SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
The Future of Urban Development Initiative:
Dalian and Zhangjiakou Champion City Strategy
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมืองศูนย์
ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
ชื่อเรื่อง
| 2
The Future of Urban Development Initiative:
Dalian and Zhangjiakou Champion City Strategy
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
The Future of Urban Development (FUD) และการคัดเลือกเมืองต้นแบบการพัฒนา
The Future of Urban Development (FUD) เป็นคณะทางานภายใต้ World Economic Forum
(WEF) ซึ่งทาหน้าที่เป็นเสมือนหุ้นส่วนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาของเมืองทั่วโลกโดยผ่านการกระตุ้นให้
เมืองต่างๆ เข้าใจถึงความท้าทายอันหลากหลายที่ต้องเผชิญ โดยเป้าหมายของ FUD คือการสร้าง
นวัตกรรมที่ทุกเมืองสามารถเข้าถึงและนาไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการได้
กิจกรรมหนึ่งของ FUD ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความตื่นตัวในการพัฒนาเมืองต่างๆ คือการเฟ้นหา
เมืองที่ดีที่สุดซึ่งเป็นต้นแบบเมืองที่ประสบความสาเร็จด้านการพัฒนา ซึ่งในปีค.ศ.2014 เมืองที่ชนะการ
คัดเลือกดังกล่าวได้แก่ เมืองต้าเหลียน และเมืองจางเจียโขว่ ของประเทศจีน เมืองทั้งสองต่างก็มี
เอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตัวเอง แต่มีจุดร่วมเหมือนกันตรงที่เป็นตัวอย่างของเมืองที่สามารถริเริ่มสร้าง
นวัตกรรมเพื่อนามาสู่ทางออกในการจัดการปัญหาที่เมืองของตนเองต้องเผชิญได้อย่างเหมาะสม
ตลอดจนยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาให้กับเมืองอื่นๆ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
ข้อมูลพื้นฐานของเมืองที่ได้รับรางวัลเมืองต้นแบบการพัฒนา
 เมืองต้าเหลียน
ต้าเหลียนเป็นเมืองซึ่งเป็นเสมือนประตูสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนและยังเป็นเมืองที่มี
ศักยภาพด้านเศรษฐกิจสูงอันดับต้นๆ ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ของการเป็นระเบียง
เชื่อมระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกและประเทศอื่นทั่วโลกนี่เอง
ทาให้เมืองต้าเหลียนกลายเป็นท่าเทียบเรือที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 5 ของจีนซึ่งมีการไหวเวียนของระบบ
ขนส่งสินค้าในระดับสูง นอกจากนี้เมืองต้าเหลียนยังมีการตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจและนิคมอุตสาหกรรม
อีก 5 แห่งเพื่อรองรับการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ ตลอดทั้งยังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
ระบบข้อมูลข่าวสารไปในเวลาเดียวกันด้วย โดยยุทธศาตร์ที่เมืองต้าเหลียนยึดเป็นหลักในการพัฒนาคือ
ชื่อเรื่อง
| 3
Source: Dalian Bureau of Statistics
“all region urbanization” กล่าวคือ เป็นการทาให้ทั่วทุกภูมิภาคก้าวสู่ความเป็นเมืองที่ทันสมัยด้วยการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดแบบองค์รวมเพื่อสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของพื้นที่เมือง
ชนบท และพื้นที่อุตสาหกรรม รวมทั้งพัฒนาเมืองที่จะเป็นศูนย์กลางด้านการดูแลความเป็นอยู่และสร้าง
คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
พื้นที่ (สุทธิ) 12,574 ตารางกิโลเมตร
พื้นที่ (ศูนย์กลางเมือง) 2,415 ตารางกิโลเมตร
ประชากร 6.85 ล้านคน
GDP (ปีค.ศ.2012) 700.3 พันล้านหยวน
GDP (ที่เพิ่มขึ้นระหว่างปีค.ศ.2011-2012) 10.3%
GDP (per capita ปีค.ศ.2012) 102,000 หยวน
 เมืองจางเจียโขว่
เมื่อเปรียบเทียบกัน แม้เมืองจางเจียโขว่จะมีพื้นมากกว่าเมืองต้าเหลียนถึง 3 เท่า แต่กลับมี
ประชากรเพียง 2 ใน 3 อีกทั้งยังมีผลผลิตมวลรวม(GDP) ในแต่ละปีเพียง 1 ใน 5 ของเมืองต้าเหลียน
เท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจากจางเจียโขว่เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่เน้นเฉพาะการขุดเจาะทรัพยากรและ
อุตสาหกรรมหนักเป็นหลัก เช่น ถ่านหิน เหล็ก ซีเมนต์ กระดาษ ฯลฯ ซึ่งอุตสาหกรรมเหล่านี้กาลังเผชิญ
ความท้าทายเพราะทรัพยากรในเหมืองค่อยๆ หมดลงและอุตสาหกรรมหนักยังส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่เมืองจางเจียโขว่จะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ
ในการสร้างรายได้และพัฒนาเมืองเพื่อทดแทนอุตสาหกรรมแบบเดิม โดยทรัพยากรอีกชนิดหนึ่งที่เมือง
จางเจียโขว่มีอยู่มหาศาลคือพลังงานลม ซึ่งสามารถนาไปผลิตเป็นพลังงานได้จานวนมาก โดย
อุตสาหกรรมพลังงานลมดังกล่าวได้กลายมาเป็นภาคส่วนที่โดดเด่นมากในปีค.ศ.2013 และใน
ขณะเดียวกันก็ยังเริ่มมีการพัฒนาภาคเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการท่องเที่ยว ซึ่งเดิมเมืองจางเจียโขว่มี
สถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามอยู่แล้วด้วย นอกจากนี้ ปลายปีค.ศ.2013 ที่ผ่านมา เมืองจางเจียโขว่ยังได้รับ
เลือกจากรัฐบาลให้เป็นเมืองสาหรับจัดแข่งขันกีฬากลางแจ้งในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ค.ศ.2022 อีกด้วย
การสนับสนุนจากส่วนกลางนี้จะนามาสู่โอกาสสาหรับเมืองจางเจียโขว่ที่จะยกระดับการพัฒนาเมืองไปสู่
การเป็นเมืองต้นแบบของการเปลี่ยนผ่านที่มั่นคงและยั่งยืนสาหรับเมืองอื่นของจีนต่อไป
ชื่อเรื่อง
| 4
Source: Zhangjiakou Bureau of Statistics
พื้นที่ (สุทธิ) 36,680 ตารางกิโลเมตร
ประชากร 4.60 ล้านคน
GDP (ปีค.ศ.2012) 123 พันล้านหยวน
GDP (per capita ปีค.ศ.2012) 27,000 หยวน
ชื่อเรื่อง
| 5
แนวโน้มและลาดับความสาคัญของการพัฒนาเมืองในประเทศจีน
ปีค.ศ.2013 ถือเป็นปีสาคัญสาหรับการพัฒนาเมืองในประเทศจีน เนื่องจากสิ้นปีค.ศ.2013 พบว่า
ประชากรจีนมากกว่า 50% หรือกว่า 730 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเมือง โดยทั่วทั้งประเทศจีนมีเมืองขนาด
ใหญ่ซึ่งมีประชากรมากกว่า 10 ล้านคนอยู่ด้วยกัน 6 เมือง และมีอีก 103 เมืองที่มีประชากรมากกว่า 1
ล้านคน ข้อมูลด้านประชากรดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าเมืองในจีนกาลังขยายตัวสู่ความเป็นเมืองใหญ่
อย่างต่อเนื่องประมาณ 1% ต่อปี ซึ่งผลที่ตามมาจากการเติบโตดังกล่าวนั้นมีหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็นใน
แง่การนามาซึ่งโอกาสในชีวิตของคนเมือง การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ แต่ในขณะเดียวกันก็นามา
สู่ความท้าทายในเรื่องการจัดการทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน
การเติบโตที่ก้าวกระโดดในช่วงเวลาไม่กี่สิบปีจนทาให้จีนกลายเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจ
ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกในปีค.ศ.2012 นับเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เมืองต่างๆ พัฒนาสู่ความทันสมัย
และดึงดูดประชากรเข้ามามากขึ้น แต่ผลกระทบที่ตามมาจากความเจริญของเมืองอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง
ได้ก็มีอยู่หลายประการ อาทิ ความต้องการโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอและมีคุณภาพ ปัญหาการจราจร
และราคาที่อยู่อาศัยที่เพิ่มสูงขึ้น เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็นภารกิจสาคัญสาหรับรัฐบาลที่ต้องสร้าง
สมดุลให้การพัฒนาเมืองเกิดขึ้นควบคู่กับความยั่งยืนทั้งในด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต
ของประชาชน และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยขอบข่ายที่เมืองซึ่งได้รับรางวัลทั้งสองเมือง
รวมถึงเมืองอื่นๆ ต้องริเริ่มดาเนินการเพื่อรองรับการพัฒนา แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1. การวางแผนและการจัดการระบบขนส่ง
2. การจัดการพลังงานในเมือง
3. การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน
ทั้งนี้ การดาเนินการภายใต้ขอบข่ายดังกล่าวได้ถูกบรรจุไว้ในส่วนหนึ่งของ National New-type
Urbanization Plan (2014 – 2020) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาเมืองระดับชาติของจีน โดยในอนาคตเมือง
ต้าเหลียนและจางเจียโขว่จะถูกใช้เป็นเมืองต้นแบบที่พัฒนาตามแนวทางดังกล่าว
ชื่อเรื่อง
| 6
ขอบข่ายการพัฒนาเมืองสาหรับต้าเหลียนและจางเจียโขว่
เมือง การวางแผนและการจัดการ
ระบบขนส่ง
การจัดการพลังงานในเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรม
อย่างยั่งยืน
ต้าเหลียน 1. จากัดการขยายตัวของเมือง
อย่างไร้ขอบเขต
2. ปรับปรุงระบบขนส่งสาธารณะ
3. ลดการพึ่งพารถยนต์
1. เพิ่มระดับการใช้ก๊าซธรรมชาติ
2. แสวงหาแนวทางการพัฒนา
พลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะ
พลังงานลมนอกชายฝั่งทะเล
3. สนับสนุนการแก้ปัญหาด้าน
ปิโตรเคมี
4. ปรับปรุงให้เกิดการใช้พลังงาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรมเดิมที่มีจุดแข็ง
2. ส่งเสริมภาคบริการและการ
สร้างมูลค่าเพิ่มในอุตสาหกรรม
3. สร้างห่วงโซ่คุณค่าในภาค
อุตสาหกรรม
จางเจียโขว่ 1. แก้ปัญหาความแออัดของการ
จราจรระหว่างเมืองโดยเฉพาะ
ทางด่วนสู่ปักกิ่ง
2. แก้ปัญหาความแออัดของการ
จราจรระหว่างเมืองโดยเฉพาะ
ระหว่างศูนย์กลางของเมืองกับ
กลุ่มเมืองเกิดใหม่ 2 กลุ่ม
3. ปรับปรุงการพัฒนาระบบขนส่ง
สาธารณะ
4. แก้ไขความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
ระหว่างการขนส่งกับการพัฒนา
ที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์
1. เพิ่มขีดความสามารถในการ
ถ่ายทอดการสร้างพลังงาน
โดยเฉพาะพลังงานลม
2. วางแผนการใช้พลังงานในเมือง
อย่างเหมาะสมทั้งด้าน
ประสิทธิภาพและการหลีกเลี่ยงการ
ใช้อย่างไม่เกิดประโยชน์
1. เพิ่มจานวนอุตสาหกรรมเกิด
ใหม่ เช่น อุตสาหกรรมการผลิต
ที่เน้นมูลค่าเพิ่ม อาหารที่มี
คุณภาพสูง เกษตรกรรม และ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
2. สนับสนุนอุตสาหกรรมที่ช่วย
ส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่นและ
การพัฒนาสังคม
3. ดึงดูดทรัพยากรมนุษย์ที่มี
ศักยภาพเข้ามาทางาน
ชื่อเรื่อง
| 7
บนพื้นฐานของขอบข่ายสาหรับการพัฒนาเมืองทั้ง 3 ด้านที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น เป็นที่
ตระหนักดีว่ามีประเด็นต่างๆ มากมายที่ต้องจัดการภายใต้ขอบข่ายการพัฒนาเมืองด้วยเวลาและ
ทรัพยากรที่มีอย่างจากัด จึงจาเป็นที่ฝ่ายบริหารจะต้องจัดลาดับความสาคัญของปัญหา เพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาที่ถูกต้อง ทั้งนี้ FUD จึงได้กาหนดข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์สาหรับทั้งเมืองต้าเหลียนและ
จางเจียโขว่เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
จุดเน้น (Key Issue) ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์
ต้าเหลียน ความแออัดของการจราจร(ถนน
อิ่มตัว)
- พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งที่ชาญฉลาด(ITS) เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการจราจรภายในเมือง
- สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะผ่านนโยบายการให้สิทธิพิเศษ
- ไม่ส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ในช่วงเวลาเร่งด่วน
- สร้างกลไกทางสถาบันที่เหมาะสม
ความมั่นคงด้านการจัดหา
พลังงานถ่านหิน
- ภาคอุปทาน: เพิ่มอัตราการใช้ก๊าซธรรมชาติและพลังงานทดแทน
- ภาคอุปสงค์: พัฒนาสมรรถนะการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะในภาคส่วนปิโตรเคมี
การขาดศักยภาพของภาคส่วน
เทคโนโลยี
เกิดใหม่
- สร้างห่วงโซ่แห่งคุณค่าที่สมบูรณ์ผ่านโครงสร้างการตลาดที่มี
ประสิทธิภาพ
- ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ผ่านการ
สร้างนวัตกรรม
จางเจียโขว่ ความแออัดของการจราจร(การ
ขนส่งระหว่างเมืองท่าเทียบเรือ
กับเมืองปักกิ่ง)
- พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งที่ชาญฉลาด(ITS) เพื่อ
สร้างการจราจรบนทางหลวงที่มีประสิทธิภาพ
- สร้างนวัตกรรมกลไกทางการเงินสาหรับการสร้างทางด่วน
- พัฒนาระบบขนส่งหลากหลายช่องทาง
- สร้างระบบขนส่งที่เหมาะสม
- เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิเคราะห์และการควบคุมระบบขนส่ง
การบูรณาการการใช้พลังงาน
ลมในระดับท้องถิ่นและระหว่าง
ภูมิภาค
- หลีกเลี่ยงการพัฒนาที่ผิดทิศทางโดยการออกแบบนโยบายเชิงกล
ยุทธ์ที่เหมาะสม
- ร่วมมือกับเมืองต่างๆ เพื่อส่งผ่านกระแสไฟฟ้า
- แสวงหาโอกาสเพื่อเพิ่มอัตราการใช้พลังงานลม
การมุ่งสู่เป้าหมายที่ยั่งยืน
สาหรับการเป็นเจ้าภาพ
โอลิมปิกฤดูหนาว
- สร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเมือง
- ให้ความสาคัญกับภาคส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
- ให้ความรู้เรื่องความยั่งยืนแก่ประชาชนในชนบทผ่านเทคโนโลยีการ
สื่อสารที่ง่ายต่อการเข้าถึง
ชื่อเรื่อง
| 8
ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์สาหรับเมืองต้าเหลียน
1. ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาความแออัดของการจราจร(ถนนอิ่มตัว)
 พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งและการจราจรอัจฉริย(ITS) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การจราจรภายในเมือง
เมืองต้าเหลียนมีระบบเครือข่ายถนนที่ค่อนข้างซับซ้อน การวิเคราะห์และสร้างแบบจาลองที่
เหมาะสมจึงควรถูกนามาใช้เพื่อประเมินและหลีกเลี่ยงการขยายถนนในเมืองอย่างไร้ขอบเขต
นอกจากนี้ยังควรใช้ Electronic Road Pricing (ERP) หรือระบบเก็บเงินอัตโนมัติบนท้องถนนโดย
ที่รถยนต์ไม่ต้องจอดจ่ายเงินเพื่ออานวยความสะดวกรวดเร็วให้แก่ผู้ใช้รถในช่วงเวลาเร่งด่วน ซึ่ง
รายได้จาก ERP จะถูกนามาใช้เพื่อพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้มีคุณภาพ และสร้างแรงจูงใจ
ให้คนเปลี่ยนมาใช้บริการรถสาธารณะมากขึ้นในอนาคต
 สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะผ่านนโยบายการให้สิทธิพิเศษ
ใช้วิธีเปลี่ยนจากรูปแบบการแข่งขันมาสู่ความร่วมมือและประสานผลประโยชน์กันระหว่างระบบ
ขนส่งสาธารณะประเภทต่างๆ ตลอดทั้งต้องให้มีรูปแบบที่ยืดหยุ่นและเชื่อมโยงหลากหลายขึ้น
อาทิ รถมินิบัสที่มีเส้นทางเชื่อมกับรถไฟฟ้าใต้ดิน รวมถึงเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวกในรถโดยสาร
สาธารณะ เช่น Wi-Fi ระบบการจ่ายเงินที่ทันสมัย ฯลฯ
 ไม่ส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ในช่วงเวลาเร่งด่วน
ควรมีการควบคุมจานวนรถโดยเพิ่มราคาค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ส่วนตัว อาทิ การเก็บ
ภาษีแก๊สโซลีน ภาษีที่จอดรถ เป็นต้น ในเวลาเดียวกันก็ควรส่งเสริมให้ประชาชนใช้รถส่วนตัวให้
เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการเดินทางครั้งละหลายๆคนในเส้นทางเดียวกัน
 สร้างกลไกทางสถาบันที่เหมาะสม
ควรนาแนวคิดการจัดการแบบองค์รวมมาใช้ในการจัดการปัญหาการจราจรโดยอาศัยการ
ประสานงานจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มิใช่จัดการแบบแยกส่วน
2. ข้อเสนอเพื่อสร้างความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงานถ่านหิน
 ภาคอุปทาน: เพิ่มอัตราการใช้ก๊าซธรรมชาติและพลังงานทดแทน
ต้าเหลียนเป็นเมืองที่มีศักยภาพในการเข้าถึงก๊าซธรรมชาติผ่านท่อส่งจีน-รัสเซีย แต่การนาไปใช้
ประโยชน์ในปัจจุบันยังอยู่ในระดับจากัดและยังไม่ทั่วถึงในระดับครัวเรือน ดังนั้นเครื่องมือด้าน
การตลาดจึงต้องถูกนามาใช้เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติให้มากขึ้น นอกจากนั้นยังต้อง
ชื่อเรื่อง
| 9
เริ่มแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียนเพิ่มเติม เช่น พลังงานลมบริเวณชายฝั่งทะเล เพื่อนามา
พัฒนาและรองรับความต้องการพลังงานของเมืองในระยะกลางและระยะยาว
 ภาคอุปสงค์: พัฒนาสมรรถนะการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในภาคส่วนปิโตรเคมี
ควรสร้างมาตรการการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าโดยคานึงถึงต้นทุนและประสิทธิภาพสาหรับ
ภาคอุตสาหกรรมและท้องถิ่นส่วนต่างๆ ในเมืองต้าเหลียน รวมทั้งการวางแผนแบบองค์รวมยัง
ควรถูกนามาใช้เพื่อพัฒนาสมรรถนะในการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของเขตเศรษฐกิจที่
กาลังจะเกิดใหม่ด้วย
3. ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดศักยภาพของภาคส่วนเทคโนโลยีเกิดใหม่
 สร้างห่วงโซ่แห่งคุณค่าที่สมบูรณ์ผ่านโครงสร้างการตลาดที่มีประสิทธิภาพ
ควรดาเนินการพัฒนาภาคส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีด้านข้อมูลสารสนเทศ และเพิ่มการจัด
จ้างจากภายนอก(outsourcing) ในด้านบริการเพื่อสร้างอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าและมีศักยภาพ
แข่งขัน ตลอดจนต้องเพิ่มการลงทุนเพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบอันจะนาไปสู่ความ
เป็นเมืองศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
 ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ผ่านการสร้างนวัตกรรม
กาหนดนโยบายที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดการลงทุนและการพัฒนาเทคโนโลยีของธุรกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม(SME) รวมทั้งในการสนับสนุนด้านทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ
สร้างสรรค์นวัตกรรมและการพัฒนา
ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์สาหรับเมืองจางเจียโขว่
1. ข้อเสนอเพื่อแก้ปัญหาความแออัดของการจราจร(การขนส่งระหว่างเมืองท่าเทียบเรือกับ
เมืองปักกิ่ง)
 พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งและการจราจรอัจฉริยะ(ITS) เพื่อสร้างการจราจรบน
ทางหลวงที่มีประสิทธิภาพ
ระบบ ITS ซึ่งมีการนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาแก้ปัญหาการจราจรให้เกิด
ประสิทธิภาพควรได้รับการพิจารณานามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรองรับของถนนตาม
โครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่
ชื่อเรื่อง
| 10
 สร้างนวัตกรรมกลไกทางการเงินสาหรับการสร้างทางหลวง
เมืองจางเจียโขว่ควรใช้ข้อได้เปรียบในฐานะที่เป็นเมืองจุดหมายปลายทางเมืองหนึ่งของ
นักท่องเที่ยวสร้างภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวบนทางหลวงโดยอาศัยการลงทุนจาก
ภาคเอกชน เช่น การสร้างจุดพักรถ ตลอดจนควรเพิ่มการเชื่อมโยงเส้นทางลัดต่างๆ กับทางหลวง
ที่สามารถเดินทางได้รวดเร็วเพื่อให้สามารถเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสาหรับนาไปใช้พัฒนาทาง
หลวงได้ในอัตราที่สูงขึ้น
 พัฒนาระบบขนส่งหลากหลายช่องทาง
ควรมีการสร้างทางรถไฟเชื่อมระหว่างเมืองปักกิ่งและจางเจียโขว่เพื่อนาไปสู่เส้นทางการเดินทาง
ที่หลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้สถานีรถไฟแต่ละสถานีกับแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองยัง
ควรต้องเชื่อมต่อกันด้วยระบบขนส่งบนท้องถนนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น รถโดยสารที่ไร้
คนขับ ซึ่งในขณะเดียวกันก็ต้องระบบขนส่งสาธารณะระหว่างเมืองที่มีคุณภาพพร้อมกับสร้าง
มาตรการลดแรงจูงใจในการใช้รถส่วนตัวของประชาชนลง
 สร้างระบบขนส่งที่เหมาะสม
เน้นวางแผนระบบขนส่งที่ครอบคลุมทั่วทั้งเมืองโดยอาศัยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและการ
ลงทุนจากภาคเอกชน
 เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิเคราะห์และการควบคุมระบบขนส่ง
เมืองจางเจียโขว่จาเป็นต้องพัฒนาระบบการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับท้องถิ่นที่มีศักยภาพเพื่อให้
สามารถนาระบบ ITS ไปใช้แก้ปัญหาจราจรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพิ่มระบบการ
ติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้เข้าใจถึงสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาจนนาไปสู่การ
กาหนดทางออกที่ตรงกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่
2. ข้อเสนอเพื่อบูรณาการการใช้พลังงานลมในระดับท้องถิ่นและระหว่างภูมิภาค
 หลีกเลี่ยงการพัฒนาที่ผิดทิศทางโดยการออกแบบนโยบายเชิงกลยุทธ์ที่เหมาะสม
ในการจัดการภาคส่วนพลังงานลมที่ดีควรต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งต้องกาหนด
ยุทธศาสตร์ที่ช่วยประสานภาคการผลิตและภาคการบริโภคให้สอดคล้องกันเพื่อให้มีการใช้
พลังงานลมแพร่หลายขึ้น
 ร่วมมือกับเมืองต่างๆ เพื่อส่งผ่านกระแสไฟฟ้า
เน้นประสานความร่วมมือกับเมืองใกล้เคียงโดยเฉพาะ ปักกิ่ง ทั้งด้านการวางแผนและการนาแผน
ไปปฏิบัติ
ชื่อเรื่อง
| 11
 แสวงหาโอกาสเพื่อเพิ่มอัตราการใช้พลังงานลม
ควรพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อใช้จัดการพลังงานลม ตลอดจนส่งเสริมให้พลังงานลมถูกนามาใช้
ในอุตสาหกรรมท้องถิ่นมากขึ้น
3. ข้อเสนอเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายที่ยั่งยืนสาหรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาวการมุ่งสู่
เป้ าหมายที่ยั่งยืนสาหรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาว
 สร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเมือง
ปัจจุบันเมืองจางเจียโขว่กาลังริเริ่มโครงการ “Wonder Land of Zhangjiakou” ซึ่งโครงการ
ดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์เฉพาะตัวของเมืองให้เด่นชัด
 ให้ความสาคัญกับภาคส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
เมืองจางเจียโขว่ควรใช้โอกาสในการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวปีค.ศ.2022 พัฒนาภาค
ส่วนสีเขียว(Green Sector) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมผ่านการกาหนดนโยบายและกลยุทธ์ต่างๆ
และต้องหลีกเลี่ยงการพัฒนาอย่างเต็มกาลังทุกภาคส่วนในเวลาเดียวกัน เพราะอาจส่งผลกระทบ
ด้านลบกับสิ่งแวดล้อมได้
 ให้ความรู้เรื่องความยั่งยืนแก่ประชาชนในชนบทผ่านทางเทคโนโลยีการสื่อสารที่ง่ายต่อการ
เข้าถึง
ควรใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างศักยภาพให้กับภาคส่วนสีเขียวที่เกิดใหม่ด้วยการให้ความรู้และ
เสริมสร้างจิตสานึกด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท เช่น ผลิตภัณฑ์
เกษตร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เป็นต้น
บทส่งท้าย
อาจกล่าวได้ว่าเมืองที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการคัดเลือกของ FUD ทั้งเมืองต้าเหลียนและ
จางเจียโขว่ต่างก็มีจุดแข็งที่สามารถนาพาตนเองสู่การเป็นต้นแบบด้านการพัฒนาที่แตกต่างกันไป
กล่าวคือเมืองต้าเหลียนมีจุดแข็งในด้านการเป็นเมืองท่าและศูนย์กลางด้านการขนส่ง ส่วนเมืองจางเจีย
โขว่ก็มีจุดแข็งด้านการเป็นแหล่งพลังงานลมและมีทาเลที่อยู่ใกล้เมืองหลวง ทว่า สิ่งหนึ่งอันเป็นจุดร่วมที่
จะช่วยให้การเติบโตของทั้งสองเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องคือการกาหนดแนวทางการ
พัฒนาที่เป็นทิศทางเดียวกัน โดยจุดร่วมของแนวทางการพัฒนาที่ทั้งสองเมืองควรยึดถือตาม
ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์ข้างต้นสามารถสรุปได้ดังนี้
ชื่อเรื่อง
| 12
- เน้นการพัฒนาแบบบูรณาการ ประสานงานกันระหว่างทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
- เน้นการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
- มีการกาหนดเป้าหมายที่เมืองต้องบรรลุไว้ชัดเจน เช่น การเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก ตลอดจน
กาหนดแผนปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และติดตามตรวจสอบการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
- ให้ความสาคัญกับการพัฒนาควบคู่การรักษาสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน
อย่างกว้างขวาง
- เรียนรู้บทเรียนด้านการพัฒนาจากเมืองในต่างประเทศแล้วนามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
เฉพาะของเมืองและประเทศจีน
ทั้งนี้ข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์ของ FUD ถือเป็นบทเรียนมีประโยชน์อย่างยิ่งซึ่งเมืองต้า
เหลียนและจางเจียโขว่สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อต่อยอดการพัฒนาสู่การเป็นเมืองต้นแบบที่เมือง
อื่นๆ สามารถเรียนรู้และนาไปเป็นแบบอย่างการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการสร้างอนาคตที่ดีของเมือง
ทั่วโลกต่อไป
ชื่อเรื่อง
| 13
บรรณานุกรม
World Economic Forum (2014). The Future of Urban Development Initiative: Dalian
and Zhangjiakou Champion City Strategy. World Economic Forum.
ภาพประกอบหน้าปก สืบค้นจาก http://urbanplanet.info/

Contenu connexe

Tendances

การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์FURD_RSU
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพFURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาFURD_RSU
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 

Tendances (13)

การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ชุมชนท้องถิ่น คือฐานการปฏฺิรูปประเทศ โดย ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพการพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
การพัฒนาเมืองน่านสู่สังคมคุณภาพ
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 

Similaire à The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city strategy

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีKlangpanya
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBM
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBMวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBM
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBMYatawee Reckhawee
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDCเจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDCPeerasak C.
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
Sustainable University - Soranit
Sustainable University - SoranitSustainable University - Soranit
Sustainable University - SoranitSoranit Siltharm
 

Similaire à The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city strategy (12)

FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBM
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBMวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBM
วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจของเวียดนาม_IBM
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11
 
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDCเจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
 
Digital trend 2014
Digital trend 2014Digital trend 2014
Digital trend 2014
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
Sustainable University - Soranit
Sustainable University - SoranitSustainable University - Soranit
Sustainable University - Soranit
 

Plus de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 

The Future of urban delopment initiative: Dalian Zhangjiakou champion city strategy

  • 1. The Future of Urban Development Initiative: Dalian and Zhangjiakou Champion City Strategy แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมืองศูนย์ ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 2. ชื่อเรื่อง | 2 The Future of Urban Development Initiative: Dalian and Zhangjiakou Champion City Strategy จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย The Future of Urban Development (FUD) และการคัดเลือกเมืองต้นแบบการพัฒนา The Future of Urban Development (FUD) เป็นคณะทางานภายใต้ World Economic Forum (WEF) ซึ่งทาหน้าที่เป็นเสมือนหุ้นส่วนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาของเมืองทั่วโลกโดยผ่านการกระตุ้นให้ เมืองต่างๆ เข้าใจถึงความท้าทายอันหลากหลายที่ต้องเผชิญ โดยเป้าหมายของ FUD คือการสร้าง นวัตกรรมที่ทุกเมืองสามารถเข้าถึงและนาไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการได้ กิจกรรมหนึ่งของ FUD ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความตื่นตัวในการพัฒนาเมืองต่างๆ คือการเฟ้นหา เมืองที่ดีที่สุดซึ่งเป็นต้นแบบเมืองที่ประสบความสาเร็จด้านการพัฒนา ซึ่งในปีค.ศ.2014 เมืองที่ชนะการ คัดเลือกดังกล่าวได้แก่ เมืองต้าเหลียน และเมืองจางเจียโขว่ ของประเทศจีน เมืองทั้งสองต่างก็มี เอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตัวเอง แต่มีจุดร่วมเหมือนกันตรงที่เป็นตัวอย่างของเมืองที่สามารถริเริ่มสร้าง นวัตกรรมเพื่อนามาสู่ทางออกในการจัดการปัญหาที่เมืองของตนเองต้องเผชิญได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนยังสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาให้กับเมืองอื่นๆ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ข้อมูลพื้นฐานของเมืองที่ได้รับรางวัลเมืองต้นแบบการพัฒนา  เมืองต้าเหลียน ต้าเหลียนเป็นเมืองซึ่งเป็นเสมือนประตูสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนและยังเป็นเมืองที่มี ศักยภาพด้านเศรษฐกิจสูงอันดับต้นๆ ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ของการเป็นระเบียง เชื่อมระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกและประเทศอื่นทั่วโลกนี่เอง ทาให้เมืองต้าเหลียนกลายเป็นท่าเทียบเรือที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 5 ของจีนซึ่งมีการไหวเวียนของระบบ ขนส่งสินค้าในระดับสูง นอกจากนี้เมืองต้าเหลียนยังมีการตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจและนิคมอุตสาหกรรม อีก 5 แห่งเพื่อรองรับการขยายตัวด้านเศรษฐกิจ ตลอดทั้งยังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ ระบบข้อมูลข่าวสารไปในเวลาเดียวกันด้วย โดยยุทธศาตร์ที่เมืองต้าเหลียนยึดเป็นหลักในการพัฒนาคือ
  • 3. ชื่อเรื่อง | 3 Source: Dalian Bureau of Statistics “all region urbanization” กล่าวคือ เป็นการทาให้ทั่วทุกภูมิภาคก้าวสู่ความเป็นเมืองที่ทันสมัยด้วยการ ประยุกต์ใช้แนวคิดแบบองค์รวมเพื่อสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของพื้นที่เมือง ชนบท และพื้นที่อุตสาหกรรม รวมทั้งพัฒนาเมืองที่จะเป็นศูนย์กลางด้านการดูแลความเป็นอยู่และสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน พื้นที่ (สุทธิ) 12,574 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ (ศูนย์กลางเมือง) 2,415 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6.85 ล้านคน GDP (ปีค.ศ.2012) 700.3 พันล้านหยวน GDP (ที่เพิ่มขึ้นระหว่างปีค.ศ.2011-2012) 10.3% GDP (per capita ปีค.ศ.2012) 102,000 หยวน  เมืองจางเจียโขว่ เมื่อเปรียบเทียบกัน แม้เมืองจางเจียโขว่จะมีพื้นมากกว่าเมืองต้าเหลียนถึง 3 เท่า แต่กลับมี ประชากรเพียง 2 ใน 3 อีกทั้งยังมีผลผลิตมวลรวม(GDP) ในแต่ละปีเพียง 1 ใน 5 ของเมืองต้าเหลียน เท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจากจางเจียโขว่เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่เน้นเฉพาะการขุดเจาะทรัพยากรและ อุตสาหกรรมหนักเป็นหลัก เช่น ถ่านหิน เหล็ก ซีเมนต์ กระดาษ ฯลฯ ซึ่งอุตสาหกรรมเหล่านี้กาลังเผชิญ ความท้าทายเพราะทรัพยากรในเหมืองค่อยๆ หมดลงและอุตสาหกรรมหนักยังส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่เมืองจางเจียโขว่จะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ ในการสร้างรายได้และพัฒนาเมืองเพื่อทดแทนอุตสาหกรรมแบบเดิม โดยทรัพยากรอีกชนิดหนึ่งที่เมือง จางเจียโขว่มีอยู่มหาศาลคือพลังงานลม ซึ่งสามารถนาไปผลิตเป็นพลังงานได้จานวนมาก โดย อุตสาหกรรมพลังงานลมดังกล่าวได้กลายมาเป็นภาคส่วนที่โดดเด่นมากในปีค.ศ.2013 และใน ขณะเดียวกันก็ยังเริ่มมีการพัฒนาภาคเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการท่องเที่ยว ซึ่งเดิมเมืองจางเจียโขว่มี สถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามอยู่แล้วด้วย นอกจากนี้ ปลายปีค.ศ.2013 ที่ผ่านมา เมืองจางเจียโขว่ยังได้รับ เลือกจากรัฐบาลให้เป็นเมืองสาหรับจัดแข่งขันกีฬากลางแจ้งในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ค.ศ.2022 อีกด้วย การสนับสนุนจากส่วนกลางนี้จะนามาสู่โอกาสสาหรับเมืองจางเจียโขว่ที่จะยกระดับการพัฒนาเมืองไปสู่ การเป็นเมืองต้นแบบของการเปลี่ยนผ่านที่มั่นคงและยั่งยืนสาหรับเมืองอื่นของจีนต่อไป
  • 4. ชื่อเรื่อง | 4 Source: Zhangjiakou Bureau of Statistics พื้นที่ (สุทธิ) 36,680 ตารางกิโลเมตร ประชากร 4.60 ล้านคน GDP (ปีค.ศ.2012) 123 พันล้านหยวน GDP (per capita ปีค.ศ.2012) 27,000 หยวน
  • 5. ชื่อเรื่อง | 5 แนวโน้มและลาดับความสาคัญของการพัฒนาเมืองในประเทศจีน ปีค.ศ.2013 ถือเป็นปีสาคัญสาหรับการพัฒนาเมืองในประเทศจีน เนื่องจากสิ้นปีค.ศ.2013 พบว่า ประชากรจีนมากกว่า 50% หรือกว่า 730 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเมือง โดยทั่วทั้งประเทศจีนมีเมืองขนาด ใหญ่ซึ่งมีประชากรมากกว่า 10 ล้านคนอยู่ด้วยกัน 6 เมือง และมีอีก 103 เมืองที่มีประชากรมากกว่า 1 ล้านคน ข้อมูลด้านประชากรดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าเมืองในจีนกาลังขยายตัวสู่ความเป็นเมืองใหญ่ อย่างต่อเนื่องประมาณ 1% ต่อปี ซึ่งผลที่ตามมาจากการเติบโตดังกล่าวนั้นมีหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็นใน แง่การนามาซึ่งโอกาสในชีวิตของคนเมือง การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ แต่ในขณะเดียวกันก็นามา สู่ความท้าทายในเรื่องการจัดการทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน การเติบโตที่ก้าวกระโดดในช่วงเวลาไม่กี่สิบปีจนทาให้จีนกลายเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจ ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกในปีค.ศ.2012 นับเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เมืองต่างๆ พัฒนาสู่ความทันสมัย และดึงดูดประชากรเข้ามามากขึ้น แต่ผลกระทบที่ตามมาจากความเจริญของเมืองอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง ได้ก็มีอยู่หลายประการ อาทิ ความต้องการโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอและมีคุณภาพ ปัญหาการจราจร และราคาที่อยู่อาศัยที่เพิ่มสูงขึ้น เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าว จึงเป็นภารกิจสาคัญสาหรับรัฐบาลที่ต้องสร้าง สมดุลให้การพัฒนาเมืองเกิดขึ้นควบคู่กับความยั่งยืนทั้งในด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต ของประชาชน และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยขอบข่ายที่เมืองซึ่งได้รับรางวัลทั้งสองเมือง รวมถึงเมืองอื่นๆ ต้องริเริ่มดาเนินการเพื่อรองรับการพัฒนา แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. การวางแผนและการจัดการระบบขนส่ง 2. การจัดการพลังงานในเมือง 3. การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ การดาเนินการภายใต้ขอบข่ายดังกล่าวได้ถูกบรรจุไว้ในส่วนหนึ่งของ National New-type Urbanization Plan (2014 – 2020) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาเมืองระดับชาติของจีน โดยในอนาคตเมือง ต้าเหลียนและจางเจียโขว่จะถูกใช้เป็นเมืองต้นแบบที่พัฒนาตามแนวทางดังกล่าว
  • 6. ชื่อเรื่อง | 6 ขอบข่ายการพัฒนาเมืองสาหรับต้าเหลียนและจางเจียโขว่ เมือง การวางแผนและการจัดการ ระบบขนส่ง การจัดการพลังงานในเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยั่งยืน ต้าเหลียน 1. จากัดการขยายตัวของเมือง อย่างไร้ขอบเขต 2. ปรับปรุงระบบขนส่งสาธารณะ 3. ลดการพึ่งพารถยนต์ 1. เพิ่มระดับการใช้ก๊าซธรรมชาติ 2. แสวงหาแนวทางการพัฒนา พลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะ พลังงานลมนอกชายฝั่งทะเล 3. สนับสนุนการแก้ปัญหาด้าน ปิโตรเคมี 4. ปรับปรุงให้เกิดการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมเดิมที่มีจุดแข็ง 2. ส่งเสริมภาคบริการและการ สร้างมูลค่าเพิ่มในอุตสาหกรรม 3. สร้างห่วงโซ่คุณค่าในภาค อุตสาหกรรม จางเจียโขว่ 1. แก้ปัญหาความแออัดของการ จราจรระหว่างเมืองโดยเฉพาะ ทางด่วนสู่ปักกิ่ง 2. แก้ปัญหาความแออัดของการ จราจรระหว่างเมืองโดยเฉพาะ ระหว่างศูนย์กลางของเมืองกับ กลุ่มเมืองเกิดใหม่ 2 กลุ่ม 3. ปรับปรุงการพัฒนาระบบขนส่ง สาธารณะ 4. แก้ไขความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ระหว่างการขนส่งกับการพัฒนา ที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการ ถ่ายทอดการสร้างพลังงาน โดยเฉพาะพลังงานลม 2. วางแผนการใช้พลังงานในเมือง อย่างเหมาะสมทั้งด้าน ประสิทธิภาพและการหลีกเลี่ยงการ ใช้อย่างไม่เกิดประโยชน์ 1. เพิ่มจานวนอุตสาหกรรมเกิด ใหม่ เช่น อุตสาหกรรมการผลิต ที่เน้นมูลค่าเพิ่ม อาหารที่มี คุณภาพสูง เกษตรกรรม และ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ 2. สนับสนุนอุตสาหกรรมที่ช่วย ส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่นและ การพัฒนาสังคม 3. ดึงดูดทรัพยากรมนุษย์ที่มี ศักยภาพเข้ามาทางาน
  • 7. ชื่อเรื่อง | 7 บนพื้นฐานของขอบข่ายสาหรับการพัฒนาเมืองทั้ง 3 ด้านที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น เป็นที่ ตระหนักดีว่ามีประเด็นต่างๆ มากมายที่ต้องจัดการภายใต้ขอบข่ายการพัฒนาเมืองด้วยเวลาและ ทรัพยากรที่มีอย่างจากัด จึงจาเป็นที่ฝ่ายบริหารจะต้องจัดลาดับความสาคัญของปัญหา เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาที่ถูกต้อง ทั้งนี้ FUD จึงได้กาหนดข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์สาหรับทั้งเมืองต้าเหลียนและ จางเจียโขว่เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ จุดเน้น (Key Issue) ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์ ต้าเหลียน ความแออัดของการจราจร(ถนน อิ่มตัว) - พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งที่ชาญฉลาด(ITS) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการจราจรภายในเมือง - สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะผ่านนโยบายการให้สิทธิพิเศษ - ไม่ส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ในช่วงเวลาเร่งด่วน - สร้างกลไกทางสถาบันที่เหมาะสม ความมั่นคงด้านการจัดหา พลังงานถ่านหิน - ภาคอุปทาน: เพิ่มอัตราการใช้ก๊าซธรรมชาติและพลังงานทดแทน - ภาคอุปสงค์: พัฒนาสมรรถนะการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในภาคส่วนปิโตรเคมี การขาดศักยภาพของภาคส่วน เทคโนโลยี เกิดใหม่ - สร้างห่วงโซ่แห่งคุณค่าที่สมบูรณ์ผ่านโครงสร้างการตลาดที่มี ประสิทธิภาพ - ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ผ่านการ สร้างนวัตกรรม จางเจียโขว่ ความแออัดของการจราจร(การ ขนส่งระหว่างเมืองท่าเทียบเรือ กับเมืองปักกิ่ง) - พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งที่ชาญฉลาด(ITS) เพื่อ สร้างการจราจรบนทางหลวงที่มีประสิทธิภาพ - สร้างนวัตกรรมกลไกทางการเงินสาหรับการสร้างทางด่วน - พัฒนาระบบขนส่งหลากหลายช่องทาง - สร้างระบบขนส่งที่เหมาะสม - เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิเคราะห์และการควบคุมระบบขนส่ง การบูรณาการการใช้พลังงาน ลมในระดับท้องถิ่นและระหว่าง ภูมิภาค - หลีกเลี่ยงการพัฒนาที่ผิดทิศทางโดยการออกแบบนโยบายเชิงกล ยุทธ์ที่เหมาะสม - ร่วมมือกับเมืองต่างๆ เพื่อส่งผ่านกระแสไฟฟ้า - แสวงหาโอกาสเพื่อเพิ่มอัตราการใช้พลังงานลม การมุ่งสู่เป้าหมายที่ยั่งยืน สาหรับการเป็นเจ้าภาพ โอลิมปิกฤดูหนาว - สร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเมือง - ให้ความสาคัญกับภาคส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม - ให้ความรู้เรื่องความยั่งยืนแก่ประชาชนในชนบทผ่านเทคโนโลยีการ สื่อสารที่ง่ายต่อการเข้าถึง
  • 8. ชื่อเรื่อง | 8 ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์สาหรับเมืองต้าเหลียน 1. ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาความแออัดของการจราจร(ถนนอิ่มตัว)  พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งและการจราจรอัจฉริย(ITS) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจราจรภายในเมือง เมืองต้าเหลียนมีระบบเครือข่ายถนนที่ค่อนข้างซับซ้อน การวิเคราะห์และสร้างแบบจาลองที่ เหมาะสมจึงควรถูกนามาใช้เพื่อประเมินและหลีกเลี่ยงการขยายถนนในเมืองอย่างไร้ขอบเขต นอกจากนี้ยังควรใช้ Electronic Road Pricing (ERP) หรือระบบเก็บเงินอัตโนมัติบนท้องถนนโดย ที่รถยนต์ไม่ต้องจอดจ่ายเงินเพื่ออานวยความสะดวกรวดเร็วให้แก่ผู้ใช้รถในช่วงเวลาเร่งด่วน ซึ่ง รายได้จาก ERP จะถูกนามาใช้เพื่อพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้มีคุณภาพ และสร้างแรงจูงใจ ให้คนเปลี่ยนมาใช้บริการรถสาธารณะมากขึ้นในอนาคต  สนับสนุนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะผ่านนโยบายการให้สิทธิพิเศษ ใช้วิธีเปลี่ยนจากรูปแบบการแข่งขันมาสู่ความร่วมมือและประสานผลประโยชน์กันระหว่างระบบ ขนส่งสาธารณะประเภทต่างๆ ตลอดทั้งต้องให้มีรูปแบบที่ยืดหยุ่นและเชื่อมโยงหลากหลายขึ้น อาทิ รถมินิบัสที่มีเส้นทางเชื่อมกับรถไฟฟ้าใต้ดิน รวมถึงเพิ่มสิ่งอานวยความสะดวกในรถโดยสาร สาธารณะ เช่น Wi-Fi ระบบการจ่ายเงินที่ทันสมัย ฯลฯ  ไม่ส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ในช่วงเวลาเร่งด่วน ควรมีการควบคุมจานวนรถโดยเพิ่มราคาค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ส่วนตัว อาทิ การเก็บ ภาษีแก๊สโซลีน ภาษีที่จอดรถ เป็นต้น ในเวลาเดียวกันก็ควรส่งเสริมให้ประชาชนใช้รถส่วนตัวให้ เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการเดินทางครั้งละหลายๆคนในเส้นทางเดียวกัน  สร้างกลไกทางสถาบันที่เหมาะสม ควรนาแนวคิดการจัดการแบบองค์รวมมาใช้ในการจัดการปัญหาการจราจรโดยอาศัยการ ประสานงานจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มิใช่จัดการแบบแยกส่วน 2. ข้อเสนอเพื่อสร้างความมั่นคงด้านการจัดหาพลังงานถ่านหิน  ภาคอุปทาน: เพิ่มอัตราการใช้ก๊าซธรรมชาติและพลังงานทดแทน ต้าเหลียนเป็นเมืองที่มีศักยภาพในการเข้าถึงก๊าซธรรมชาติผ่านท่อส่งจีน-รัสเซีย แต่การนาไปใช้ ประโยชน์ในปัจจุบันยังอยู่ในระดับจากัดและยังไม่ทั่วถึงในระดับครัวเรือน ดังนั้นเครื่องมือด้าน การตลาดจึงต้องถูกนามาใช้เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติให้มากขึ้น นอกจากนั้นยังต้อง
  • 9. ชื่อเรื่อง | 9 เริ่มแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียนเพิ่มเติม เช่น พลังงานลมบริเวณชายฝั่งทะเล เพื่อนามา พัฒนาและรองรับความต้องการพลังงานของเมืองในระยะกลางและระยะยาว  ภาคอุปสงค์: พัฒนาสมรรถนะการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในภาคส่วนปิโตรเคมี ควรสร้างมาตรการการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าโดยคานึงถึงต้นทุนและประสิทธิภาพสาหรับ ภาคอุตสาหกรรมและท้องถิ่นส่วนต่างๆ ในเมืองต้าเหลียน รวมทั้งการวางแผนแบบองค์รวมยัง ควรถูกนามาใช้เพื่อพัฒนาสมรรถนะในการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของเขตเศรษฐกิจที่ กาลังจะเกิดใหม่ด้วย 3. ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดศักยภาพของภาคส่วนเทคโนโลยีเกิดใหม่  สร้างห่วงโซ่แห่งคุณค่าที่สมบูรณ์ผ่านโครงสร้างการตลาดที่มีประสิทธิภาพ ควรดาเนินการพัฒนาภาคส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีด้านข้อมูลสารสนเทศ และเพิ่มการจัด จ้างจากภายนอก(outsourcing) ในด้านบริการเพื่อสร้างอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าและมีศักยภาพ แข่งขัน ตลอดจนต้องเพิ่มการลงทุนเพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบอันจะนาไปสู่ความ เป็นเมืองศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม  ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ผ่านการสร้างนวัตกรรม กาหนดนโยบายที่เหมาะสมเพื่อดึงดูดการลงทุนและการพัฒนาเทคโนโลยีของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม(SME) รวมทั้งในการสนับสนุนด้านทรัพยากรการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ สร้างสรรค์นวัตกรรมและการพัฒนา ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์สาหรับเมืองจางเจียโขว่ 1. ข้อเสนอเพื่อแก้ปัญหาความแออัดของการจราจร(การขนส่งระหว่างเมืองท่าเทียบเรือกับ เมืองปักกิ่ง)  พัฒนาการจัดการจราจรและระบบการขนส่งและการจราจรอัจฉริยะ(ITS) เพื่อสร้างการจราจรบน ทางหลวงที่มีประสิทธิภาพ ระบบ ITS ซึ่งมีการนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาแก้ปัญหาการจราจรให้เกิด ประสิทธิภาพควรได้รับการพิจารณานามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรองรับของถนนตาม โครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่
  • 10. ชื่อเรื่อง | 10  สร้างนวัตกรรมกลไกทางการเงินสาหรับการสร้างทางหลวง เมืองจางเจียโขว่ควรใช้ข้อได้เปรียบในฐานะที่เป็นเมืองจุดหมายปลายทางเมืองหนึ่งของ นักท่องเที่ยวสร้างภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวบนทางหลวงโดยอาศัยการลงทุนจาก ภาคเอกชน เช่น การสร้างจุดพักรถ ตลอดจนควรเพิ่มการเชื่อมโยงเส้นทางลัดต่างๆ กับทางหลวง ที่สามารถเดินทางได้รวดเร็วเพื่อให้สามารถเรียกเก็บค่าธรรมเนียมสาหรับนาไปใช้พัฒนาทาง หลวงได้ในอัตราที่สูงขึ้น  พัฒนาระบบขนส่งหลากหลายช่องทาง ควรมีการสร้างทางรถไฟเชื่อมระหว่างเมืองปักกิ่งและจางเจียโขว่เพื่อนาไปสู่เส้นทางการเดินทาง ที่หลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้สถานีรถไฟแต่ละสถานีกับแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองยัง ควรต้องเชื่อมต่อกันด้วยระบบขนส่งบนท้องถนนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น รถโดยสารที่ไร้ คนขับ ซึ่งในขณะเดียวกันก็ต้องระบบขนส่งสาธารณะระหว่างเมืองที่มีคุณภาพพร้อมกับสร้าง มาตรการลดแรงจูงใจในการใช้รถส่วนตัวของประชาชนลง  สร้างระบบขนส่งที่เหมาะสม เน้นวางแผนระบบขนส่งที่ครอบคลุมทั่วทั้งเมืองโดยอาศัยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและการ ลงทุนจากภาคเอกชน  เพิ่มขีดความสามารถด้านการวิเคราะห์และการควบคุมระบบขนส่ง เมืองจางเจียโขว่จาเป็นต้องพัฒนาระบบการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับท้องถิ่นที่มีศักยภาพเพื่อให้ สามารถนาระบบ ITS ไปใช้แก้ปัญหาจราจรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพิ่มระบบการ ติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้เข้าใจถึงสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาจนนาไปสู่การ กาหนดทางออกที่ตรงกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ 2. ข้อเสนอเพื่อบูรณาการการใช้พลังงานลมในระดับท้องถิ่นและระหว่างภูมิภาค  หลีกเลี่ยงการพัฒนาที่ผิดทิศทางโดยการออกแบบนโยบายเชิงกลยุทธ์ที่เหมาะสม ในการจัดการภาคส่วนพลังงานลมที่ดีควรต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งต้องกาหนด ยุทธศาสตร์ที่ช่วยประสานภาคการผลิตและภาคการบริโภคให้สอดคล้องกันเพื่อให้มีการใช้ พลังงานลมแพร่หลายขึ้น  ร่วมมือกับเมืองต่างๆ เพื่อส่งผ่านกระแสไฟฟ้า เน้นประสานความร่วมมือกับเมืองใกล้เคียงโดยเฉพาะ ปักกิ่ง ทั้งด้านการวางแผนและการนาแผน ไปปฏิบัติ
  • 11. ชื่อเรื่อง | 11  แสวงหาโอกาสเพื่อเพิ่มอัตราการใช้พลังงานลม ควรพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อใช้จัดการพลังงานลม ตลอดจนส่งเสริมให้พลังงานลมถูกนามาใช้ ในอุตสาหกรรมท้องถิ่นมากขึ้น 3. ข้อเสนอเพื่อมุ่งสู่เป้ าหมายที่ยั่งยืนสาหรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาวการมุ่งสู่ เป้ าหมายที่ยั่งยืนสาหรับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิ กฤดูหนาว  สร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเมือง ปัจจุบันเมืองจางเจียโขว่กาลังริเริ่มโครงการ “Wonder Land of Zhangjiakou” ซึ่งโครงการ ดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์เฉพาะตัวของเมืองให้เด่นชัด  ให้ความสาคัญกับภาคส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เมืองจางเจียโขว่ควรใช้โอกาสในการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวปีค.ศ.2022 พัฒนาภาค ส่วนสีเขียว(Green Sector) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมผ่านการกาหนดนโยบายและกลยุทธ์ต่างๆ และต้องหลีกเลี่ยงการพัฒนาอย่างเต็มกาลังทุกภาคส่วนในเวลาเดียวกัน เพราะอาจส่งผลกระทบ ด้านลบกับสิ่งแวดล้อมได้  ให้ความรู้เรื่องความยั่งยืนแก่ประชาชนในชนบทผ่านทางเทคโนโลยีการสื่อสารที่ง่ายต่อการ เข้าถึง ควรใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างศักยภาพให้กับภาคส่วนสีเขียวที่เกิดใหม่ด้วยการให้ความรู้และ เสริมสร้างจิตสานึกด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท เช่น ผลิตภัณฑ์ เกษตร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เป็นต้น บทส่งท้าย อาจกล่าวได้ว่าเมืองที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการคัดเลือกของ FUD ทั้งเมืองต้าเหลียนและ จางเจียโขว่ต่างก็มีจุดแข็งที่สามารถนาพาตนเองสู่การเป็นต้นแบบด้านการพัฒนาที่แตกต่างกันไป กล่าวคือเมืองต้าเหลียนมีจุดแข็งในด้านการเป็นเมืองท่าและศูนย์กลางด้านการขนส่ง ส่วนเมืองจางเจีย โขว่ก็มีจุดแข็งด้านการเป็นแหล่งพลังงานลมและมีทาเลที่อยู่ใกล้เมืองหลวง ทว่า สิ่งหนึ่งอันเป็นจุดร่วมที่ จะช่วยให้การเติบโตของทั้งสองเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องคือการกาหนดแนวทางการ พัฒนาที่เป็นทิศทางเดียวกัน โดยจุดร่วมของแนวทางการพัฒนาที่ทั้งสองเมืองควรยึดถือตาม ข้อเสนอแนะด้านยุทธศาสตร์ข้างต้นสามารถสรุปได้ดังนี้
  • 12. ชื่อเรื่อง | 12 - เน้นการพัฒนาแบบบูรณาการ ประสานงานกันระหว่างทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง - เน้นการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี - มีการกาหนดเป้าหมายที่เมืองต้องบรรลุไว้ชัดเจน เช่น การเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก ตลอดจน กาหนดแผนปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และติดตามตรวจสอบการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง - ให้ความสาคัญกับการพัฒนาควบคู่การรักษาสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน อย่างกว้างขวาง - เรียนรู้บทเรียนด้านการพัฒนาจากเมืองในต่างประเทศแล้วนามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบท เฉพาะของเมืองและประเทศจีน ทั้งนี้ข้อเสนอแนะทางยุทธศาสตร์ของ FUD ถือเป็นบทเรียนมีประโยชน์อย่างยิ่งซึ่งเมืองต้า เหลียนและจางเจียโขว่สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อต่อยอดการพัฒนาสู่การเป็นเมืองต้นแบบที่เมือง อื่นๆ สามารถเรียนรู้และนาไปเป็นแบบอย่างการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการสร้างอนาคตที่ดีของเมือง ทั่วโลกต่อไป
  • 13. ชื่อเรื่อง | 13 บรรณานุกรม World Economic Forum (2014). The Future of Urban Development Initiative: Dalian and Zhangjiakou Champion City Strategy. World Economic Forum. ภาพประกอบหน้าปก สืบค้นจาก http://urbanplanet.info/