SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

เรื่อง การใช้คาสั่งพื้นฐานในโปรแกรม MICROWORLDS PRO
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
       เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 2 เป็นต้นไป

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
       รู้จักชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มฐ-ง 4.1 (4)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
       1. รู้จักและสามารถเข้าใจในการใช้คาสั่งพื้นฐานของโปรแกรมภาษาโลโกได้
       2. รู้จักและสามารถเข้าใจหลักการใช้คาสั่งต่าง ๆ ในการสร้างภาพได้
       3. รู้จักและสามารถใช้คาสั่งในการเคลื่อนย้ายเต่าโลโกได้

สื่อ-อุปกรณ์
1.    ใบงาน
2.    กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการใช้คาสั่งพื้นฐานในโปรแกรม MICROWORLDS PRO
3.    อุปกรณ์การเรียน
      เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมการเรียนการสอน MICROWORLDS PRO


เวลาเรียน 4 คาบ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
        ในโปรแกรม MICROWORLDS PRO นี้จะมีสัญลักษณ์เป็นรูป                แทนเต่าโลโก
ในส่วนของ PAGE ที่ใช้วาดรูป ดังนั้นการที่จะให้เต่าโลโกวาดรูปต่าง ๆ เราจะต้องทาให้เต่านี้
เดินหรือหันไปในทิศทางหรือขนาดที่เราต้องการ
26

          การที่จะให้เต่าโลโกทางานได้นั้นผู้เรียนจะต้องใช้คาสั่งในการสั่ งงาน คาสั่งต่าง ๆ ที่ ใช้
นอกจากจะมีคาสั่งเต็มซึ่งสามารถใช้ได้แล้ว MICROWORLDS PRO ยังมีคาสั่งย่อไว้ให้ใช้สั่งงาน
จะได้ง่ายต่อการจดจาและใช้งาน ซึ่งในโปรแกรม MICROWORLDS PRO นี้ สาหรับการ
เคลื่อนย้ายเต่าในครั้งแรกที่เปิดใช้งานเต่าจะยกปากกาอยู่ หากต้ องการให้เต่าเคลื่อนย้ายและมีเส้น
ไปพร้อม ๆ กันให้ทาการวางปากกาก่อนหลังจากนั้นจึงใช้คาสั่งในการเคลื่อนย้ายเต่าได้ คาสั่งที่ใช้
สาหรับการวางปากกา คือ PD (PENDOWN) คาสั่งที่เป็นพื้นฐานในการสาหรับควบคุมการทางาน
ของเต่ามีดังต่อไปนี้

1. การใช้คาสั่งพื้นฐานในการเคลื่อนย้ายเต่า TURTLE


   FORWARD            คาสั่งย่อ [FD] เป็นคาสั่งที่ให้เคลื่อนเต่าไปข้างหน้า โดยจะต้องตามด้วยค่า
                                      ของระยะทางที่ต้องการให้เต่าเดินไป
                                      FORWARD_(ขนาดของหน่วย)  FORWARD 50
                                                                       หรือตัวย่อ FD 50
                                      ตัวอย่าง FD 50
                                                    FD 20
                                                    FD 10


ตัวอย่าง ให้ผู้เรียนทดลองหาระยะทางจากจุดกึ่งกลางจอภาพไปจนถึงจุดสูงสุดที่เต่าจะเดินได้
                   322 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS SMALL
                   426 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS STANDARD
                   480 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 640 X 480
                   600 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 800 X 600
27




   BACK    คาสั่งย่อ [BK] เป็นคาสั่งที่สั่งให้ เต่าเคลื่อนที่ไปข้างหลัง โดยจะต้อ ง
                           ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของระยะทางที่ต้องการให้เต่าเดิน
                           ไป
                           BACK _(ขนาดของหน่วย)  BACK 50
                                                   หรือตัวย่อ        BK 50
                           ตัวอย่าง BK 50
                                      BK 20
                                      BK 10

   RIGHT   คาสั่งย่อ [RT] เป็ น ค าสั่ ง ที่ สั่ ง ให้ เ ต่ า หมุ น ไปทางขวา โดยจะต้ อ ง
                           ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของทิศทางที่ต้องการให้เต่าหัน
                           RIGHT _(ขนาดองศา)  RIGHT 90
                                                     หรือตัวย่อ          RT 90
                           ตัวอย่าง FD 50
                                          RT 90
                                          FD 50
28

ตัวอย่าง ให้ผู้เรียนทดลองหาระยะทางจากจุดกึ่งกลางจอภาพไปทางขวาสุดที่เต่าจะเดินไปได้เป็น
ระยะทางเท่าไร
              592 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS SMALL
              750 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS STANDARD
              640 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 640 X 480
              800 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 800 X 600




   LEFT           คาสั่งย่อ [LT] เป็ น ค าสั่ ง ที่ สั่ ง ให้ เ ต่ า หมุ น ไปทางซ้ า ย โดยจะต้ อ ง
                                  ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของทิศทางที่ต้องการให้เต่าหัน
                                  LEFT _(ขนาดองศา)  LEFT 90
                                                      หรือตัวย่อ              LT 90
                                  ตัวอย่าง FD 50
                                                 LT 90
                                                 FD 50


   HOME                              เป็นคาสั่งที่ให้เต่าโลโกกลับมายังจุดเริ่มต้น
                                      จากตัวอย่าง รูปที่ 1 FD 50 สั่งให้เต่าเดินหน้า 50
                                                     รูปที่ 2 HOME ให้เต่ากลับมายัง
                                      จุดเริ่มต้น
29



          ข้อสังเกต หลังจากผู้เรียนเข้าสู่โปรแกรมไมโครเวิลด์แล้ว จะปรากฏตัวเต่าอยู่กลางจอภาพ
    ผู้เรียน สามารถวาดรูปเส้นตรงได้จากการใช้คาสั่ง PENUP และ PENDOWN ประกอบกับชุดคาสั่ง
    ในการเคลื่อนย้ายเต่าในทางเส้นตรงและการหมุนตัวของเต่า


    2. การใช้คาสั่งพื้นฐานในการล้างจอภาพ
          เมื่อผู้เรียนสามารถวาดรูปหรือขีดเส้นบนจอภาพได้แล้ว ผู้เรียนจะมีวิธีใดในการลบรูปหรือ
    ลบจอภาพที่ทาไปแล้วออก ในภาษาโลโกมีชุดคาสั่งในการลบจอภาพ และลบคาสั่งที่เขียนลงไป

     CG         เป็นคาสั่งที่ใช้ลบภาพออกจากหน่วยความจา พร้อมทั้งกลับไปยังจุดเริ่มต้น
                 เหมือนกับตอนเปิดโปรแกรมครั้งแรก

     CLEAN เป็นคาสั่งที่ใช้ในการลบภาพทั้งหมดใน PAGE แต่เต่าจะไม่
            กลับมายังจุดเริ่มต้น

                   ตัวอย่าง FD 80
                            LT 90
                            FD 80
                            CLEAN

    3. การใช้คาสั่งพื้นฐานเกียวกับหน้าจอ
                             ่


 SETBACKGROUND          คาสั่งย่อ [SETBG] เป็นคาสั่งที่กาหนดสีให้กับพื้นจอในส่วนของ PAGE มีสี
                                           ตั้งแต่ 0-9999 สี
                                           ตัวอย่าง SETSG _(ตัวเลขที่กาหนดสี)
                                                      SETSG 25 (สีพื้นจอจะเป็นสีส้ม)
30


  เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้


        ผู้สอนควรให้ผู้เรียนทดลองใช้คาว่า SETBG _ ตามด้วยตัวเลข 0 – 9999 แล้วสังเกต
         สีของหน้าจอที่เปลี่ยนไป ควรจะให้ผู้เรียนทดลอง 10 – 20 สี แล้วควรทดลองใช้
         MENU ในการเปลี่ยนสีของจอภาพอีกครั้ง

ในการเปลี่ยนสีพื้นจอ ผู้เรียนสามารถทาได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 ให้ผู้เรียนพิมพ์คาสั่ง SETBG _(ตัวเลขที่กาหนดสี) ในช่องศูนย์คาสั่ง
วิธีที่ 2 โดยการใช้ MOUSE คลิกที่ศูนย์คาสั่ง จากนั้นเลือกไอคอนกระป๋องสี จากนั้นเลือกสีและ
           นามาเทที่พื้นที่ทางาน

 SETCOLOR             คาสั่งย่อ [SETC] เป็นคาสั่งที่กาหนดสีให้กับปากกาที่ใช้ในการวาดรูป
                       มีสีตั้งแต่ 0-9999 สี วิธีใช้คาสั่งมีดังนี้

                                 ETC _(ตัวเลขที่กาหนดสี)
                                 SETC 40 (สีของรูปภาพที่เติมจะเป็นเหลืองอ่อน)

       ตัวอย่าง FD 50 RT 90 SETC 1
                FD 50 RT 90 SETC 2
                FD 50 RT 90 SETC 3
                FD 50 RT 90 SETC 4

4. การใช้คาสั่งที่เกิดกับปากกา
       การใช้คาสั่งพื้นฐานของเต่าในโปรแกรม MICROWORLDS PRO

 PENUP        คาสั่งย่อ [PU] เป็นการสั่งให้เต่ายกปากกา เมื่อเต่ายกปากกาแล้ว และสั่งให้เต่า
               เดินก็จะไม่มีเส้น
                                 ตัวอย่าง       PU FD 50
31

 PENDOWN คาสั่งย่อ [PD] เป็นการสั่งให้เต่าวางปากกาลงเมื่อสั่ง PD แล้วเวลาจะสั่ง
ให้เต่าเดินไปทางไหนก็จะปรากฏเส้นตามหางที่เต่าเดิน ส่วนใหญ่แล้วเราจะใช้คาสั่ง PD
หลังจากได้สั่ง PU ไปก่อนหน้านี้แล้ว
                                ตัวอย่าง FD 30
                                         PU
                                         FD 30
                                         PD
                                         FD 30

 HIDETURTLE          [HT] เป็นคาสั่งให้ซ่อนตัวเต่า ในกรณีที่ผู้เรียนสร้างภาพเสร็จแล้ว
                           เพื่อให้ดูสวยงาม



   SHOWTURTLE คาสั่งย่อ [ST] คาสั่งที่ให้แสดงตัวเต่าที่ซ่อนไว้
                              ตัวอย่าง FD 50
                                          HT
                                          ST
32


 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

         เมื่อผู้เรียนใช้คาสั่ง HT ในการซ่อนเต่าแล้ว ต้องการใช้โปรแกรมครั้ง ต่อไปให้ใช้คาสั่ง
ST เพื่อแสดงเต่าที่ซ่อนไว้ เพราะถ้าเราไม่ใช้คาสั่ง ST จะไม่สามารถทราบถึงตาแหน่งของเต่า



  SETPENSIZE          เป็นคาสั่งที่ใช้กาหนดขนาดของปากกาที่เต่าเดินไป เราสามารถเปลี่ยน
                       ขนาดของปากกาได้ 2 วิธี คือ

                       วิธีที่ 1 กาหนดขนาดปากกาโดยใช้คาสั่งในศูนย์คาสั่ง โดยจะกาหนด
                       เป็นตัวเลข 1 จานวน ซึ่งขนาดของปากกาจะเริ่มต้นที่ 1 ซึ่งเป็นขนาด
                       เส้นที่บางที่สุด และหนาที่สุดที่ขนาด 100 รูปแบบคาสั่งคือ
                       SETPENSIZE _(ขนาดของปากกา)
                                        SETPENSIZE 10
                       ตัวอย่าง SETPENSIZE 10
                                  FD 50

                       วิธีที่ 2 ใช้การเปลี่ยนขนาดเส้นโดยเลือกที่ศูนย์วาดภาพ จากนั้นคลิกที่
                       ขนาดเส้นที่ต้องการ แล้วนาเมาส์ไปคลิกที่ตัวเต่าบนพื้นที่วาดภาพ
33


    เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

             ในการเปลี่ยนขนาดปากกา ผู้เรียนสามารถทาได้ 2 วิธี คือ

วิธีที่ 1     ให้ผู้เรียนพิมพ์คาสั่ง SETPENSIZE 10 ในช่องศูนย์คาสั่ง
วิธีที่ 2     โดยการใช้ MOUSE คลิกที่ศูนย์วาดภาพแล้วเลือกขนาดของเส้น จากนั้นนาไปคลิกที่
               ตัวเต่า

5. การใช้คาสังพื้นฐานเกียวกับการกาหนดตาแหน่งของตัวเต่า
             ่          ่
ตัวอย่าง SETX -50


   SETX_                 เป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งของเต่าไปตามแกน X โดยจะต้องใส่ค่า
                          ของระยะทางตามคาสั่งนั้นด้วย      Y
                                                                  จุดเริ่มต้นของเต่า


                                                                     X




                          SETX _(ขนาดของแกน X)  SETX 50
                          ตัวอย่าง SETX 50
34




   SETY_   เป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งของเต่าไปตามแกน Y
            โดยจะต้องใส่ค่าของระยะทางตามคาสั่งนั้นด้วย
                                   Y
                                          จุดเริ่มต้นของเต่า

                                                  X



            SETY _(ขนาดของแกน Y)  SETY 50
            ตัวอย่าง SETY 50
35

ตัวอย่าง SETY –50




   เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้

       ในการใช้ ค าสั่ ง พื้ น ฐานในการก าหนดต าแหน่ ง ของเต่ า นั้ น ผู้ ส อนจะเห็ น ได้ ว่ า
        ตัวอย่างข้างต้นเมื่อเราใช้คาสั่ง SETX 100 แสดงว่าเต่าเดินตามแกน X ในแนวนอน
        100 เรียกว่าแกน X และใช้คาสั่ง SETY 100 แสดงว่าเต่าเดินตามแกน Y ในแนว
        ตรง 100 เรียกว่าแกน Y ดังรูป
36

   SETHEADING   คาสั่งย่อ [SETH] เป็นการกาหนดทิศทางให้กับหัวของเต่า ซึ่งวิธี
                                   การใช้คาสั่งจะต้องตามด้วยองศาที่จะให้เต่าหัน
                 ตัวอย่าง SETH _(ขนาดขององศา)  SETH 45




   REPEAT       เป็นคาสั่งที่สั่งให้โปรแกรมทาซ้า ๆ กัน เพื่อลดขั้นตอนการใช้คาสั่งลง
                 ซึ่งการใช้โปรแกรมนี้จะต้องใช้คาสั่งเป็นรูปแบบดังนี้
                 REPEAT N[ คาสั่ง ]
                 NOTE : N = จานวนครั้งที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางาน
                 คาสั่ง = เป็นคาสั่งที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางาน
37

ตัวอย่าง REPEAT 4[FD 60 RT 90] หมายถึง ให้เต่าเดินหน้า 90 หน่วย และหันขวา 90
         หน่วย 4 ครั้ง




 การเติมสีลงรูปทรงที่มีลักษณะปิด
      เมื่อผู้เรียนวาดรูปทรงที่มีลักษณะปิดเรียบร้อยแล้ว และต้องการเติมสีใส่ลงในรูปทรงนั้น
สามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
                  1. เปลี่ยนสีของปากกา
38

2. นาเต่าย้ายมาที่รูปทรงที่ต้องการเปลี่ยนสี โดยการคลิกเมาส์ที่เต่าแล้วลากมาไว้
   ยังรูปทรงนั้น




3. พิมพ์คาสั่ง FILL ในศูนย์คาสั่ง จะเห็นว่ารูปทรงจะเปลี่ยนสีตามต้องการ
39


 การใช้คาสั่งในการหยุดรอ
        ใช้สาหรับหยุดการปฏิบัติตามคาสั่งตามจานวนหน่วยเวลาที่กาหนด หน่วยเวลาในที่นี้
นับเป็นเศษหนึ่งส่วนสิบของวินาที รูปแบบของคาสั่ง คือ
        WAIT เวลา
เช่น WAIT 10

การวัดและการประเมินผล

        การสังเกต          ผู้สอนสังเกตจากปฏิกริยาโต้ตอบของผู้เรียน จากท่าทางของผู้เรียน ว่าถ้า
ผู้เรียนสนุกสนาน ตั้งใจและมีความสนใจการเรียนอย่างต่อเนื่อง แสดงว่าการเรียนรู้ของผู้ เรียน
เป็นไปได้ด้วยดี แต่ถ้าผู้เรียนไม่สนใจในการเรียนการสอนแสดงว่าผู้เรียนไม่เข้าใจ ผู้สอนควรจะ
สอบถามหรืออธิบายใหม่เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและอยากเรียนยิ่งขึ้น

        ภาคทฤษฎี         ผู้สอนควรจะทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาทั้งหมดที่เรียนไป
แล้วโดยการ
       - ทดสอบปากเปล่า
       - ทดสอบจากการที่ผู้สอนได้ทาแบบทดสอบขึ้น หลังจากจบเนื้อหาในบทเรียน
       - ทดสอบจากแบบฝึกหัดท้ายบทว่าผู้เรียนสามารถตอบถูกมากน้อยเพียงใด

        ภาคปฏิบัติ         สังเกตจากการปฏิบัติของผู้เรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนดให้ว่าสามารถ
ทาได้หรือไม่ถ้าผู้เรียนส่วนใหญ่ทาได้เกิน 60% ของจานวนผู้เรียนทั้งหมดสามารถปฏิบัตหรือตอบ
                                                                                     ิ
คาถามได้ถูกต้อง ถือว่าการเรียนการสอนนี้ประสบผลสาเร็จ แต่ถ้าต่ากว่า 40% ผู้สอนจะต้องทา
การสอนใหม่อีกครั้ง
40

Contenu connexe

Tendances

สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3Si Seng
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียboonyarat thungprasert
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ปุ่ม Keyboard
 ปุ่ม Keyboard ปุ่ม Keyboard
ปุ่ม Keyboardpavinee2515
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 

Tendances (20)

Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ปุ่ม Keyboard
 ปุ่ม Keyboard ปุ่ม Keyboard
ปุ่ม Keyboard
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 

En vedette

Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆLesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆErrorrrrr
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกErrorrrrr
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพErrorrrrr
 
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปร
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปรLesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปร
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปรErrorrrrr
 
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับโครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับPannathat Champakul
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1kao20082543
 
Dinah slide1
Dinah slide1Dinah slide1
Dinah slide1dat298
 
Limitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDLimitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDKrishnaSoc
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
Msw logo presentacion
Msw logo presentacionMsw logo presentacion
Msw logo presentacionEx-Plotation
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)Chainarong Maharak
 
4.programming
4.programming4.programming
4.programmingKru Botun
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบคุณครูสุนันทา เวียงใต้
 
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมLesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมErrorrrrr
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีSutthida0802
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 

En vedette (20)

Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆLesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 
Logo
LogoLogo
Logo
 
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปร
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปรLesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปร
Lesson 8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวแปร
 
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับโครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
Dinah slide1
Dinah slide1Dinah slide1
Dinah slide1
 
Coures Outline
Coures OutlineCoures Outline
Coures Outline
 
Limitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPDLimitless - Habits - GPD
Limitless - Habits - GPD
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
Msw logo presentacion
Msw logo presentacionMsw logo presentacion
Msw logo presentacion
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
4.programming
4.programming4.programming
4.programming
 
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ
 
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรมLesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
Lesson 9 ความสามารถของโปรแกรม
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี
 
Msw logo
Msw logoMsw logo
Msw logo
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 

Plus de Errorrrrr

Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางErrorrrrr
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความ
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความLesson 5 การสร้างกล่องข้อความ
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความErrorrrrr
 

Plus de Errorrrrr (16)

Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
Ex9
Ex9Ex9
Ex9
 
Ex8
Ex8Ex8
Ex8
 
Ex7
Ex7Ex7
Ex7
 
Ex6
Ex6Ex6
Ex6
 
Ex5
Ex5Ex5
Ex5
 
Ex4
Ex4Ex4
Ex4
 
Ex3
Ex3Ex3
Ex3
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
Ex1
Ex1Ex1
Ex1
 
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความ
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความLesson 5 การสร้างกล่องข้อความ
Lesson 5 การสร้างกล่องข้อความ
 

Lesson 2 การใช้คำสั่งพื้นฐานในโปรแกรม

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การใช้คาสั่งพื้นฐานในโปรแกรม MICROWORLDS PRO สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วงชั้นที่ 2 เป็นต้นไป มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น รู้จักชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มฐ-ง 4.1 (4) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. รู้จักและสามารถเข้าใจในการใช้คาสั่งพื้นฐานของโปรแกรมภาษาโลโกได้ 2. รู้จักและสามารถเข้าใจหลักการใช้คาสั่งต่าง ๆ ในการสร้างภาพได้ 3. รู้จักและสามารถใช้คาสั่งในการเคลื่อนย้ายเต่าโลโกได้ สื่อ-อุปกรณ์ 1. ใบงาน 2. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการใช้คาสั่งพื้นฐานในโปรแกรม MICROWORLDS PRO 3. อุปกรณ์การเรียน เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมการเรียนการสอน MICROWORLDS PRO เวลาเรียน 4 คาบ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ในโปรแกรม MICROWORLDS PRO นี้จะมีสัญลักษณ์เป็นรูป แทนเต่าโลโก ในส่วนของ PAGE ที่ใช้วาดรูป ดังนั้นการที่จะให้เต่าโลโกวาดรูปต่าง ๆ เราจะต้องทาให้เต่านี้ เดินหรือหันไปในทิศทางหรือขนาดที่เราต้องการ
  • 2. 26 การที่จะให้เต่าโลโกทางานได้นั้นผู้เรียนจะต้องใช้คาสั่งในการสั่ งงาน คาสั่งต่าง ๆ ที่ ใช้ นอกจากจะมีคาสั่งเต็มซึ่งสามารถใช้ได้แล้ว MICROWORLDS PRO ยังมีคาสั่งย่อไว้ให้ใช้สั่งงาน จะได้ง่ายต่อการจดจาและใช้งาน ซึ่งในโปรแกรม MICROWORLDS PRO นี้ สาหรับการ เคลื่อนย้ายเต่าในครั้งแรกที่เปิดใช้งานเต่าจะยกปากกาอยู่ หากต้ องการให้เต่าเคลื่อนย้ายและมีเส้น ไปพร้อม ๆ กันให้ทาการวางปากกาก่อนหลังจากนั้นจึงใช้คาสั่งในการเคลื่อนย้ายเต่าได้ คาสั่งที่ใช้ สาหรับการวางปากกา คือ PD (PENDOWN) คาสั่งที่เป็นพื้นฐานในการสาหรับควบคุมการทางาน ของเต่ามีดังต่อไปนี้ 1. การใช้คาสั่งพื้นฐานในการเคลื่อนย้ายเต่า TURTLE  FORWARD คาสั่งย่อ [FD] เป็นคาสั่งที่ให้เคลื่อนเต่าไปข้างหน้า โดยจะต้องตามด้วยค่า ของระยะทางที่ต้องการให้เต่าเดินไป FORWARD_(ขนาดของหน่วย)  FORWARD 50 หรือตัวย่อ FD 50 ตัวอย่าง FD 50 FD 20 FD 10 ตัวอย่าง ให้ผู้เรียนทดลองหาระยะทางจากจุดกึ่งกลางจอภาพไปจนถึงจุดสูงสุดที่เต่าจะเดินได้ 322 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS SMALL 426 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS STANDARD 480 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 640 X 480 600 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 800 X 600
  • 3. 27  BACK คาสั่งย่อ [BK] เป็นคาสั่งที่สั่งให้ เต่าเคลื่อนที่ไปข้างหลัง โดยจะต้อ ง ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของระยะทางที่ต้องการให้เต่าเดิน ไป BACK _(ขนาดของหน่วย)  BACK 50 หรือตัวย่อ BK 50 ตัวอย่าง BK 50 BK 20 BK 10  RIGHT คาสั่งย่อ [RT] เป็ น ค าสั่ ง ที่ สั่ ง ให้ เ ต่ า หมุ น ไปทางขวา โดยจะต้ อ ง ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของทิศทางที่ต้องการให้เต่าหัน RIGHT _(ขนาดองศา)  RIGHT 90 หรือตัวย่อ RT 90 ตัวอย่าง FD 50 RT 90 FD 50
  • 4. 28 ตัวอย่าง ให้ผู้เรียนทดลองหาระยะทางจากจุดกึ่งกลางจอภาพไปทางขวาสุดที่เต่าจะเดินไปได้เป็น ระยะทางเท่าไร 592 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS SMALL 750 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ MICROWORLDS STANDARD 640 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 640 X 480 800 ถ้าเลือก NEW PROJECT แบบ FULL SCREEN 800 X 600  LEFT คาสั่งย่อ [LT] เป็ น ค าสั่ ง ที่ สั่ ง ให้ เ ต่ า หมุ น ไปทางซ้ า ย โดยจะต้ อ ง ตามหลังคาสั่งด้วยค่าของทิศทางที่ต้องการให้เต่าหัน LEFT _(ขนาดองศา)  LEFT 90 หรือตัวย่อ LT 90 ตัวอย่าง FD 50 LT 90 FD 50  HOME เป็นคาสั่งที่ให้เต่าโลโกกลับมายังจุดเริ่มต้น จากตัวอย่าง รูปที่ 1 FD 50 สั่งให้เต่าเดินหน้า 50 รูปที่ 2 HOME ให้เต่ากลับมายัง จุดเริ่มต้น
  • 5. 29  ข้อสังเกต หลังจากผู้เรียนเข้าสู่โปรแกรมไมโครเวิลด์แล้ว จะปรากฏตัวเต่าอยู่กลางจอภาพ ผู้เรียน สามารถวาดรูปเส้นตรงได้จากการใช้คาสั่ง PENUP และ PENDOWN ประกอบกับชุดคาสั่ง ในการเคลื่อนย้ายเต่าในทางเส้นตรงและการหมุนตัวของเต่า 2. การใช้คาสั่งพื้นฐานในการล้างจอภาพ เมื่อผู้เรียนสามารถวาดรูปหรือขีดเส้นบนจอภาพได้แล้ว ผู้เรียนจะมีวิธีใดในการลบรูปหรือ ลบจอภาพที่ทาไปแล้วออก ในภาษาโลโกมีชุดคาสั่งในการลบจอภาพ และลบคาสั่งที่เขียนลงไป  CG เป็นคาสั่งที่ใช้ลบภาพออกจากหน่วยความจา พร้อมทั้งกลับไปยังจุดเริ่มต้น เหมือนกับตอนเปิดโปรแกรมครั้งแรก  CLEAN เป็นคาสั่งที่ใช้ในการลบภาพทั้งหมดใน PAGE แต่เต่าจะไม่ กลับมายังจุดเริ่มต้น ตัวอย่าง FD 80 LT 90 FD 80 CLEAN 3. การใช้คาสั่งพื้นฐานเกียวกับหน้าจอ ่  SETBACKGROUND คาสั่งย่อ [SETBG] เป็นคาสั่งที่กาหนดสีให้กับพื้นจอในส่วนของ PAGE มีสี ตั้งแต่ 0-9999 สี ตัวอย่าง SETSG _(ตัวเลขที่กาหนดสี) SETSG 25 (สีพื้นจอจะเป็นสีส้ม)
  • 6. 30 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ผู้สอนควรให้ผู้เรียนทดลองใช้คาว่า SETBG _ ตามด้วยตัวเลข 0 – 9999 แล้วสังเกต สีของหน้าจอที่เปลี่ยนไป ควรจะให้ผู้เรียนทดลอง 10 – 20 สี แล้วควรทดลองใช้ MENU ในการเปลี่ยนสีของจอภาพอีกครั้ง ในการเปลี่ยนสีพื้นจอ ผู้เรียนสามารถทาได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ให้ผู้เรียนพิมพ์คาสั่ง SETBG _(ตัวเลขที่กาหนดสี) ในช่องศูนย์คาสั่ง วิธีที่ 2 โดยการใช้ MOUSE คลิกที่ศูนย์คาสั่ง จากนั้นเลือกไอคอนกระป๋องสี จากนั้นเลือกสีและ นามาเทที่พื้นที่ทางาน  SETCOLOR คาสั่งย่อ [SETC] เป็นคาสั่งที่กาหนดสีให้กับปากกาที่ใช้ในการวาดรูป มีสีตั้งแต่ 0-9999 สี วิธีใช้คาสั่งมีดังนี้ ETC _(ตัวเลขที่กาหนดสี) SETC 40 (สีของรูปภาพที่เติมจะเป็นเหลืองอ่อน) ตัวอย่าง FD 50 RT 90 SETC 1 FD 50 RT 90 SETC 2 FD 50 RT 90 SETC 3 FD 50 RT 90 SETC 4 4. การใช้คาสั่งที่เกิดกับปากกา การใช้คาสั่งพื้นฐานของเต่าในโปรแกรม MICROWORLDS PRO  PENUP คาสั่งย่อ [PU] เป็นการสั่งให้เต่ายกปากกา เมื่อเต่ายกปากกาแล้ว และสั่งให้เต่า เดินก็จะไม่มีเส้น ตัวอย่าง PU FD 50
  • 7. 31  PENDOWN คาสั่งย่อ [PD] เป็นการสั่งให้เต่าวางปากกาลงเมื่อสั่ง PD แล้วเวลาจะสั่ง ให้เต่าเดินไปทางไหนก็จะปรากฏเส้นตามหางที่เต่าเดิน ส่วนใหญ่แล้วเราจะใช้คาสั่ง PD หลังจากได้สั่ง PU ไปก่อนหน้านี้แล้ว ตัวอย่าง FD 30 PU FD 30 PD FD 30  HIDETURTLE [HT] เป็นคาสั่งให้ซ่อนตัวเต่า ในกรณีที่ผู้เรียนสร้างภาพเสร็จแล้ว เพื่อให้ดูสวยงาม  SHOWTURTLE คาสั่งย่อ [ST] คาสั่งที่ให้แสดงตัวเต่าที่ซ่อนไว้ ตัวอย่าง FD 50 HT ST
  • 8. 32 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนใช้คาสั่ง HT ในการซ่อนเต่าแล้ว ต้องการใช้โปรแกรมครั้ง ต่อไปให้ใช้คาสั่ง ST เพื่อแสดงเต่าที่ซ่อนไว้ เพราะถ้าเราไม่ใช้คาสั่ง ST จะไม่สามารถทราบถึงตาแหน่งของเต่า  SETPENSIZE เป็นคาสั่งที่ใช้กาหนดขนาดของปากกาที่เต่าเดินไป เราสามารถเปลี่ยน ขนาดของปากกาได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 กาหนดขนาดปากกาโดยใช้คาสั่งในศูนย์คาสั่ง โดยจะกาหนด เป็นตัวเลข 1 จานวน ซึ่งขนาดของปากกาจะเริ่มต้นที่ 1 ซึ่งเป็นขนาด เส้นที่บางที่สุด และหนาที่สุดที่ขนาด 100 รูปแบบคาสั่งคือ SETPENSIZE _(ขนาดของปากกา)  SETPENSIZE 10 ตัวอย่าง SETPENSIZE 10 FD 50 วิธีที่ 2 ใช้การเปลี่ยนขนาดเส้นโดยเลือกที่ศูนย์วาดภาพ จากนั้นคลิกที่ ขนาดเส้นที่ต้องการ แล้วนาเมาส์ไปคลิกที่ตัวเต่าบนพื้นที่วาดภาพ
  • 9. 33 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ในการเปลี่ยนขนาดปากกา ผู้เรียนสามารถทาได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ให้ผู้เรียนพิมพ์คาสั่ง SETPENSIZE 10 ในช่องศูนย์คาสั่ง วิธีที่ 2 โดยการใช้ MOUSE คลิกที่ศูนย์วาดภาพแล้วเลือกขนาดของเส้น จากนั้นนาไปคลิกที่ ตัวเต่า 5. การใช้คาสังพื้นฐานเกียวกับการกาหนดตาแหน่งของตัวเต่า ่ ่ ตัวอย่าง SETX -50  SETX_ เป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งของเต่าไปตามแกน X โดยจะต้องใส่ค่า ของระยะทางตามคาสั่งนั้นด้วย Y จุดเริ่มต้นของเต่า X SETX _(ขนาดของแกน X)  SETX 50 ตัวอย่าง SETX 50
  • 10. 34  SETY_ เป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งของเต่าไปตามแกน Y โดยจะต้องใส่ค่าของระยะทางตามคาสั่งนั้นด้วย Y จุดเริ่มต้นของเต่า X SETY _(ขนาดของแกน Y)  SETY 50 ตัวอย่าง SETY 50
  • 11. 35 ตัวอย่าง SETY –50 เทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรู้  ในการใช้ ค าสั่ ง พื้ น ฐานในการก าหนดต าแหน่ ง ของเต่ า นั้ น ผู้ ส อนจะเห็ น ได้ ว่ า ตัวอย่างข้างต้นเมื่อเราใช้คาสั่ง SETX 100 แสดงว่าเต่าเดินตามแกน X ในแนวนอน 100 เรียกว่าแกน X และใช้คาสั่ง SETY 100 แสดงว่าเต่าเดินตามแกน Y ในแนว ตรง 100 เรียกว่าแกน Y ดังรูป
  • 12. 36  SETHEADING คาสั่งย่อ [SETH] เป็นการกาหนดทิศทางให้กับหัวของเต่า ซึ่งวิธี การใช้คาสั่งจะต้องตามด้วยองศาที่จะให้เต่าหัน ตัวอย่าง SETH _(ขนาดขององศา)  SETH 45  REPEAT เป็นคาสั่งที่สั่งให้โปรแกรมทาซ้า ๆ กัน เพื่อลดขั้นตอนการใช้คาสั่งลง ซึ่งการใช้โปรแกรมนี้จะต้องใช้คาสั่งเป็นรูปแบบดังนี้ REPEAT N[ คาสั่ง ] NOTE : N = จานวนครั้งที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางาน คาสั่ง = เป็นคาสั่งที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางาน
  • 13. 37 ตัวอย่าง REPEAT 4[FD 60 RT 90] หมายถึง ให้เต่าเดินหน้า 90 หน่วย และหันขวา 90 หน่วย 4 ครั้ง  การเติมสีลงรูปทรงที่มีลักษณะปิด เมื่อผู้เรียนวาดรูปทรงที่มีลักษณะปิดเรียบร้อยแล้ว และต้องการเติมสีใส่ลงในรูปทรงนั้น สามารถทาได้ตามขั้นตอนดังนี้ 1. เปลี่ยนสีของปากกา
  • 14. 38 2. นาเต่าย้ายมาที่รูปทรงที่ต้องการเปลี่ยนสี โดยการคลิกเมาส์ที่เต่าแล้วลากมาไว้ ยังรูปทรงนั้น 3. พิมพ์คาสั่ง FILL ในศูนย์คาสั่ง จะเห็นว่ารูปทรงจะเปลี่ยนสีตามต้องการ
  • 15. 39  การใช้คาสั่งในการหยุดรอ ใช้สาหรับหยุดการปฏิบัติตามคาสั่งตามจานวนหน่วยเวลาที่กาหนด หน่วยเวลาในที่นี้ นับเป็นเศษหนึ่งส่วนสิบของวินาที รูปแบบของคาสั่ง คือ WAIT เวลา เช่น WAIT 10 การวัดและการประเมินผล การสังเกต ผู้สอนสังเกตจากปฏิกริยาโต้ตอบของผู้เรียน จากท่าทางของผู้เรียน ว่าถ้า ผู้เรียนสนุกสนาน ตั้งใจและมีความสนใจการเรียนอย่างต่อเนื่อง แสดงว่าการเรียนรู้ของผู้ เรียน เป็นไปได้ด้วยดี แต่ถ้าผู้เรียนไม่สนใจในการเรียนการสอนแสดงว่าผู้เรียนไม่เข้าใจ ผู้สอนควรจะ สอบถามหรืออธิบายใหม่เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและอยากเรียนยิ่งขึ้น ภาคทฤษฎี ผู้สอนควรจะทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาทั้งหมดที่เรียนไป แล้วโดยการ - ทดสอบปากเปล่า - ทดสอบจากการที่ผู้สอนได้ทาแบบทดสอบขึ้น หลังจากจบเนื้อหาในบทเรียน - ทดสอบจากแบบฝึกหัดท้ายบทว่าผู้เรียนสามารถตอบถูกมากน้อยเพียงใด ภาคปฏิบัติ สังเกตจากการปฏิบัติของผู้เรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนดให้ว่าสามารถ ทาได้หรือไม่ถ้าผู้เรียนส่วนใหญ่ทาได้เกิน 60% ของจานวนผู้เรียนทั้งหมดสามารถปฏิบัตหรือตอบ ิ คาถามได้ถูกต้อง ถือว่าการเรียนการสอนนี้ประสบผลสาเร็จ แต่ถ้าต่ากว่า 40% ผู้สอนจะต้องทา การสอนใหม่อีกครั้ง
  • 16. 40