SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
1


   ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ การบริ ห ารการคลั ง และงบ
            ประมาณ รายรั บ รายจ่ า ย ของรั ฐ บาล

     การคลั ง เป็นภารกิจด้านการเงินของรัฐทั้งรายได้รายจ่าย
ตลอดจนการวางนโยบายในการดำาเนินงานใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรที่มีอยู่ให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านเศรษฐกิจ
     นโยบายการคลั ง หมายถึง หลักการของรัฐบาลในด้านการ
รับการจ่ายเงิน การก่อหนี้ผูกพันของรัฐบาลต้องมีมาตรการให้เกิด
การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
     หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กรมสรรพกร
กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สำานักงบประมาณ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย




ภาพรวมแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยปี 2554
2

      เศรษฐกิจไทยในปี 2553 คาดว่าจะมีการขยายตัวประมาณร้อย
ละ 3.5 – 4.5 และอัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 3.0 – 4.0 ปัจจัย
สำาคัญที่สนับสนุนให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าใหม่ในเอเชียที่มีการฟื้น
ตัว มากกว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิมส่งผลให้การส่งออกสินค้าและ
บริการ รวมถึง การท่องเที่ยวกลับมาขยายตัวในอัตราสูงได้ สำาหรับ
การใช้จ่ายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นมากจากปีก่อน และมี
การกระจายตัวในแต่ละภาคเศรษฐกิจมากขึ้น โดยที่การบริโภคภาค
เอกชนปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของรายได้
เกษตรกร ซึ่งเป็นผลจากราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกที่ปรับตัวสูง
ขึ้น ประกอบกับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น และการนำาเข้าสินค้าทุน
ประเภทเครื่องจักรได้ส่งสัญญาณให้เห็นถึงแนวโน้มการขยายตัว
ของการลงทุนภาคเอกชนนอกจากนี้ แรงกระตุ้น จากการใช้จ่าย
ของภาครัฐ ส่วนหนึ่งจากการเบิก จ่ายของโครงการภายใต้แผน
ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ยงคงส่งผลอย่างต่อเนื่อง สำาหรับ
                                ั
เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี โดยทุนสำารอง
ระหว่างประเทศอยู่ในระดับสูง หนี้ต่างประเทศอยู่ในระดับตำ่า และ
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล อย่างไรก็ตาม เสถียรภาพภายในประเทศ
มีสัญญาณตลาดแรงงานที่เริ่มตึงตัวขึ้น และมีแรงกดดันให้อัตรา
เงินเฟ้อปรับสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ และการเพิ่มขึ้น
ของต้นทุนวัตถุดิบ ปัจจัยที่ต้องพึงระวังในการบริหารเศรษฐกิจ
มหภาคปี 2553 ได้แก่ ความเสี่ยงจากสถานการณ์ทางการเมืองใน
ประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นและความเปราะบางของการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจโลก อาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น การท่องเที่ยว การ
บริโภค และการลงทุนได้ นอกจากนี้ เศรษฐกิจอาจได้รับแรงกดดัน
ด้านเงินเฟ้อจากความผันผวนของราคานำ้ามันในตลาดโลก รวมทั้ง
การแข็งค่าของเงินบาทและอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นสำาหรับ
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2554 คาดว่าจะขยายตัวประมาณร้อย
ละ 3.5 - 4.5 อัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 2.0 - 3.0
สาระสำ า คั ญ ของงบประมาณรายจ่ า ยประจำ า ปี ง บประมาณ
พ.ศ. 2554
     เกิดการระดมทุนจากแหล่งทุนต่างๆ ทั้งในประเทศและต่าง
ประเทศเพื่อเร่งรัดการลงทุน
ในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ รวมทั้งส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่น
ในระบบเศรษฐกิจของผู้บริโภคและนักลงทุนอย่างต่อเนื่อง อย่างไร
ก็ตาม ในปี 2554 ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่ต้องระมัดระวัง ได้แก่ แนวโน้ม
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่อาจส่งผลต่อความสามารถ
ในการแข่งขันด้านราคาสินค้าส่งออกของไทย และการผันผวนของ
ราคานำ้ามันที่อาจส่งผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ รวมทั้งแนวโน้ม
อัตราดอกเบี้ยขาขึ้นซึ่งจะทำาให้ต้นทุนในการบริโภคและการลงทุน
ภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นได้



นโยบายงบประมาณ ปี 2554
3

     แนวทางการบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2554 รัฐบาลยังคงให้ความสำาคัญกับการสนับสนุนการขยาย
ตัวทางเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน ควบคู่กับ การเสริมสร้างความยั่งยืน
ทางการคลังบนพื้นฐานของการนำาแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นหลักในการพัฒนาและการจัดสรรทรัพยากรของ
ประเทศ ดังนั้น ในการบริหารจัดการการใช้จ่ายภาครัฐ จะยึดหลัก
ผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามเป้าหมาย ความโปร่งใสมี
ประสิทธิภาพ ระมัดระวังปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และเพื่อให้สามารถนำา
นโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติและเกิดประโยชน์โดยตรงต่อ
ประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จึงกำาหนดนโยบายงบ
ประมาณ ดังนี้
     1. ดำาเนินนโยบายงบประมาณขาดดุล ภายใต้กรอบความยั่งยืน
        ทางการคลังเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
     2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดการใช้จ่ายงบ
        ประมาณภาครัฐ
     3. ทบทวนเพื่อชะลอหรือยกเลิกการดำาเนินงานของหน่วยงาน
        ของรัฐ (Redeploy)ทีมีลำาดับความสำาคัญลดลงหรือหมด
                           ่
        ความจำาเป็น และสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้
     4. เพิ่มสัดส่วนรายจ่ายลงทุนในระดับที่เหมาะสมในการ
        สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
     5. สนับสนุน งบประมาณเพื่อ การขับ เคลื่อนยุทธศาสตร์การ
        พัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดในจำานวนที่เหมาะสมและ
        สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านการคลังของประเทศ
     6. ส่งเสริม การกระจายอำานาจสู่ท้องถิ่นโดยให้ความสำาคัญกับ
        การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ขององค์กร
        ปกครองส่วนท้องถิ่น และเร่งรัดการถ่ายโอนภารกิจให้ท้อง
        ถิ่น
ตามนโยบายของรัฐบาล
4




ข้อสมม ติ ฐ าน ใ น ก า ร ป ร ะ ม า ณ ก า ร ร า ย ไ ด ้
อัตราการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ(Real GDP)
   1. อัตราเงินเฟ้อ
   2. อัตราการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้า
   3. อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก
  4. อัตราแลกเปลี่ยน(บาท/ดอลลาร์สหรัฐ)
  5. ปริมาณเงินฝาก
  6. อัตราดอกเบี้ย
5




การใช้จ่ายจากเงินคงคลัง
     รายการจ่ายที่มีการอนุญาตให้จ่ายเงินได้แล้ว ตามกฎหมายว่า
ด้วยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ แต่เงินที่ตั้งไว้มีจานวน
ไม่พอจ่ายและพฤติการณ์เกิดขึ้นให้มีความจาเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว
    1.   มีกฎหมายใดๆ ที่กระทาให้ต้องจ่ายเงิน เพื่อปฏิบัติตามกฎ
         หมายนั้นๆ และมีความจำาเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว
    2.   มีขอผูกพันกับรัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันการเงิน
            ้
         ระหว่างประเทศที่กระทำาให้ต้องจ่ายเงิน และมีความจำาเป็น
         ต้องจ่ายโดยเร็ว
    3.   เพื่อซื้อคืนหรือไถ่ถอนพันธบัตรของรัฐบาลหรือตราสารเงิน
         กู้ของกระทรวงการคลัง หรือชำาระหนี้ตามสัญญากู้ที่
         กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ ทั้งนี้ ตามจานวนที่รัฐมนตรีเห็น
         สมควร
    4.   เพื่อซื้อเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศ
         หรือหลักทรัพย์ที่มั่นคงในต่างประเทศที่ไม่ใช่หุ้น ในสกุล
         เงินตราที่จะต้องชาระหนี้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ และใน
         วงเงินไม่เกินจานวนหนี้ที่ถึงกำาหนดชำาระในช่วงระยะเวลา
         ไม่เกิน 5 ปี เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการชาระหนี้เมื่อถึง
         กำาหนด
6

      การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน
เป็นการจัดสรรงบประมาณแบบมีเงื่อนไข คือสำานักงบประมาณจะ
ให้อิสระทางการเงินกับหน่วยงานเมื่อหน่วยงานมีหลักประกันได้ว่า
สามารถนำางบประมาณไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ได้แก่การดำาเนินงานเพื่อผ่านมาตรการทางการเงิน 7 ประการดังนี้
      1. การวางแผนงบประมาณ
      2. การคำานวณต้นทุนกิจกรรม
      3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
      4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ
      5. การรายงานทางการเงินและผลการดำาเนินงาน
      6. การบริหารสินทรัพย์
      7. การตรวจสอบภายใน
      สิ่งที่สำาคัญการจัดทำาระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน
คือการวัดผลการดำาเนินงาน ที่เป็นตัวกำาหนดหน่วยนับ ในการตรวจ
วัดประเมินผล การดำาเนินงาน การวัดต้องชัดเจน สมบูรณ์ นำาไป
ใช้ได้จริง เหมาะสมกับเวลา ต้องครอบคลุมทั้งปริมาณ คุณภาพ ค่า
ใช้จ่าย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทันเวลา
ปัจจัยที่ส่งผล ต่อ ดุลเงินสด แ ล ะเ งิน คง ค ลัง
       1. การจัดเก็บรายได้ที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
       2. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากปีก่อนที่เหลื่อมมาจานวน
          มาก
       3. การนำาเงินคงคลังมาใช้จ่ายในกรณีต่างๆ
       4. การตั้งงบประมาณชดใช้เงินคงคลังในแต่ละปีเป็นการตั้ง
          ตัวเลขตามบัญชีแต่ไม่ได้มีการชดใช้จริง
การบริหารเงินคงคลัง
  1. เงินคงคลัง–ดำาเนินการโดยกรมบัญชีกลาง
  2. ในทางปฏิบัติรัฐบาลควรมีเงินคงคลังเพียงพอต่อการใช้จ่าย
  3. รัฐบาลจำาเป็นต้องกู้เงินเพื่อชดเชยในกรณีที่มีเงินคงคลังไม่
     เพียงพอ




โครงสร้างงบประมา ณ
         โครงสร้างงบประมาณปี 2554 มีสาระสำาคัญสรุปดังนี้
         3.1 ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ ่ า ย ป ร ะ จ ำ า ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ .ศ .
         2554
         งบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จำานวน
2,070,000 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 370,000 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.8
7

โดยวงเงินงบประมาณดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.0 ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
         3.2 ร า ย จ ่ า ย ป ร ะ จ ำ า
         รายจ่ายประจำากำาหนดไว้เป็นจำานวน 1,662,604.2 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 227,894.1 ล้านบาท
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 โดยรายจ่ายประจำาดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 80.3 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 84.4ของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
         3.3 ร า ย จ ่ า ย เ พ ื ่ อ ช ด ใ ช ้ เ ง ิ น ค ง ค ล ั ง
       รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังกำาหนดไว้เป็นจำานวน
30,346.1 ล้านบาท โดยรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังจำานวนดัง
กล่าว คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.5 ของวงเงินงบประมาณรวม
         3.4 ร า ย จ ่ า ย ล ง ท ุ น
รายจ่ายลงทุนกำาหนดไว้เป็นจำานวน 344,495.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 130,126.1ล้านบาท หรือเพิ่ม
ขึ้นร้อยละ 60.7 โดยรายจ่ายลงทุนจำานวนดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 16.6 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 12.6ของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
         3.5ร า ย จ ่ า ย ช ำ า ร ะ ค ื น ต ้ น เ ง ิ น ก ู ้
รายจ่ายชำาระคืนต้นเงินกู้ได้จัดสรรไว้เป็นจำานวน 32,554.6 ล้าน
บาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 18,366.3 ล้านบาท
หรือลดลงร้อยละ 36.1 โดยรายจ่ายชำาระคืนต้นเงินกู้ดังกล่าวคิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 1.6 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 3.0 ของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ขนาดและดุลยภาพงบประมาณ
      1. ขนาดของงบประมาณแผ่นดิน
         1.1บทบาทของรัฐบาล
         1.2รายได้ประชาชาติ
         1.3ภาวะทางเศรษฐกิจ
      2. ดุลยภาพของงบประมาณ
         2.1งบประมาณสมดุล
         2.2งบประมาณเกินดุล
         2.3งบประมาณขาดดุล
รูป แ บ บ ก า ร จ ำา แ น ก ป ร ะ เ ภ ท ง บ ป ร ะ ม า ณ
      1. รูปแบบงบประมาณ
         1.1งบประมาณแสดงรายการ
         1.2งบประมาณแบบแสดงผลงาน
         1.3งบประมาณแบบแสดงแผนงาน
         1.4งบประมาณแบบการวางแผนการและการกำาหนด
            โครงการ
         1.5งบประมาณแบบฐานศูนย์
      2. การจำาแนกประเภทงบประมาณ รายจ่ายมี 5 ประเภท
         2.1การจำาแนกรายการงบประมาณตามหน่วยงาน
8

       2.2จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะการใช้งบ
           ประมาณ
       2.3จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะงาน
       2.4จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะเศรษฐกิจ
       2.5จำาแนกรายการงบประมาณตามแผนกงาน
          - การอนุมัติงบประมาณ
          - การบริหารงบประมาณ
          - การควบคุมงบประมาณ
3. การจำาแนกประเภทงบประมาณ รายรับ มี 3 ประเภท
         1.1รายได้จำาแนกตามหน่วยงาน
         1.2รายได้จำาแนกประเภท
         1.3รายได้จำาแนกตามหน่วยงานที่จัดเก็บ




                          บรรณานุกรม

host.psu.ac.th/~pornchai.l/index-14%20kankang/unit11.ppt การ
บริหารการคลังและ
          งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555.
http://www.bb.go.th/bbhome/index.asp# การบริหารการคลังและ
งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อ
        วันที่ 5 มีนาคม 2555.
http://www.eco.ru.ac.th/tawin/article/Public%     20Finance.pdf
วันที่ การบริหารการคลังและ
          งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555.
http://st.mengrai.ac.th/users/doremon/19_AMORNRAT/4.htm
การบริหารการคลังและ
          งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555.
9

Contenu connexe

Tendances

ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
พนักงานราชการ
พนักงานราชการพนักงานราชการ
พนักงานราชการluxjang
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7Pear Pimnipa
 

Tendances (20)

ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
พนักงานราชการ
พนักงานราชการพนักงานราชการ
พนักงานราชการ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 

Similaire à ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ

มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursASpyda Ch
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFINNOMENAMarketing
 
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)pu12000srikuaklin
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556waranyuati
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFINNOMENAMarketing
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 

Similaire à ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ (20)

มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
 
วงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลังวงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลัง
 
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Ac01
Ac01Ac01
Ac01
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 

Plus de ชญานิษฐ์ ทบวัน

สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2
สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2
สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2ชญานิษฐ์ ทบวัน
 

Plus de ชญานิษฐ์ ทบวัน (20)

Pre o-net job3
Pre o-net job3Pre o-net job3
Pre o-net job3
 
Pre o-net job3 ชุด สอง
Pre o-net job3 ชุด สองPre o-net job3 ชุด สอง
Pre o-net job3 ชุด สอง
 
O net 52 M. 3 Tecnology
O net 52 M. 3 TecnologyO net 52 M. 3 Tecnology
O net 52 M. 3 Tecnology
 
ScoreMiddle156
ScoreMiddle156ScoreMiddle156
ScoreMiddle156
 
scoremidle156
scoremidle156scoremidle156
scoremidle156
 
สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2
สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2
สำเนาของ รายชื่อทำงานกับครู2
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Flowchart6
Flowchart6Flowchart6
Flowchart6
 
Flowchart5
Flowchart5Flowchart5
Flowchart5
 
Flowchart3
Flowchart3Flowchart3
Flowchart3
 
Flowchart4
Flowchart4Flowchart4
Flowchart4
 
Flowchart2
Flowchart2Flowchart2
Flowchart2
 
Flowchart1
Flowchart1Flowchart1
Flowchart1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
report M.4
report M.4report M.4
report M.4
 
Ex 1
Ex  1Ex  1
Ex 1
 
ตัวอย่างทำหัวข้อ Powerpoint
ตัวอย่างทำหัวข้อ Powerpointตัวอย่างทำหัวข้อ Powerpoint
ตัวอย่างทำหัวข้อ Powerpoint
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
วิธีการทำ Power point
วิธีการทำ Power pointวิธีการทำ Power point
วิธีการทำ Power point
 
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ

  • 1. 1 ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ การบริ ห ารการคลั ง และงบ ประมาณ รายรั บ รายจ่ า ย ของรั ฐ บาล การคลั ง เป็นภารกิจด้านการเงินของรัฐทั้งรายได้รายจ่าย ตลอดจนการวางนโยบายในการดำาเนินงานใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรที่มีอยู่ให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านเศรษฐกิจ นโยบายการคลั ง หมายถึง หลักการของรัฐบาลในด้านการ รับการจ่ายเงิน การก่อหนี้ผูกพันของรัฐบาลต้องมีมาตรการให้เกิด การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กรมสรรพกร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง สำานักงบประมาณ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย ภาพรวมแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยปี 2554
  • 2. 2 เศรษฐกิจไทยในปี 2553 คาดว่าจะมีการขยายตัวประมาณร้อย ละ 3.5 – 4.5 และอัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 3.0 – 4.0 ปัจจัย สำาคัญที่สนับสนุนให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การฟื้นตัว ของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าใหม่ในเอเชียที่มีการฟื้น ตัว มากกว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิมส่งผลให้การส่งออกสินค้าและ บริการ รวมถึง การท่องเที่ยวกลับมาขยายตัวในอัตราสูงได้ สำาหรับ การใช้จ่ายในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นมากจากปีก่อน และมี การกระจายตัวในแต่ละภาคเศรษฐกิจมากขึ้น โดยที่การบริโภคภาค เอกชนปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของรายได้ เกษตรกร ซึ่งเป็นผลจากราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกที่ปรับตัวสูง ขึ้น ประกอบกับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น และการนำาเข้าสินค้าทุน ประเภทเครื่องจักรได้ส่งสัญญาณให้เห็นถึงแนวโน้มการขยายตัว ของการลงทุนภาคเอกชนนอกจากนี้ แรงกระตุ้น จากการใช้จ่าย ของภาครัฐ ส่วนหนึ่งจากการเบิก จ่ายของโครงการภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ยงคงส่งผลอย่างต่อเนื่อง สำาหรับ ั เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี โดยทุนสำารอง ระหว่างประเทศอยู่ในระดับสูง หนี้ต่างประเทศอยู่ในระดับตำ่า และ ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล อย่างไรก็ตาม เสถียรภาพภายในประเทศ มีสัญญาณตลาดแรงงานที่เริ่มตึงตัวขึ้น และมีแรงกดดันให้อัตรา เงินเฟ้อปรับสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ และการเพิ่มขึ้น ของต้นทุนวัตถุดิบ ปัจจัยที่ต้องพึงระวังในการบริหารเศรษฐกิจ มหภาคปี 2553 ได้แก่ ความเสี่ยงจากสถานการณ์ทางการเมืองใน ประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นและความเปราะบางของการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลก อาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น การท่องเที่ยว การ บริโภค และการลงทุนได้ นอกจากนี้ เศรษฐกิจอาจได้รับแรงกดดัน ด้านเงินเฟ้อจากความผันผวนของราคานำ้ามันในตลาดโลก รวมทั้ง การแข็งค่าของเงินบาทและอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นสำาหรับ แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2554 คาดว่าจะขยายตัวประมาณร้อย ละ 3.5 - 4.5 อัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 2.0 - 3.0 สาระสำ า คั ญ ของงบประมาณรายจ่ า ยประจำ า ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2554 เกิดการระดมทุนจากแหล่งทุนต่างๆ ทั้งในประเทศและต่าง ประเทศเพื่อเร่งรัดการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ รวมทั้งส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่น ในระบบเศรษฐกิจของผู้บริโภคและนักลงทุนอย่างต่อเนื่อง อย่างไร ก็ตาม ในปี 2554 ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่ต้องระมัดระวัง ได้แก่ แนวโน้ม อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่อาจส่งผลต่อความสามารถ ในการแข่งขันด้านราคาสินค้าส่งออกของไทย และการผันผวนของ ราคานำ้ามันที่อาจส่งผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อ รวมทั้งแนวโน้ม อัตราดอกเบี้ยขาขึ้นซึ่งจะทำาให้ต้นทุนในการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นได้ นโยบายงบประมาณ ปี 2554
  • 3. 3 แนวทางการบริหารจัดการเศรษฐกิจมหภาคในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รัฐบาลยังคงให้ความสำาคัญกับการสนับสนุนการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน ควบคู่กับ การเสริมสร้างความยั่งยืน ทางการคลังบนพื้นฐานของการนำาแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นหลักในการพัฒนาและการจัดสรรทรัพยากรของ ประเทศ ดังนั้น ในการบริหารจัดการการใช้จ่ายภาครัฐ จะยึดหลัก ผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามเป้าหมาย ความโปร่งใสมี ประสิทธิภาพ ระมัดระวังปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และเพื่อให้สามารถนำา นโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติและเกิดประโยชน์โดยตรงต่อ ประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จึงกำาหนดนโยบายงบ ประมาณ ดังนี้ 1. ดำาเนินนโยบายงบประมาณขาดดุล ภายใต้กรอบความยั่งยืน ทางการคลังเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดการใช้จ่ายงบ ประมาณภาครัฐ 3. ทบทวนเพื่อชะลอหรือยกเลิกการดำาเนินงานของหน่วยงาน ของรัฐ (Redeploy)ทีมีลำาดับความสำาคัญลดลงหรือหมด ่ ความจำาเป็น และสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้ 4. เพิ่มสัดส่วนรายจ่ายลงทุนในระดับที่เหมาะสมในการ สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน 5. สนับสนุน งบประมาณเพื่อ การขับ เคลื่อนยุทธศาสตร์การ พัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดในจำานวนที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับสถานการณ์ด้านการคลังของประเทศ 6. ส่งเสริม การกระจายอำานาจสู่ท้องถิ่นโดยให้ความสำาคัญกับ การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และเร่งรัดการถ่ายโอนภารกิจให้ท้อง ถิ่น ตามนโยบายของรัฐบาล
  • 4. 4 ข้อสมม ติ ฐ าน ใ น ก า ร ป ร ะ ม า ณ ก า ร ร า ย ไ ด ้ อัตราการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ(Real GDP) 1. อัตราเงินเฟ้อ 2. อัตราการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้า 3. อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก 4. อัตราแลกเปลี่ยน(บาท/ดอลลาร์สหรัฐ) 5. ปริมาณเงินฝาก 6. อัตราดอกเบี้ย
  • 5. 5 การใช้จ่ายจากเงินคงคลัง รายการจ่ายที่มีการอนุญาตให้จ่ายเงินได้แล้ว ตามกฎหมายว่า ด้วยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ แต่เงินที่ตั้งไว้มีจานวน ไม่พอจ่ายและพฤติการณ์เกิดขึ้นให้มีความจาเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว 1. มีกฎหมายใดๆ ที่กระทาให้ต้องจ่ายเงิน เพื่อปฏิบัติตามกฎ หมายนั้นๆ และมีความจำาเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว 2. มีขอผูกพันกับรัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันการเงิน ้ ระหว่างประเทศที่กระทำาให้ต้องจ่ายเงิน และมีความจำาเป็น ต้องจ่ายโดยเร็ว 3. เพื่อซื้อคืนหรือไถ่ถอนพันธบัตรของรัฐบาลหรือตราสารเงิน กู้ของกระทรวงการคลัง หรือชำาระหนี้ตามสัญญากู้ที่ กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ ทั้งนี้ ตามจานวนที่รัฐมนตรีเห็น สมควร 4. เพื่อซื้อเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศ หรือหลักทรัพย์ที่มั่นคงในต่างประเทศที่ไม่ใช่หุ้น ในสกุล เงินตราที่จะต้องชาระหนี้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ และใน วงเงินไม่เกินจานวนหนี้ที่ถึงกำาหนดชำาระในช่วงระยะเวลา ไม่เกิน 5 ปี เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการชาระหนี้เมื่อถึง กำาหนด
  • 6. 6 การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน เป็นการจัดสรรงบประมาณแบบมีเงื่อนไข คือสำานักงบประมาณจะ ให้อิสระทางการเงินกับหน่วยงานเมื่อหน่วยงานมีหลักประกันได้ว่า สามารถนำางบประมาณไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้แก่การดำาเนินงานเพื่อผ่านมาตรการทางการเงิน 7 ประการดังนี้ 1. การวางแผนงบประมาณ 2. การคำานวณต้นทุนกิจกรรม 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ 5. การรายงานทางการเงินและผลการดำาเนินงาน 6. การบริหารสินทรัพย์ 7. การตรวจสอบภายใน สิ่งที่สำาคัญการจัดทำาระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน คือการวัดผลการดำาเนินงาน ที่เป็นตัวกำาหนดหน่วยนับ ในการตรวจ วัดประเมินผล การดำาเนินงาน การวัดต้องชัดเจน สมบูรณ์ นำาไป ใช้ได้จริง เหมาะสมกับเวลา ต้องครอบคลุมทั้งปริมาณ คุณภาพ ค่า ใช้จ่าย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทันเวลา ปัจจัยที่ส่งผล ต่อ ดุลเงินสด แ ล ะเ งิน คง ค ลัง 1. การจัดเก็บรายได้ที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 2. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากปีก่อนที่เหลื่อมมาจานวน มาก 3. การนำาเงินคงคลังมาใช้จ่ายในกรณีต่างๆ 4. การตั้งงบประมาณชดใช้เงินคงคลังในแต่ละปีเป็นการตั้ง ตัวเลขตามบัญชีแต่ไม่ได้มีการชดใช้จริง การบริหารเงินคงคลัง 1. เงินคงคลัง–ดำาเนินการโดยกรมบัญชีกลาง 2. ในทางปฏิบัติรัฐบาลควรมีเงินคงคลังเพียงพอต่อการใช้จ่าย 3. รัฐบาลจำาเป็นต้องกู้เงินเพื่อชดเชยในกรณีที่มีเงินคงคลังไม่ เพียงพอ โครงสร้างงบประมา ณ โครงสร้างงบประมาณปี 2554 มีสาระสำาคัญสรุปดังนี้ 3.1 ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ ่ า ย ป ร ะ จ ำ า ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ .ศ . 2554 งบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จำานวน 2,070,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 370,000 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.8
  • 7. 7 โดยวงเงินงบประมาณดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.0 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 3.2 ร า ย จ ่ า ย ป ร ะ จ ำ า รายจ่ายประจำากำาหนดไว้เป็นจำานวน 1,662,604.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 227,894.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 โดยรายจ่ายประจำาดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 80.3 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 84.4ของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.3 ร า ย จ ่ า ย เ พ ื ่ อ ช ด ใ ช ้ เ ง ิ น ค ง ค ล ั ง รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังกำาหนดไว้เป็นจำานวน 30,346.1 ล้านบาท โดยรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังจำานวนดัง กล่าว คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.5 ของวงเงินงบประมาณรวม 3.4 ร า ย จ ่ า ย ล ง ท ุ น รายจ่ายลงทุนกำาหนดไว้เป็นจำานวน 344,495.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 130,126.1ล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 60.7 โดยรายจ่ายลงทุนจำานวนดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 16.6 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 12.6ของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.5ร า ย จ ่ า ย ช ำ า ร ะ ค ื น ต ้ น เ ง ิ น ก ู ้ รายจ่ายชำาระคืนต้นเงินกู้ได้จัดสรรไว้เป็นจำานวน 32,554.6 ล้าน บาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำานวน 18,366.3 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 36.1 โดยรายจ่ายชำาระคืนต้นเงินกู้ดังกล่าวคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 1.6 ของวงเงินงบประมาณเทียบกับร้อยละ 3.0 ของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ขนาดและดุลยภาพงบประมาณ 1. ขนาดของงบประมาณแผ่นดิน 1.1บทบาทของรัฐบาล 1.2รายได้ประชาชาติ 1.3ภาวะทางเศรษฐกิจ 2. ดุลยภาพของงบประมาณ 2.1งบประมาณสมดุล 2.2งบประมาณเกินดุล 2.3งบประมาณขาดดุล รูป แ บ บ ก า ร จ ำา แ น ก ป ร ะ เ ภ ท ง บ ป ร ะ ม า ณ 1. รูปแบบงบประมาณ 1.1งบประมาณแสดงรายการ 1.2งบประมาณแบบแสดงผลงาน 1.3งบประมาณแบบแสดงแผนงาน 1.4งบประมาณแบบการวางแผนการและการกำาหนด โครงการ 1.5งบประมาณแบบฐานศูนย์ 2. การจำาแนกประเภทงบประมาณ รายจ่ายมี 5 ประเภท 2.1การจำาแนกรายการงบประมาณตามหน่วยงาน
  • 8. 8 2.2จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะการใช้งบ ประมาณ 2.3จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะงาน 2.4จำาแนกรายการงบประมาณตามลักษณะเศรษฐกิจ 2.5จำาแนกรายการงบประมาณตามแผนกงาน - การอนุมัติงบประมาณ - การบริหารงบประมาณ - การควบคุมงบประมาณ 3. การจำาแนกประเภทงบประมาณ รายรับ มี 3 ประเภท 1.1รายได้จำาแนกตามหน่วยงาน 1.2รายได้จำาแนกประเภท 1.3รายได้จำาแนกตามหน่วยงานที่จัดเก็บ บรรณานุกรม host.psu.ac.th/~pornchai.l/index-14%20kankang/unit11.ppt การ บริหารการคลังและ งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555. http://www.bb.go.th/bbhome/index.asp# การบริหารการคลังและ งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2555. http://www.eco.ru.ac.th/tawin/article/Public% 20Finance.pdf วันที่ การบริหารการคลังและ งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555. http://st.mengrai.ac.th/users/doremon/19_AMORNRAT/4.htm การบริหารการคลังและ งบประมาณ. (2555). ค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555.
  • 9. 9