SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
PRESENT
2. ความเสมอภาคทางเพศ เป็นเรื่องของความเท่าเทียมกันของเพศชายกับเพศ
หญิงในเรื่องใด
ก) ด้านสังคม
ข) ด้านเศรษฐกิจ
ค) ด้านการค้า
ง) ด้านการเมือง
หญิงชายเท่าเทียมกัน
แบบทดสอบ
1. ความเสมอภาคทางเพศในอดีตกับปัจจุบันแตกต่างกันอย่างไร
ก) สมัยก่อนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
ข) สมัยก่อนผู้ชายจะได้เปรียบมากกว่าผู้หญิง
ค) สมัยก่อนผู้ชายเสียเปรียบผู้หญิง
ง) ไม่มีข้อใดถูก
หญิงชายเท่าเทียมกัน
3. ครอบครัวที่อบอุ่น หมายถึงอะไร
ก) ครอบครัวที่มีสมาชิกอยู่มากๆ
ข) ครอบครัวที่มีสมาชิกรักใคร่กัน
ค) ครอบครัวที่มีสมาชิกเอาแต่ทะเลาะกัน
ง) ครอบครัวที่สมาชิกไม่สนใจกัน
4. ปัญหาความไม่เสมอภาคทางเพศมักเกิดกับเพศใดมาก
ที่สุด
ก) เพศหญิง
ข) เพศชาย
ค) เพศที่สาม
ง) ไม่มี
หญิงชายเท่าเทียมกัน
5. ข้อใดเป็นการวางตัวที่เหมาะสม
ก) คุยโทรศัพท์ด้วยกันบ่อยๆ
ข) พูดหยอกล้อกันบ่อยๆ
ค) ชอบช่วยเหลือกัน
ง) ไปเที่ยวกันสองต่อสอง
6. ใครแต่งตัวได้เหมาะสมที่สุด
ก) ส้มสวมเสื้อสายเดี่ยวไปเที่ยว
ข) ชมพูใส่กระโปรงกับเสื้อโชว์ไหล่ไปโรงเรียน
ค) แตงกวาใส่เสื้อที่มีคราบสกปรก
ง) แต่งโมใส่กางเกงขายาวกับเสื้อแขนยาวไปวัด
หญิงชายเท่าเทียมกัน
7. การแต่งกายที่ไม่สุภาพส่งผลในด้านใด
ก) ด้านบุคลิก
ข) ด้านฐานะ
ค) ด้านสุขภาพ
ง) ด้านหน้าตา
8. สื่อชนิดใดที่เยาวชนไม่สมควรดู
ก) การ์ตูน
ข) ข่าว
ค) เกมโชว์
ง) หนังลามก อนาจาร
หญิงชายเท่าเทียมกัน
9. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ายหญิงและ
ฝ่ายชายข้อใดเกินเลย
ก) พูดจาสุภาพกัน
ข) ช่วยเหลือกัน
ค) นั่งเรียนใกล้กัน
ง) จับไม้จับมือในที่ลับตาคน
10. การถ่ายทอดบทบาททางเพศ การถ่ายทอดจากสิ่งใดดี
ที่สุด
ก) ครอบครัว
ข) เพื่อน
ค) สื่อต่างๆ
ง) โรงเรียน
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เพศ บทบาทความสัมพันธ ์หญิงชาย
และความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย
มีความหมายดังนี้
เพศ(SEX) คือสิ่งที่แสดงลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เพศ บทบาทความสัมพันธ ์หญิงชาย
และความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย
มีความหมายดังนี้
บทบาททางเพศ(SEX ROLE) คือผู้หญิงและผู้ชายต่างมีบทบาทเพศสรีระ
มีมาแต่กาเนิด
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เพศ บทบาทความสัมพันธ ์หญิงชาย
และความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย
มีความหมายดังนี้
บทบาทความสาคัญหญิงชาย (GENDER) คือเพศที่ถูกกาหนดโดยเงื่อนไข
ทางสังคม วัฒนธรรม ให้แสดงบทบาท
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เพศ บทบาทความสัมพันธ ์หญิงชาย
และความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย
มีความหมายดังนี้
ความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย(GENDER EQUALITY) คือความเท่า
เทียมในสิทธิหน้าที่ จะต้องไม่มีเงื่อนไขของความแตกต่าง
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ปัญหาพาสนุก
คำว่ำ “EQUALITY” แปลว่ำอะไร ???
เฉลย : ความเสมอภาค หรือ ความเท่าเทียม
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ปัญหาความไม่เสมอภาคทาง
เพศ
เกิดจากความเชื่อดั้งเดิมของคนในสังคมที่เห็นว่าอะไรเหมาะสมกับ
หญิง อะไรเหมาะสมกับชาย หรือความคิดที่ว่าเด็กหญิงหรือผู้หญิง
เด็กชายหรือผู้ชายสามารถทาอะไรได้ดีกว่าหรืออะไรทาไม่ได้
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ยกตัวอย่างเช่น
ผู้หญิงต้องทำงำนบ้ำน
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ยกตัวอย่างเช่น
ผู้หญิงถูกล่วงละเมิดทางเพศในที่ทางาน
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ยกตัวอย่างเช่น
ผู้หญิงส่วนใหญ่ต้องทางานที่ไม่ใช่ทักษะความชานาญและวิชาชีพขั้นสูง
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การส่งเสริมความเสมอภาค
เพศชำยและเพศหญิงมีสิทธิและเสรีภำพใน
กำรแสดงบทบำทของตนเองต่อสังคมได้
อย่ำงเท่ำเทียมกัน
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ปัญหาพาสนุก
เพื่อนๆ ช่วยยกตัวอย่ำง
ควำมเสียเปรียบของผู้หญิง
มำ1อย่ำงนะคะ
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การขัดเกลาบทบาทความสัมพันธ ์
หญิงชายในสังคมไทย
กระบวนการสังคมเป็นตัว “กาหนด”บทบาทของหญิงและชาย ควรเป็น
อย่างไร แล้วกระทาผ่านสถำบันต่ำงๆ
ได้แก่
1. สถาบันครอบครัว
3. สื่อต่างๆ
2. สถาบันการศึกษา
หญิงชายเท่าเทียมกัน
สถาบันครอบครัว
สถำบันครอบครัวที่ร่ำรวย สถำบันครอบครัวที่ยำกจน
หญิงชายเท่าเทียมกัน
สถาบันการศึกษา
สถำบันกำรศึกษำที่ดี สถำนบันกำรศึกษำที่ไม่ดี
หญิงชายเท่าเทียมกัน
สื่อต่างๆ
สื่อที่ดี สื่อที่ไม่ดี
เพื่อนๆคิดว่า สื่อทางโทรทัศน์แบบข้อใด ที่เป็นสื่อที่ดี มีสาระ และความรู้
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ปัญหาพาสนุก
1. 2.
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้าม
การประพฤติปฏิบัติต่อกัน เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี ภายใต้ขนบธรรมเนียม
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
ชาย
แต่งกำยเรียบร้อย สะอำด
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
ชาย
แสดงควำมห่วงใย
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
ชาย
มีกิริยำ ที่สุภำพ นอบน้อม
นำยปกรณ์
นักเรียนคนใดแต่งตัวได้เหมาะสมที่สุด ?
หญิงชายเท่าเทียมกัน
ปัญหาพาสนุก
นำยนัดพบ
นำยวำยุ
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
หญิง
แต่งกำยสุภำพ สะอำดเรียบร้อย
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
หญิง
ใช้วำจำที่สุภำพ
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
หญิง
ให้เกียรติผู้ชำย ให้ควำมช่วยเหลือตำมควำมเหมำะสม
หญิงชายเท่าเทียมกัน
การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ าย
หญิง
มีน้ำใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เกมพาเพลิน
น้อยหน่ากาลังจะไปงานเลี้ยงแต่ไม่รู ้จะแต่งตัวอย่างไร เพื่อนๆ
ช่วยน้อยหน่าเลือกชุดให้เหมาะสม หน่อยนะคะ
1 2 3 4
การขัดเกลาบทบาทความสัมพันธุ์หญิงชายในสังคม
หญิงชายเท่าเทียมกัน
สรุป
บทบาทความสัมพันธุ์หญิงชาย และความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย
การวางตัวต่อเพศตรงข้าม
หญิงชายเท่าเทียมกัน
เกมเปิ ดแผ่นป้ าย
เพื่อนๆ รู้ไหมว่ำรูปนี้คือใคร ในหนังเรื่องฮอร์โมน วัยว้ำวุ่น?
1
เฉลย: สไปรท์ หรือ เก้า สุภัสสรา
2 3 4
5 6 7 8
9 10 1211
2. ความเสมอภาคทางเพศ เป็นเรื่องของความเท่าเทียมกันของเพศชายกับเพศ
หญิงในเรื่องใด
ก) ด้านสังคม
ข) ด้านเศรษฐกิจ
ค) ด้านการค้า
ง) ด้านการเมือง
หญิงชายเท่าเทียมกัน
แบบทดสอบ
1. ความเสมอภาคทางเพศในอดีตกับปัจจุบันแตกต่างกันอย่างไร
ก) สมัยก่อนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
ข) สมัยก่อนผู้ชายจะได้เปรียบมากกว่าผู้หญิง
ค) สมัยก่อนผู้ชายเสียเปรียบผู้หญิง
ง) ไม่มีข้อใดถูก
หญิงชายเท่าเทียมกัน
3. ครอบครัวที่อบอุ่น หมายถึงอะไร
ก) ครอบครัวที่มีสมาชิกอยู่มากๆ
ข) ครอบครัวที่มีสมาชิกรักใคร่กัน
ค) ครอบครัวที่มีสมาชิกเอาแต่ทะเลาะกัน
ง) ครอบครัวที่สมาชิกไม่สนใจกัน
4. ปัญหาความไม่เสมอภาคทางเพศมักเกิดกับเพศใดมาก
ที่สุด
ก) เพศหญิง
ข) เพศชาย
ค) เพศที่สาม
ง) ไม่มี
หญิงชายเท่าเทียมกัน
5. ข้อใดเป็นการวางตัวที่เหมาะสม
ก) คุยโทรศัพท์ด้วยกันบ่อยๆ
ข) พูดหยอกล้อกันบ่อยๆ
ค) ชอบช่วยเหลือกัน
ง) ไปเที่ยวกันสองต่อสอง
6. ใครแต่งตัวได้เหมาะสมที่สุด
ก) ส้มสวมเสื้อสายเดี่ยวไปเที่ยว
ข) ชมพูใส่กระโปรงกับเสื้อโชว์ไหล่ไปโรงเรียน
ค) แตงกวาใส่เสื้อที่มีคราบสกปรก
ง) แต่งโมใส่กางเกงขายาวกับเสื้อแขนยาวไปวัด
หญิงชายเท่าเทียมกัน
7. การแต่งกายที่ไม่สุภาพส่งผลในด้านใด
ก) ด้านบุคลิก
ข) ด้านฐานะ
ค) ด้านสุขภาพ
ง) ด้านหน้าตา
8. สื่อชนิดใดที่เยาวชนไม่สมควรดู
ก) การ์ตูน
ข) ข่าว
ค) เกมโชว์
ง) หนังลามก อนาจาร
หญิงชายเท่าเทียมกัน
9. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ายหญิงและ
ฝ่ายชายข้อใดเกินเลย
ก) พูดจาสุภาพกัน
ข) ช่วยเหลือกัน
ค) นั่งเรียนใกล้กัน
ง) จับไม้จับมือในที่ลับตาคน
10. การถ่ายทอดบทบาททางเพศ การถ่ายทอดจากสิ่งใดดี
ที่สุด
ก) ครอบครัว
ข) เพื่อน
ค) สื่อต่างๆ
ง) โรงเรียน
ขอบคุณค่ะ

Contenu connexe

Tendances

สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
supap6259
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
waraporny
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 

สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน

Notes de l'éditeur

  1. เพศ บทบาทความสัมพันธ์หญิงชาย และความเสมอภาคระหว่างเพศ มีความหมายดังนี้ เพศ (Sex) คือ  คือสิ่งที่แสดงลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง โดยองค์การอนามัยโลก ให้ความหมายไว้ว่า "เป็นคุณลักษณะของผู้หญิงและผู้ชายในบทบาทประกอบสร้างทางสังคม พฤติกรรม กิจกรรมและคุณลักษณะที่ให้สังคมพิจารณาว่าเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง"  มีการจำแนกมนุษย์มาตั้งแต่เกิดตามสรีระร่างกาย ว่าเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย เช่น ผู้ชายมีอัณฑะ ผู้หญิงมีมดลูก
  2. บทบาททางเพศ (Sex Role) คือ ผู้หญิงและผู้ชายต่างมีบทบาทเพศสรีระมีมาแต่กำเนิด เช่น ผู้หญิงมีหน้าที่ตั้งครรภ์และคลอดบุตร ผู้ชายมีเชื้ออสุจิในการผสมพันธุ์กับไข่ของผู้หญิง เป็นต้น
  3. บทบาทความสำคัญหญิงชาย (Gender) คือเพศที่ถูกกำหนดโดยเงื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรม ให้แสดงบทบาทหญิงหรือบทบาทชาย ดังนั้นเพศที่ถูกกำหนดโดยสังคมจึงอาจเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาวการณ์และเงื่อนไขของสังคมที่เปลี่ยนไป เช่น ผู้หญิงอาจต้องรับภาระต่างๆ ที่เคยเป็นของผู้ชาย ผู้ชายอาจจะต้องรับบทบาทการดูแลบ้านเลี้ยงดูบุตรซึ่งเคยเป็นหน้าที่ของผู้หญิง
  4. ความเสมอภาคระหว่างหญิงกับชาย (Gender Equality) คือ ความเท่าเทียมในสิทธิหน้าที่ และ โอกาสทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ หญิง ชาย จึงต้องไม่มีเงื่อนไขของความแตกต่าง ในการกำหนดสิทธิและโอกาส เช่น 1. ผู้ชายทำงาหาเลี้ยงครอบครัวได้ ผู้หญิงก็ทำงานหาเลี้ยงครอบครัวได้ 2. ผู้ชายเป็นผู้นำ ผู้หญิงก็เป็นผู้นำได้
  5. ปัญหาความไม่เสมอภาคทางเพศ เกิดจากความเชื่อดั้งเดิมของคนในสังคมที่เห็นว่าอะไรเหมาะสมกับหญิง อะไรเหมาะสมกับชาย หรือความคิดที่ว่าเด็กหญิงหรือผู้หญิง เด็กชายหรือผู้ชายสามารถทำอะไรได้ดีกว่าหรืออะไรทำไม่ได้ เป็นที่มาของอคติทางเพศ ทำให้มีการจำกัดโอกาสการพัฒนาศักยภาพของทั้งหญิงและชายและอาจนำไปสู่การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมทางเพศ ซึ่งความไม่เสมอภาคและการขาดโอกาสของผู้หญิงมีให้เห็นมากมายในสังคม
  6. ยกตัวอย่าง เช่น ผู้หญิงมีภาระงานมากกว่าผู้ชาย เพราะนอกจากผู้หญิงต้องทำงานนอกบ้านประกอบอาชีพเหมือนกับผู้ชายแล้วผู้หญิงยังต้องรับผิดชอบงานในบ้าน ทำกับข้าว เลี้ยงลูก จึงทำให้หญิงมีภาระงานมากกว่าผู้ชาย
  7. ถูกล่วงละเมิดทางเพศในที่ทำงาน ซึ่งทำให้เกิดการตั้งครรภ์ระหว่างดำรงตำแหน่ง
  8. ผู้หญิงส่วนใหญ่ต้องทำงานที่ไม่ใช่ทักษะความชำนาญและวิชาชีพขั้นสูง เนื่องจากถูกจำกัดเลือกปฏิบัติในการจ้างงานบางประเภท จึงทำให้ได้รับค่าแรงที่ไม่เป็นธรรมต่ำกว่าผู้ชาย
  9. การส่งเสริมความเสมอภาค หมายถึง การที่เพศชายและเพศหญิงมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงบทบาทของตนเองต่อสังคมได้อย่างเท่าเทียมกันแต่ต้องอยู่ภายในกรอบที่เหมาะสมของวัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญกับเรื่อง ความเสมอภาคทางเพศมากขึ้น โดยมองบทบาทเพศของชายและหญิงว่ามีระดับที่เท่าเทียมกัน
  10. การขัดเกลาบทบาทความสัมพันธ์หญิงชายในสังคมไทย กระบวนการทางสังคมวัฒนธรรมเป็นตัว “กำหนด” และ “คาดหวัง” ว่าบทบาทของหญิงและชาย ควรเป็นอย่างไร และกระทำให้เรากลายเป็นผู้หญิงหรือเป็นผู้ชายตามประเพณีนิยม โดยผ่านสถาบันต่างๆ ที่มีส่วนสร้างเสริมระบบคิด ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และ สื่อต่างๆ
  11. สถาบันครอบครัว  สถาบันครอบครัวที่ร่ำรวย ส่วนใหญ่พ่อและแม่จะมีเวลาเลี้ยงดูลูก แต่บางครอบครัวพ่อแม่เอาแต่ทำงานจนไม่มีเวลาจึงต้องใช้สิ่งของต่างๆแทน สถาบันครอบครัวที่ยากจน ส่วนใหญ่พ่อแม่จะไม่ค่อยมีเวลาให้เด็ก เพราะต้องออกไปทำมาหากิน บางครอบครัวก็มีการทะเลาะกัน เหตุมาจากการขาดแคลนเงิน
  12. สถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาที่ดี จะต้องเป็นสถาบันการศึกษาที่ให้ความสำคัญและเอาใจใส่นักเรียนมีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ สถานบันการศึกษาที่ไม่ดี เป็นสถาบันที่ไม่ให้ความสนใจแก่นักเรียน เช่น ให้นักเรียนเล่นโทรศัพท์ในคาบได้ ไม่มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบและไม่มีมาตรฐาน
  13. สื่อต่างๆ สื่อที่ดี คือ สื่อที่ดูแล้วมีประโยชน์ต่อตนเอง เป็นสื่อที่สามารถน้ำมาใช้ในชีวิตประจำได้ มีความสนุกสาน และเป็นสื่อที่เหมาะกับวัยของบุคคลนั้นๆ เช่น ใช้ในการเรียนการสอนได้ สื่อที่ไม่ดี คือ สื่อที่ไม่มีประโยชน์ หรือสื่อที่มีความล่อแหลม และไม่เหมาะกับวัยของบุคคลนั้นๆ
  14. การวางตัวต่อเพศตรงข้าม หมายถึง การที่ชายหรือหญิงประพฤติปฏิบัติต่อกัน เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกันในแบบเพื่อน แบบพี่น้อง หรือแบบคู่รักภายใต้สภาพแวดล้อมตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในสังคมนั้น ๆ นับว่ามีความสำคัญมากเพราะทำให้เรามีคุณค่า และผู้อื่นปฏิบัติต่อเราอย่างให้เกียรติ
  15. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามของฝ่ายชาย ควรแต่งกายเรียบร้อย สะอาด ถูกต้องตามกฎแบบรูปซ้าย ไม่ควรแต่งกายแบบรูปขวา
  16. ควรแสดงความห่วงใยแก่ผู้หญิงแบบรูปซาย ไม่ควรทำร้ายร่างกายผู้หญิงแบบรูปขวา
  17. ควรมีมารยาท มีกิริยา ที่สุภาพ นอบน้อมแบบรูปซ้าย ไม่ควรทำตัวหยาบคายไม่มีมารยาท โดยเฉพาะในที่สาธารณะ แบบรูปขวา
  18. ควรแต่งกายสุภาพ สะอาดเรียบร้อย รัดกุม เหมือนภาพด้านซ้ายมือ ไม่ควรแต่งตัวล่อแหลม นุ่งห่มน้อยชิ้นเหมือนภาพด้านขวามือเพราะจะดูไม่ดีและไม่เหมาะสมต่อกาลเทศะ
  19. ควรใช้วาจาที่สุภาพเหมาะสมพูดคุยกัน จะทำให้บรรยากาศรอบข้างแจ่มใสและมีรอยยิ้ม ไม่ควรใช้วาจาไม่เหมาะสมเพราะจะเป็นที่ระคายหูของผู้อื่นแบบรูปขวา
  20. ให้เกียรติผู้ชาย ให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม การให้เกียรติเป็นเรื่องที่ควรทำแก่ผู้ชาย ไม่ควรช่วยเหลือมากเกินไป ควรทำตามความเหมาะสมพอเป็นมารยาท ไม่ควรข่มเหง หรือไม่ให้เกียรติ์ผู้ชายดั่งภาพด้านขวา
  21. มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีน้ำใจเป็นเรื่องที่ดีเพราะเราจะมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีน้ำใจแก่กันแบบรูปซ้าย แต่ถ้าหากเราไม่แบ่งปันกันแบบรูปขวา นอกจากยังไม่ได้รับมิตรไมตรีจากอีกฝ่ายแล้ว ยังทำให้เราดูแล้งน้ำใจไม่มีใครคบ
  22. การขัดเกลาบทบาทความสัมพันธุ์หญิงชายในสังคม