e โดยอาศัยลอการิทึมฐานสิบได้ดังนี้
จาก ln x = logex
ln x =
elog
xlog
เราพบว่า loge = log 2.718 (e  2.718)
= 0.4343
ดังนั้น ln x =
4343.0
xlog
หรือ ln x = (2.3026) logx
 การคานวณค่าโดยประมาณโดยใช้ลอการิทึม
สาหรับการคานวณที่เกี่ยวกับ การคูณ การหาร และยกกาลัง อาจอาศัยลอการิทึมช่วยใน
การคานวณได้ โดยค่าที่คานวณได้จะมีค่าโดยประมาณแต่ก็ใกล้เคียงกับค่าที่แท้จริง
ตัวอย่าง 1 จงหาค่าของ
912.0
2.43x0413.0
วิธีทา สมมุติให้ x =
912.0
2.43x0413.0
log x = log
912.0
)2.43x0413.0(
= log 0.0413 + log 43.2 – log 0.912
= log 4.13 x 10-2
+ log 4.32 x 101
– log 9.12 x 10-1
= (0.6160 – 2) + (0.6355 + 1) – (0.9600 – 1)
= 0.2915
= log 1.96
แสดงว่า x = 1.96
ดังนั้น
912.0
2.43x013.0
= 1.96

Contenu connexe

Tendances (11)

ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
43040989
4304098943040989
43040989
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 

Similaire à Expor&log1 (1)

เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1Chay Nyx
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1Chay Nyx
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdfsewahec743
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันguest5ec5625
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguest5ec5625
 

Similaire à Expor&log1 (1) (20)

ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Real
RealReal
Real
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdf
 
Math1 new
Math1 newMath1 new
Math1 new
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 

Expor&log1 (1)

  • 1.  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function) จากการศึกษาในเรื่องเลขยกกาลัง ซึ่งท้ายที่สุดเราได้สนใจเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวน จริงบวก และเลขชี้กาลังเป็นจานวนจริงใด ๆ แต่ได้มีนักคณิตศาสตร์ได้สังเกตเห็นว่า ถ้าเลขยกกาลังมีฐานเป็น 1 และเลขชี้กาลังเป็น จานวนจริงใด ๆ ดังนี้ ถ้ากาหนดให้ a = 1 และ x เป็นจานวนจริงใดแล้วจะได้ ax = 1x = 1 ข้อสังเกต 1. ไม่ว่า x จะเป็นจานวนจริงใด ๆ ก็ตาม 1x ก็ยังคงเท่ากับ 1 เสมอ ดังนั้นจึงไม่น่าสนใจ เนื่องจาก เราทราบว่ามันเป็นอะไรแน่ ๆ อยู่แล้ว 2. เรายังไม่ทราบนะว่า เลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนจริงบวกยกเว้น 1 และเลขชี้กาลัง เป็นจานวนจริงใด ๆ แสดงว่าเราจะต้องสนใจศึกษาเลขยกกาลังลักษณะนี้เป็นพิเศษ ซึ่งจะกล่าวถึงใน เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลดังนี้ ข้อกาหนด (ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = { (x, y)  R  R+ / y = ax , a > 0, a  1 } ข้อตกลง ในหนังสือคณิตศาสตร์บางเล่มให้ข้อกาหนดของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล เป็น ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = kax เมื่อ k เป็นค่าคงตัวที่ไม่ใช่ 0 และ a เป็นจานวน จริงบวกที่ไม่เป็น 1 แต่ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายนี้ จะถือว่าฟังก์ชัน เอกซ์โพเนนเชียลจะอยู่ในรูป f(x) = ax เมื่อ a เป็น จานวนจริงบวกที่ไม่เป็น 1 เท่านั้น ข้อสังเกต จากข้อกาหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล 1. f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัวเนื่องจาก 1x = 1 ดังนั้นในข้อกาหนดฟังก์ชันเอกซ์โพเนน เชียล จึงไม่สนใจ ฐาน (a) ที่เป็น 1 2. f(x) = 1x ไม่เป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล เนื่องจาก f(x) = 1x เป็นฟังก์ชันคงตัว 3. จากเงื่อนไขที่ว่า y = ax , a > 0, a  1 ทาให้เราทราบได้เลยว่าฐาน (a) มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 0 < a < 1 กับ a > 1
  • 2. 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะมีอยู่ 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐาน (a) ดังนี้ ชนิดที่ 1 y = ax , 0 < a < 1 ชนิดที่ 2 y = ax , a > 1 กราฟของฟังก์ชัน y = ax, 0 < a < 1 ลองศึกษารูปร่างกราฟของฟังก์ชัน y = ax, 0 < a < 1 จากตัวอย่างดังต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนกราฟของฟังก์ชัน y = ( 2 1 )x วิธีทา ฟังก์ชัน y = ( 2 1 )x เป็นฟังก์ชันเอกซ์โพเนินเชียลที่มีฐาน (a) เป็นจานวนจริงบวก ที่มีค่าน้อยกว่า 1 ( 0 < a < 1 นั่นเอง) เขียนตารางแสดงจุดผ่านบางจุดของกราฟ y ( 2 1 )x ดังนี้ x -3 -2 -1 0 1 2 3 y 8 4 2 1 2 1 4 1 8 1 จากตัวอย่าง ที่แสดงให้เห็นรูปร่างกราฟของฟังก์ชัน y = ( 2 1 )x จะเห็นได้ว่า 1. ค่าของ y จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อ x มีค่าเป็นจานวนลยที่น้อยลงเรื่อย ๆ 2. ค่าของ y จะค่อย ๆ ลดลงเข้าใกล้ศูนย์เมื่อ x มีค่าเป็นจานวนบวกมากขึ้น 0 2 4 6 x y 8 6 4 2 -2-4-6
  • 3. อาจกล่าวได้ว่า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจะทาให้ y มีค่าลดลงตามไปด้วย แสดงว่าฟังก์ชันก์ y = ( 2 1 )x จึงเป็นฟังก์ชันลดในโดเมนของฟังก์ชันซึ่งเป็นเซตของจานวนจริง ถูกเรียกสั้น ๆ ว่า y = ( 2 1 )x เป็นฟังก์ชันลด (Decreasing Function)  สมการเอกซ์โพเนนเชียล การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล หลักการ กาหนดให้ a > 0 , a  1 และ b > 0 , b  1 1. a = a ก็ต่อเมื่อ  =  (พยายามทาฐานให้เหมือนกัน) 2. ถ้า a = a และ a  b แล้ว  =  = 0 เท่านั้น 3. บางครั้งอาจจะต้องสมมุติเพื่อเปลี่ยนตัวแปรให้อยู่ในรูป Quadratic และอาจต้องใช้วิธี แยกแฟกเตอร์โพเนนเชียลง่ายขึ้น สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้สมการ ไม่ต้องนามาตรวจสอบคาตอบ ยกเว้นในกรณีมีการยกกาลังจานวนคู่ จะต้องตรวจสอบคาตอบด้วย ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า x ที่ทาให้สมการ 3x+2 = 243 เป็นจริง วิธีทา 3x+2 = 243 3x+2 = 35 x+2 = 5 ดังนั้น x = 3 ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการ 10x – 5x-1  2x-2 = 950 วิธีทา 10x – 5x-1  2x-2 = 950 10x - 2 xx 25 25   = 950
  • 4. 10x - 20 )10( x = 950 10x (1- 20 1 ) = 950 10x ( 20 19 ) = 950 10x = 1000 10x = 103 x = 3 ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ { 3 }  อสมการเอกซ์โพเนนเชียล เทคนิคชุดที่ 1 การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียลที่ทาฐานให้เหมือนกันได้ หลักการ 1. ถ้า 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด) แล้ว 1. ax1 > ax2 ก็ต่อเมื่อ x1 < x2 2. ax1 < ax2 ก็ต่อเมื่อ x1 > x2 ข้อสังเกต 2. ถ้า a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม) แล้ว 1. 1x a > 2x a ก็ต่อเมื่อ x1 > x2 เปลี่ยน เปลี่ยน ไม่เปลี่ยน
  • 5. 2. 1x a < 2x a ก็ต่อเมื่อ x1 < x2 ข้อสังเกต ปลดฐาน หรือเติมฐาน คงเดิมเครื่องหมายอสมการ สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ ไม่ต้องนามาตรวจสอบคาตอบ ยกเว้น ในกรณีที่มีการยกกาลังจานวนคู่ จะต้องตรวจสอบคาตอบด้วย ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของอสมการ 12x8x2x ) 4 1 () 2 1 ( 2   วิธีทา จาก 12x8x2x ) 4 1 () 2 1 ( 2   24x28x2x ) 2 1 () 2 1 ( 2   ปลดฐาน กลับข้างเครื่องหมายของอสมการเนื่องจากฐาน ( 2 1 ) มากกว่า 0 แต่น้อยกว่า 1 จะได้ x2 + 2x + 8 > 2x + 24 x2 – 16 > 0 (x + 4) (x – 4) > 0 ดังนั้น เซตคาตอบอสมการคือ (-, -4)  (4, )  ฟังก์ชันลอการิทึม เกริ่นนา เนื่องจาก ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R+ / y = ax , a > 0, a  1 } เป็น ฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไปทั่วถึง R+ ทาให้เราทราบได้เลยว่า อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จะเป็นฟังก์ชันแน่ ๆ และ ยังเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R+ ไปทั่วถึง R ไม่เปลี่ยน 0 -4 + 0 4 +-
  • 6. ถ้าเราเปลี่ยน x เป็น Y และเปลี่ยน y เป็น x ที่เงื่อนไขของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล จะได้ ฟังก์ชันอินเวอร์สจของฟังก์ชันเอกซ์โพเนเนเชียลคือ { (x, y)  R+ x R / x = ay , a > 0, a  1 }  จุดกาเนิดของฟังก์ชันลอการิทึม เนื่องจากนักคณิตศาสตร์ทั่วไปไม่นิยมให้เงื่อนไขของฟังก์ชันใด ๆ อยู่ในรูป ตัวแปรต้น (x) = กลุ่มของตัวแปรตาม (y) แต่นิยมให้เงื่อนไขอยู่ในรูป ตัวแปรตาม (y) = กลุ่มตัวแปรต้น (x) พบว่า ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R / y = ax , a > 0, a  1} มีเงื่อนไข ตัวแปรตาม (y) = aตัวแปรต้น (x) ซึ่งอยู่ในรูปแบบที่นิยมอยู่แล้ว แต่ ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R / x = ay , a > 0, a  1 } มีเงื่อนไข ตัวแปรต้น (x) = aตัวแปรตาม (y) เห็นไหมไม่อยู่ในรูปแบบที่นิยม ดังนั้น นักคณิตศาสตร์จึงอยากจะเปลี่ยนเงื่อนไข ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล ใหม่เพื่อให้อยู่ในรูปแบบที่นิยมโดยกาหนดให้เขียน x = ay ใหม่เป็น y = logax แบบ ดื้อ ๆ เลย ข้อตกลง 1. logax ถูกอ่านออกเสียงว่า “ลอการิทึมเอกซ์ฐานเอ” หรือ “ล็อกเอกซ์ฐานเอ” 2. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลสามารถเขียนใหม่ได้เป็น { (x, y)  R+ x R / y = logax, a > 0, a  1 } 3. ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ถูกเรียกใหม่ว่า ฟังก์ชันลอการิทึม ข้อกาหนด ฟังก์ชันลอการิทึม คือ { (x, y)  R+ x R / y = logax , a > 0, a  1 } เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล { (x, y)  R x R+ / y = ax ,a > 0, a  1 }
  • 7.  กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม จากที่เราทราบอยู่แล้วว่าฟังก์ชันลอการิทึม กับ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นอินเวอร์สซึ่ง กันและกัน แสดงว่า กราฟของฟัง์ชันทั้งสองจะสมมาตรซึ่งกันและกัน เมื่อเทียบกับเส้นตรง y = x ดังนั้น จึงได้กราฟของฟังก์ชันลอการิทึมทั้ง 2 ชนิด โดยขึ้นอยู่กับลักษณะของฐาน (a) ดัง ตารางต่อไปนี้ y = ax กับ y = logax, 0 < a < 1 y = ax กับ y = logax, a > 1 กาหนดให้จานวนทุกจานวนต่อไปนี้มีความหมายและสามารถหาค่าได้ ความจริงที่ 1 y = logax ก็ต่อเมื่อ x = ay ความจริงที่ 2 loga1 = 0 ความจริงที่ 3 logaa = 1 ความจริงที่ 4 logaMN = logaM + logaN ความจริงที่ 5 loga N M = logaM - logaN ความจริงที่ 6 logaMP = logpaM ความจริงที่ 7 logaM = alog Mlog b b ความจริงที่ 8 Mlog P a = Mlog p 1 a ความจริงที่ 9 xlogaa = x ความจริงที่ 10 logab = alog 1 b y = loga x, 0 < a <1 y 0 1 x 1 y = ax , 0 < a <1 y 0 1 x 1 y = ax , a > 1 y = loga x, a > 1
  • 8.  เทคนิคการทาโจทย์เกี่ยวกับความจริงของลาการิทึม ตัวอย่าง 1 จงหาค่าของ lob1015 + kig1012 + log105 – log109 วิธีทา lob1015 + kig1012 + log105 – log109= 9 5x12x15 log10 = 9 900 log10 = log10100 = log10102 = 2 log1010 = 2(1) ดังนั้น lob1015 + kig1012 + log105 – log109 = 2  สมการลอการิทึม การแก้สมการลอการิทึม หลักการ กาหนดให้ a > 0, a  1 และ b > 0, b  1 1. loga = loga ก็ต่อเมื่อ  =  (พยายามทาฐานให้เหมือนกัน) 2. loga =  ก็ต่อเมื่อ  = a 3. ถ้า loga = logb และ a  b แล้ว  =  = 1 บางครั้งอาจจะต้องสมมุติเพื่อเปลี่ยนตัวแปรให้อยู่ในรูป Quadratic และอาจต้องใช้วิธีแยก แฟกเตอร์เข้าช่วยเพื่อทาให้การแก้สมการลอการิทึมง่ายขึ้น สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้สมการ จะต้องนามาตรวจสอบคาตอบว่า 1. ตัวเลขหลัง log ห้ามเป็นจานวนลยและศูนย์โดยเด็ดขาด 2. ตัวเลขหลัง log ต้องเป็นจานวนบวกเท่านั้น (R+ ) ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของสมการ xlogx = 100x วิธีทา จาก xlogx = 100x Take log ทั้งสองข้าง logxlogx = log100x (logx) (logx) = log100 + logx (logx)2 = log102 + logx
  • 9. (logx)2 – logx – 2 = 0 (logx + 1) (logx – 2) = 0 logx = -1, 2 จะได้ x = 10-1 , 102 ดังนั้น เซตคาตอบของสมการคือ { 10-1 , 102 }  อสมการลอการิทึม การแก้อสมการลอการิทึม หลักการ 1. ถ้า 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด) แล้ว 1. logax1 > logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 < x2 2. logax1 < logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 > x2 ข้อสังเกต ปลด loga หรือเติม loga กลับข้างเครื่องหมายของอสมการ 2. ถ้า a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม) แล้ว 1. logax1 > logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 > x2 2. logax1 < logax2 ก็ต่อเมื่อ x1 < x2 ข้อสังเกต ปลด loga หรือ เติม loga คงเดิมเครื่องหมายของอสมการ 3. ตัวเลขหลัง log ต้องเป็นจานวนบวกเท่านั้น (X1  R+ และ X2  R+ ) เปลี่ยน เปลี่ยน ไม่เปลี่ยน ไม่เปลี่ยน
  • 10. สิ่งที่ควรเน้น คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ จะต้องนามาตรวจสอบคาตอบดังนี้ คาตอบที่ถูกต้อง ต้องได้จาก 1. คาตอบที่ได้จากการแก้อสมการ และ 2. x1  R+ และ 3. x2  R+ หมายเหตุ ตัวเลขหลัง log จะต้องเป็นจานวนบวก (R+ ) เท่านั้น ตัวอย่าง 1 จงหาเซตคาตอบของอสมการ 2)x2x(log 2 24  วิธีทา จาก 2)x2x(log 2 24  เติม 24log 24 หลัง 2 ดังนี้ 24log2)x2x(log 24 2 24  2 24 2 24 )24(log)x2x(log  24log)x2x(log 24 2 24  เนื่องจาก ฐานมากว่า 1 ดังนั้น เมื่อปลด log แล้วเครื่องหมายอสมการไม่เปลี่ยน ดังนี้ x2 – 2x < 24 x2 – 2x – 24 < 0  แอนติลอการิทึม (antilogarithm) ข้อกาหนด 1. ถ้า log N = K แล้ว N จะถูกเรียกว่า แอนติลอการิทึม (antilogarithm) ของ log N 2. ถ้า log N = K แล้ว N จะถูกเขียนสั้น ๆ ได้เป็น antilog (K) แสดงว่า N = antilog (K) = 10k จากข้อกาหนดทาให้เราทราบได้ว่า 1. antilog (K) = 10k 2. ต้องระลึกอยู่เสมอว่า สามารถย้ายข้าง antilog ไปเป็น log ได้ และ สามารถย้ายข้าง log ไปเป็น antilog ได้ แสดงว่าถ้าเราเจอ N = antilog (K)
  • 11. N = antilog (K) ย้ายข้าง * จะได้ log N = K หรือถ้าเราเจอ log N = K สามารถย้ายข้าง log N = K ย้ายข้าง * จะได้ N = antilog (K)  ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithm) ข้อกาหนด 1. ลอการิทึมธรรมชาติ หมายถึง ลอการิทึมที่มีฐานเป็น e โดยที่ e เป็นสัญลักษณ์แทน จานวนอตรรกยะจานวนหนึ่งซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 แสดงว่า logex คือ ลอการิทึมธรรมชาติ นั่นเอง 2. การเขียนลอการิทึมของ x ฐาน e นิยมเขียน ln x แทน logex 3. ”ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms)” อาจถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลอการิทึมแบบเนเปียร์ (Napierian logarithms) ข้อควรเน้น ถ้าเราเจอ ln x อยากเปลี่ยนไปเป็น logex แล้วคิดทาทุกอย่างเหมือนที่เคยคิดทา log ทั่ว ๆ ไป สิ่งที่ควรทราบ 1. เราอาจหาค่าลอการิทึมฐาน e โดยอาศัยลอการิทึมฐานสิบได้ดังนี้ จาก ln x = logex ln x = elog xlog เราพบว่า loge = log 2.718 (e  2.718) = 0.4343
  • 12. ดังนั้น ln x = 4343.0 xlog หรือ ln x = (2.3026) logx  การคานวณค่าโดยประมาณโดยใช้ลอการิทึม สาหรับการคานวณที่เกี่ยวกับ การคูณ การหาร และยกกาลัง อาจอาศัยลอการิทึมช่วยใน การคานวณได้ โดยค่าที่คานวณได้จะมีค่าโดยประมาณแต่ก็ใกล้เคียงกับค่าที่แท้จริง ตัวอย่าง 1 จงหาค่าของ 912.0 2.43x0413.0 วิธีทา สมมุติให้ x = 912.0 2.43x0413.0 log x = log 912.0 )2.43x0413.0( = log 0.0413 + log 43.2 – log 0.912 = log 4.13 x 10-2 + log 4.32 x 101 – log 9.12 x 10-1 = (0.6160 – 2) + (0.6355 + 1) – (0.9600 – 1) = 0.2915 = log 1.96 แสดงว่า x = 1.96 ดังนั้น 912.0 2.43x013.0 = 1.96