SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนยศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
สรุปและเรียบเรียงโดย อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
1. บทนา
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) มีความพยายามมุ่งค้นหา
เครื่องมือและนโยบายที่จะนาไปสู่การพัฒนาเมืองของไทยให้มีความยั่งยืนและมีสุขภาวะมาโดยตลอด
เมื่อได้ศึกษางานวิจัยของทอดด์ ลิทแมน (2015)1 ทาให้เราเข้าใจถึงแนวคิดและแนวทางในการกาหนด
นโยบายการพัฒนาเมืองภายใต้ลักษณะของเมืองที่แตกต่างกัน ซึ่งทอดด์ได้ทาการวิเคราะห์และอธิบาย
ไว้อย่างน่าสนใจ สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
ในแรกเริ่มทอดด์ได้หยิบยกประเด็นคาถามที่ว่า “เมืองควรพัฒนาอย่างไร ?” ซึ่งเป็นคาถาม
สาคัญที่มีการถกเถียงกันมาเป็นระยะเวลานานมากแล้ว ประกอบกับในห้วงเวลานี้โลกอยู่ในระยะการ
ขยายตัวของความเป็นเมือง (urbanization) ดังที่สหประชาชาติคาดการณ์ไว้ว่า ระหว่างปี ค.ศ. 1950
กับ ค.ศ. 2050 ผู้คนจะย้ายถิ่นไปอาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นมากถึง 4 เท่า หรือคิดเป็นร้อยละ 80 ของ
ประชากรโลก อีกทั้งการพัฒนาเมืองนั้นจะสร้างผลกระทบต่อทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น
เมืองแต่ละแห่งจึงควรค้นหานโยบายการพัฒนาเมืองที่เหมาะสมและยั่งยืน เพื่อให้คนรุ่นหลังสามารถสืบ
ทอดต่อไปได้
งานเขียนชิ้นนี้ได้นาเสนอแนวทางการปฏิบัติในการพัฒนาเมืองให้มีสุขภาวะและมีความมั่งคั่ง
อย่างชาญฉลาด ไม่ว่าจะเป็นการสร้างที่อยู่อาศัยให้มีสุขภาวะและสามารถดึงดูดผู้คนมาอยู่อาศัยได้ การ
ส่งเสริมเศรษฐกิจเมืองให้มีความเจริญเติบโต พร้อมกับการสร้างสังคมให้มีชีวิตชีวาและมีความเป็นธรรม
ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ผ่านต้นทุนและผลประโยชน์ (cost-benefit analysis) จากการพัฒนาใน
หลากหลายรูปแบบ และค้นหาแนวทางการขยายตัวของเมืองที่เหมาะสมผ่านปัจจัยความหนาแน่น
ประชากร ลักษณะที่อยู่อาศัย และระบบการขนส่งภายในเมือง
2. ลักษณะการเติบโตกับการพัฒนาเมือง
ในการศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเมืองออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การเติบโตอย่างไร้
ทิศทาง (sprawl growth) และการเติบโตอย่างชาญฉลาด (smart growth)
2.1 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (smart growth)
การเติบโตอย่างชาญฉลาดนับเป็นแนวทางในการพัฒนาเมืองให้มีความปลอดภัยและสร้างสุข
ภาวะให้คนในเมืองด้วยการลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล เพิ่มปริมาณการเดินทางด้วยเท้าและ
1 Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.”
Victoria Transport Policy Institute.
3
จักรยาน ก่อให้เกิดปัญหาการจราจรน้อยกว่าเมืองที่เติบโตอย่างไร้ทิศทาง เมืองที่เติบโตอย่างชาญฉลาด
จึงส่งเสริมคนเมืองให้มีสุขภาพดีและแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุนการบริการสุขภาพที่มักเกิดจาก
ความเฉื่อยชาและความอ้วนอีกด้วย นอกจากนี้ผลวิจัยยังชี้ให้เห็นว่า การเติบโตอย่างชาญฉลาดจะช่วย
เพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจจากการที่เมืองมีโอกาสในการเข้าถึง (accessibility) มากขึ้นด้วยเหตุผล
หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพจากการรวมตัว (agglomeration efficiency) ต้นทุนในการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานและระบบการขนส่งลดลง และมูลค่าการนาเข้าน้ามันเชื้อเพลิงลดลง ปัจจัยเหล่านี้ล้วน
เป็นสิ่งสาคัญสาหรับการพัฒนาเมืองในประเทศกาลังพัฒนาที่ต้องการประสิทธิภาพในการจัดสรร
ทรัพยากรเป็นอย่างยิ่ง
2.2 การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง (sprawl growth)
การเติบโตอย่างไร้ทิศทางถือเป็นตัวทาลายผลประโยชน์ทั้งทางด้านกายภาพและเศรษฐกิจ
เพราะต่างคนต่างพยายามหลีกเลี่ยงปัญหาความแออัดอันจะก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมา เช่น
ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการกีดกันทางสังคม เป็นต้น ส่งผลให้ที่อยู่อาศัยของครัวเรือนในเมืองมี
แนวโน้มห่างกันมากขึ้น และหันไปเน้นการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นหลัก ทาให้ผู้คนในเมืองสามารถ
เข้าถึงการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการบริการขนส่งสาธารณะได้น้อยลง ในทางตรงกันข้าม ผล
จากงานวิจัยระบุว่า การกระจุกตัวของผู้อยู่อาศัย (compact) การใช้พื้นที่แบบผสมผสาน (mix) และการมี
ระบบขนส่งสาธารณะแบบครบวงจร (multi-modal) มิได้ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมดังกล่าว แต่กลับช่วย
ส่งเสริมความเสมอภาคและบรรเทาปัญหาอาชญากรรมอีกด้วย เนื่องจากเป็นการเพิ่มระดับการเฝ้าระวัง
เชิงรับ (passive surveillance) กล่าวคือ การกระจุกตัวของประชากรในเมืองทาให้เมืองมีผู้คนจานวน
มากคอยจับตาดูสอดส่องและรายงานสถานการณ์ของเมืองอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังช่วย
สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงอีกด้วย ซึ่งแตกต่างจากผลกระทบจากการเติบโต
อย่างไร้ทิศทางที่ให้ผลในทางลบเสียเป็นส่วนใหญ่ โดยสามารถแบ่งขั้นของผลกระทบออกเป็น 2 ขั้น
(แผนภาพที่ 1) ดังนี้
ขั้นที่1 การเติบโตอย่างไร้ทิศทางมีส่วนทาให้ปริมาณการใช้ที่ดินต่อหัวเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้เมือง
สูญเสียพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินในด้านอื่น ๆ เป็นจานวนมาก อีกทั้งการเติบโตลักษณะนี้ยังเป็นการ
เพิ่มระยะทางระหว่างกิจกรรม เช่น ระยะทางจากบ้านไปโรงเรียน ที่ทางาน หรือห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
ส่งผลให้มูลค่าความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานต่อหัวเพิ่มสูงขึ้น และผู้คนในเมืองต่างต้องใช้เวลาเพิ่ม
มากขึ้นในการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง
ขั้นที่2 จากผลกระทบในขั้นที่ 1 จะส่งผลให้ผลิตภาพทางการเกษตรลดลง สิ่งแวดล้อมเกิดความ
เสื่อมโทรม ต้นทุนในการบริหารจัดการเมืองและการบริการของรัฐเพิ่มสูงขึ้น ผู้ไม่มีรถยนต์สามารถ
เข้าถึงเมืองได้น้อยลง และต้นทุนการขนส่ง ทั้งค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะ ระยะเวลาในการขนส่ง
ปัญหาการจราจร อุบัติเหตุ และการปล่อยมลพิษเพิ่มสูงขึ้น
4
แผนภาพที่1ผลกระทบทางกายภาพและเศรษฐกิจจากการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง
ที่มา:แปลจากToddLitman.2015.“AnalysisofPublicPoliciesThatUnintentionallyEncourageandSubsidizeUrbanSprawl.”VictoriaTransportPolicyInstitute,p.3.
5
2.3 ความแตกต่างของเมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางกับเมืองที่มีการเติบโต
อย่างชาญฉลาด
หากเปรียบเทียบการเติบโตอย่างไร้ทิศทางและการเติบโตอย่างชาญฉลาด โดยแบ่งเมืองใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาออกเป็น 5 ส่วน (quintile) เรียงลาดับจากเมืองที่เติบโตอย่างชาญฉลาดมากที่สุด
ไปยังเมืองที่เติบโตอย่างไร้ทิศทางมากที่สุด และประมาณค่าต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการเติบโตอย่างไร้
ทิศทาง ยกตัวอย่างเช่น การที่ระยะห่างระหว่างบ้าน ภาคธุรกิจ ภาคการบริการ และที่ทางานเพิ่มขึ้น จะ
ทาให้ต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและการบริการสาธารณะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10-40 เมื่อ
ใช้ข้อมูลต้นทุนนี้ในการวิเคราะห์แล้วจะพบว่า เมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางมากที่สุด 1 ใน 5 ของ
เมืองทั้งหมดมีต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเฉลี่ย 750 ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี ในขณะที่เมืองที่
มีการเติบโตอย่างชาญฉลาดมากที่สุด 1 ใน 5 ของเมืองทั้งหมดมีต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
เฉลี่ย 500 ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี นอกจากนี้ เมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางจะมีปริมาณการใช้
รถยนต์ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ 20-50 และมีปริมาณการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการบริการ
ขนส่งสาธารณะลดลงร้อยละ 40-80 เมื่อเปรียบเทียบกับเมืองที่มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด ยิ่งไปกว่า
นั้น ปริมาณการเดินทางด้วยรถยนต์ที่เพิ่มมากขึ้นจะส่งผลให้ต้นทุนการเดินทางของผู้ใช้รถใช้ถนน เช่น
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์และน้ามันเพิ่มขึ้น และต้นทุนภายนอก (external cost) เช่น ต้นทุนการสร้างที่
จอดรถภายในอาคาร ต้นทุนการดูแลรักษาถนนหนทางและที่จอดรถ ปัญหาความแออัด ความเสี่ยงใน
การเกิดอุบัติเหตุ และการปล่อยมลพิษเพิ่มขึ้น
ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบระหว่างการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง (sprawl growth) และการเติบโต
อย่างชาญฉลาด (smart growth)
ปัจจัย การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง การเติบโตอย่างชาญฉลาด
ความหนาแน่น ความหนาแน่นต่า กิจกรรมต่าง ๆ แยก
ออกจากกัน
ความหนาแน่นสูง กิจกรรมต่าง ๆ อยู่
รวมกัน
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่ดินแต่ละแห่งถูกใช้เพื่อจุดประสงค์
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้แบบผสมผสาน
รูปแบบการเติบโต ขยายออกไปบริเวณรอบ ๆ เมือง เติมเต็มพื้นที่ว่างในเมือง
ขนาด สถานที่มีขนาดใหญ่ ถนนมีขนาดกว้าง พื้นที่มีขนาดพอเหมาะกับคน ถนนมี
ขนาดไม่กว้างมาก
ภาคการบริการ
เช่น ร้านค้า โรงเรียน
สวนสาธารณะ เป็นต้น)
อยู่รวมเป็นกลุ่มตามภูมิภาค มีขนาด
ใหญ่ ต้องอาศัยการเดินทางด้วยรถยนต์
กระจายอยู่ตามท้องถิ่น มีขนาดเล็ก
สามารถเดินทางด้วยเท้าได้
6
ปัจจัย การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง การเติบโตอย่างชาญฉลาด
ระบบการขนส่ง เน้นการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ไม่เหมาะ
กับการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และ
การขนส่งสาธารณะ
ระบบขนส่งแบบครบวงจร สนับสนุน
การเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการ
ขนส่งสาธารณะ
การเชื่อมต่อ เน้นโครงข่ายถนนเป็นหลัก ขาดการ
เชื่อมต่อระหว่างถนนกับทางเท้า
เส้นทางมีการเชื่อมต่อระหว่างถนนกับ
ทางเท้าเป็นจานวนมาก
การออกแบบถนน รองรับการจราจรของรถยนต์ให้ได้มาก
ที่สุดและเร็วที่สุด
ใช้หลักความสมบูรณ์ของถนนที่ต้องมี
ความหลากหลายด้านการใช้งานและ
กิจกรรม
กระบวนการวางแผน ไม่มีการวางแผน ขาดการร่วมมือ
ระหว่างผู้มีอานาจและผู้เกี่ยวข้อง
มีการวางแผน มีการร่วมมือระหว่างผู้
มีอานาจและผู้เกี่ยวข้อง
พื้นที่สาธารณะ ให้ความสาคัญกับพื้นที่ส่วนตัว เช่น
บ้ า น จัด ส ร ร ห้ า ง ส ร ร พ สิน ค้ า
บริษัทเอกชน เป็นต้น
ให้ความสาคัญกับพื้นที่สาธารณะ เช่น
ถนนคนเดิน สวนสาธารณะ การ
ให้บริการสาธารณะต่าง ๆ เป็นต้น
ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize
Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.10.
ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งของการศึกษาครั้งนี้คือ การคานวณความเหมาะสมของความ
หนาแน่นของรถยนต์ส่วนบุคคลพร้อมกับความหนาแน่นของประชากร เนื่องด้วยรถยนต์เป็นยานพาหนะ
ที่ต้องใช้ถนนและที่จอดรถมากที่สุด เมื่อเทียบกับการเดินทางด้วยวิธีอื่น ๆ โดยเฉพาะเมืองที่มีการ
เติบโตอย่างไร้ทิศทางจะต้องใช้พื้นที่ถนนมากถึง 240 ตารางเมตรต่อรถยนต์หนึ่งคัน ในขณะที่เมืองที่
เติบโตอย่างชาญฉลาดใช้พื้นที่เพียง 80 ตารางเมตรต่อรถยนต์หนึ่งคันเท่านั้น นั่นหมายความว่า สาหรับ
เมืองที่เติบโตอย่างไร้อย่างทิศทาง การเดินทางด้วยรถยนต์หนึ่งคันนั้นใช้พื้นที่มากกว่าที่อยู่อาศัยในเมือง
หนึ่งหลังเสียอีก นอกจากนี้ การใช้รถยนต์ส่วนบุคคลยังก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัด ถนนและที่จอด
รถไม่เพียงพอ ส่งผลให้เมืองมีต้นทุนในการพัฒนาเพิ่มขึ้น พื้นที่สีเขียวลดลง สร้างมลพิษทางเสียงและ
ทางอากาศ ดังนั้น เมืองควรจากัดปริมาณการใช้รถใช้ถนน พร้อมกับจัดการที่อยู่อาศัยให้อยู่บริเวณใกล้
กัน เพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่ง และมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองเป็นหลัก
3. การใช้นโยบายภายใต้ลักษณะของเมืองที่แตกต่างกัน
ในด้านนโยบาย ทอดด์ได้แบ่งการวิเคราะห์นโยบายออกเป็น 2 ลักษณะ (ตารางที่ 2) ได้แก่
ลักษณะที่หนึ่ง คือ การใช้นโยบายบิดเบือน (policy distortion) เพื่อส่งเสริมการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง
เช่น การส่งเสริมการพัฒนาแบบแยกส่วน (dispersed development) การบิดเบือนมูลค่าการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานและการบริการให้ต่ากว่าความเป็นจริง (underpricing) และการบิดเบือนราคาของ
7
รถยนต์ส่วนบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้จากการสารวจความพึงพอใจของผู้บริโภคพบว่า หากราคาตลาดมี
ประสิทธิภาพและนโยบายมีความครอบคลุมและเป็นกลางแล้ว ผู้คนในเมืองจะมีแนวโน้มที่จะเลือกอยู่
อาศัยแบบกระจุกตัว ไม่ต้องขับรถยนต์ส่วนบุคคล และมีทางเลือกในการทากิจกรรมที่หลากหลาย
ส่วน ลักษณะที่สอง คือ การใช้นโยบายทางการตลาด (market-based policy) เพื่อปฏิรูปและ
สนับสนุนการเติบโตอย่างชาญฉลาด เช่น การส่งเสริมให้ที่อยู่อาศัยอยู่รวมกันด้วยการพัฒนาแบบ
เบ็ดเสร็จ (infill development) เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยและด้านสาธารณูปโภคของ
เมือง การลดความต้องการของที่จอดรถขั้นต่า การปรับอัตราค่าธรรมเนียมการใช้ถนนและการจอดรถให้
เป็นอัตราที่มีประสิทธิภาพ การใช้ระบบขนส่งสาธารณะแบบครบวงจร และการเรียกเก็บภาษีการใช้
รถยนต์ส่วนบุคคล เป็นต้น
ตารางที่ 2 แสดงผลกระทบจากการใช้นโยบายการบิดเบือนพร้อมทั้งวิธีแก้ไขด้วยนโยบายการปฏิรูป
การบิดเบือน ผลกระทบ การปฏิรูป
ควบคุมและจากัดความ
หนาแน่น การใช้ที่ดิน
แบบผสมผสาน และที่อยู่
อาศัย
ลดการกระจุกตัวและเพิ่มต้นทุนที่
อยู่อาศัย
ปล่อยและส่งเสริมให้มีการกระจุกตัว
และพัฒนาแบบผสมผสาน
กาหนดพื้นที่จอดรถขั้น
ต่าที่มากเกินไป
ลดการกระจุกตัว และส่งเสริมให้
ผู้คนย้ายไปอาศัยรอบ ๆ เมือง ทา
ให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วนบุคคลมาก
ขึ้น
ลดขนาดพื้นที่การจอดรถขั้นต่า
กาหนดขนาดพื้นที่จอดรถขั้นสูง
ลดค่าบริการสาธารณะให้
ต่ากว่าที่ควร
ส่งเสริมการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง
และเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ
ค่าธรรมเนียมการพัฒนาและระบบ
สาธารณูปโภคควรสะท้อนต้นทุนที่
สูงขึ้นจากการให้บริการสาธารณะใน
พื้นที่ที่เติบโตอย่างไร้ทิศทาง
ออกนโยบายด้านภาษี
สนับสนุนการซื้อบ้าน
ส่งเสริมให้มีการซื้อบ้านขนาดใหญ่
และบ้านที่อยู่บริเวณชานเมือง
ออกนโยบายด้านภาษีที่อยู่อาศัย
อย่างเป็นกลาง
วางแผนโดยเน้นการ
เดินทางด้วยรถยนต์เป็น
หลัก
ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์มากกว่า
การเดินทางด้วยวิธีอื่น ทาให้การ
เดินทางด้วยเท้าและจักรยานเสื่อม
ความนิยมไป
วางแผนและสนับสนุนทุนสาหรับ
ระบบการขนส่งอย่างเป็นกลาง
ลดค่าการขนส่งให้ต่ากว่า
ที่ควร
ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วน
บุคคล
กาหนดราคาให้มีประสิทธิภาพ
8
การบิดเบือน ผลกระทบ การปฏิรูป
ออกนโยบายด้านภาษี
สนับสนุนการเดินทาง
ด้วยรถยนต์
ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วน
บุคคลมากกว่าวิธีอื่น
ขจัดผลประโยชน์จากการเก็บภาษีที่
จอดรถ หรือปรับผลประโยชน์จาก
การเดินทางด้วยวิธีอื่นให้เท่า ๆ กัน
ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize
Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.57.
หลังจากนั้น ทอดด์ได้แบ่งเมืองออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัด
ปานกลาง และเมืองที่มีข้อจากัดมาก เพื่อให้สามารถแบ่งแยกลักษณะของเมืองตามความเหมาะสมใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 แสดงลักษณะของเมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง และเมืองที่มีข้อจากัดมาก
ปัจจัย เมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง เมืองที่มีข้อจากัดมาก
ลักษณะการเติบโต
ของเมือง
ขยายตัวได้ตามความ
ต้องการ
ขยายตัวช้ากว่าการเติบโต
ของประชากร
ขยายตัวได้เล็กน้อย
ความหนาแน่น (คน
ต่อตารางกิโลเมตร)
2,000-6,000 4,000-10,000 8,000 ขึ้นไป
ประเภทที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่มี
ขนาดเล็ก เหมาะกับ
ครอบครัวเดี่ยว และอยู่
ติดกัน
สัดส่วนของครอบครัวเดี่ยว
และครอบครัวใหญ่มีจานวน
เท่า ๆ กัน
ส่วนมากเป็นครอบครัว
ใหญ่
จานวนรถยนต์ (คัน
ต่อ 1,000 คน)
300-400 200-300 น้อยกว่า 200
สัดส่วนผู้ใช้รถยนต์
ส่วนบุคคล
ร้อยละ 20-50 ร้อยละ 10-20 น้อยกว่าร้อยละ 10
สัดส่วนพื้นที่ถนน
และที่จอดรถ
ร้อยละ 10-15 ร้อยละ 15-20 ร้อยละ 20-25
ตัวอย่างเช่น เมืองแถบแอฟริกาและ
อเมริกัน
เมืองแถบยุโรปและเอเชีย เมืองสิงคโปร์ เมือง
ฮ่องกง เมืองมาเล่ (Male)
และเมืองวาติกัน
ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize
Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.7.
9
จากลักษณะของเมืองข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า นโยบายสาหรับเมืองที่ไม่มีข้อจากัดจึงควรเน้น
การส่งเสริมให้คนเมืองอาศัยอยู่รอบพื้นที่ย่านการค้าอย่างหนาแน่น มีความหลากหลาย และสามารถ
เข้าถึงได้ อีกทั้งรัฐควรสนับสนุนผู้ใช้รถยนต์ให้น้อยลง โดยให้ความสาคัญเฉพาะกับถนนสายหลักและ
ปรับที่จอดรถให้มีประสิทธิภาพเท่านั้น และควรส่งเสริมการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และรถประจาทาง
เป็นสาคัญ ส่วนเมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง รัฐควรหยุดสนับสนุนผู้ใช้รถยนต์ พร้อมกับผลักภาระ
ค่าใช้จ่ายไปให้ผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัว เช่น เพิ่มค่าที่จอดรถ เพิ่มค่าธรรมเนียมการใช้ถนน แล้วหันไปสร้าง
ทางเท้า ทางจักรยาน และระบบขนส่งสาธารณะ และสาหรับเมืองที่มีข้อจากัดมาก นโยบายควร
เสริมสร้างเมืองให้มีการกระจุกตัวและมีความน่าอยู่ไปพร้อมกัน มีการออกแบบถนนเพื่อรองรับกิจกรรม
ที่หลากหลายและมีพื้นที่สีเขียว พื้นที่อาคารที่อยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกและมีพื้นที่ส่วนตัวทั้งใน
และนอกอาคาร อีกทั้งผู้คนต้องสามารถเดินทางด้วยการเดินเท้า ขี่จักรยาน และใช้บริการขนส่ง
สาธารณะได้อย่างสะดวกสบาย พร้อมกันนี้ รัฐต้องเข้มงวดกับผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นอย่างมาก
อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเมืองแต่ละประเภทให้มีความกระจุกตัวนั้นต้องคานึงถึงความน่าอยู่และ
ลักษณะอยู่ติดกันด้วยการออกแบบถนนภายในเมืองให้มีความน่าสนใจและสามารถใช้ทากิจกรรมได้
หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการทาเป็นทางเท้า ร้านค้า ร้านคาเฟ่ สวน และที่ร่มเงา นอกจากนี้ยังควรสร้าง
ที่จอดรถและระบบขนส่งสาธารณะควบคู่กันไป มีการลงทุนบริการสาธารณะ เช่น สถานีตารวจโรงเรียน
และระบบสาธารณูปโภคให้มีคุณภาพ และสร้างเสริมปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างผู้อยู่อาศัยด้วยการ
สร้างเทศกาลท้องถิ่น ตลาดนัด สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และศูนย์วัฒนธรรม เป็นต้น
4. บทสรุป
หากเมืองมีนโยบายสาธารณะและการออกแบบการพัฒนาเมืองที่ดีแล้ว ทุกคนจะสามารถได้รับ
ผลประโยชน์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และเมืองจะสามารถกระจายทรัพยากรด้านที่อยู่อาศัยและระบบ
ขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุดท้ายแล้วชุมชนเมืองที่มีความน่าอยู่และอุดมสมบูรณ์จะก่อตัวกลายเป็น
เกราะป้องกันสิ่งแวดล้อมของโลกได้อย่างยั่งยืน
ด้วยสาระสาคัญทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เราตระหนักถึงความเหมาะสมในการกาหนด
นโยบายและการนานโยบายไปใช้เพื่อการพัฒนาอนาคตของเมืองอันจะสร้างชุมชนในเมืองไทยให้มีความ
ยั่งยืนและมีสุขภาวะ ทั้งนี้ ทางแผนงานฯ จะมีการพัฒนางานศึกษา งานวิจัยและนาไปพัฒนาเมืองไทย
ต่อไปในอนาคต
10
บรรณานุกรม
Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize
Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute.

Contenu connexe

Tendances

Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
FURD_RSU
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
FURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
FURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
FURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
FURD_RSU
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 

Tendances (20)

สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
 
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลาHeritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 

En vedette

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
boomlonely
 

En vedette (15)

การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
 

Similaire à นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ

FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD_RSU
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
Sarit Tiyawongsuwan
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
Tananya Jangouksom
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
domwitlism
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD_RSU
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD_RSU
 

Similaire à นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ (20)

FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
868 file1
868 file1868 file1
868 file1
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีนการบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
การบริหารจัดการเมืองสีเขียวของจีน
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 

Plus de FURD_RSU

Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 

นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ

  • 2. 2 นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ สรุปและเรียบเรียงโดย อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง 1. บทนา แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง (นพม.) มีความพยายามมุ่งค้นหา เครื่องมือและนโยบายที่จะนาไปสู่การพัฒนาเมืองของไทยให้มีความยั่งยืนและมีสุขภาวะมาโดยตลอด เมื่อได้ศึกษางานวิจัยของทอดด์ ลิทแมน (2015)1 ทาให้เราเข้าใจถึงแนวคิดและแนวทางในการกาหนด นโยบายการพัฒนาเมืองภายใต้ลักษณะของเมืองที่แตกต่างกัน ซึ่งทอดด์ได้ทาการวิเคราะห์และอธิบาย ไว้อย่างน่าสนใจ สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ ในแรกเริ่มทอดด์ได้หยิบยกประเด็นคาถามที่ว่า “เมืองควรพัฒนาอย่างไร ?” ซึ่งเป็นคาถาม สาคัญที่มีการถกเถียงกันมาเป็นระยะเวลานานมากแล้ว ประกอบกับในห้วงเวลานี้โลกอยู่ในระยะการ ขยายตัวของความเป็นเมือง (urbanization) ดังที่สหประชาชาติคาดการณ์ไว้ว่า ระหว่างปี ค.ศ. 1950 กับ ค.ศ. 2050 ผู้คนจะย้ายถิ่นไปอาศัยอยู่ในเขตเมืองเพิ่มขึ้นมากถึง 4 เท่า หรือคิดเป็นร้อยละ 80 ของ ประชากรโลก อีกทั้งการพัฒนาเมืองนั้นจะสร้างผลกระทบต่อทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น เมืองแต่ละแห่งจึงควรค้นหานโยบายการพัฒนาเมืองที่เหมาะสมและยั่งยืน เพื่อให้คนรุ่นหลังสามารถสืบ ทอดต่อไปได้ งานเขียนชิ้นนี้ได้นาเสนอแนวทางการปฏิบัติในการพัฒนาเมืองให้มีสุขภาวะและมีความมั่งคั่ง อย่างชาญฉลาด ไม่ว่าจะเป็นการสร้างที่อยู่อาศัยให้มีสุขภาวะและสามารถดึงดูดผู้คนมาอยู่อาศัยได้ การ ส่งเสริมเศรษฐกิจเมืองให้มีความเจริญเติบโต พร้อมกับการสร้างสังคมให้มีชีวิตชีวาและมีความเป็นธรรม ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ผ่านต้นทุนและผลประโยชน์ (cost-benefit analysis) จากการพัฒนาใน หลากหลายรูปแบบ และค้นหาแนวทางการขยายตัวของเมืองที่เหมาะสมผ่านปัจจัยความหนาแน่น ประชากร ลักษณะที่อยู่อาศัย และระบบการขนส่งภายในเมือง 2. ลักษณะการเติบโตกับการพัฒนาเมือง ในการศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเมืองออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การเติบโตอย่างไร้ ทิศทาง (sprawl growth) และการเติบโตอย่างชาญฉลาด (smart growth) 2.1 การเติบโตอย่างชาญฉลาด (smart growth) การเติบโตอย่างชาญฉลาดนับเป็นแนวทางในการพัฒนาเมืองให้มีความปลอดภัยและสร้างสุข ภาวะให้คนในเมืองด้วยการลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล เพิ่มปริมาณการเดินทางด้วยเท้าและ 1 Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute.
  • 3. 3 จักรยาน ก่อให้เกิดปัญหาการจราจรน้อยกว่าเมืองที่เติบโตอย่างไร้ทิศทาง เมืองที่เติบโตอย่างชาญฉลาด จึงส่งเสริมคนเมืองให้มีสุขภาพดีและแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุนการบริการสุขภาพที่มักเกิดจาก ความเฉื่อยชาและความอ้วนอีกด้วย นอกจากนี้ผลวิจัยยังชี้ให้เห็นว่า การเติบโตอย่างชาญฉลาดจะช่วย เพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจจากการที่เมืองมีโอกาสในการเข้าถึง (accessibility) มากขึ้นด้วยเหตุผล หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพจากการรวมตัว (agglomeration efficiency) ต้นทุนในการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานและระบบการขนส่งลดลง และมูลค่าการนาเข้าน้ามันเชื้อเพลิงลดลง ปัจจัยเหล่านี้ล้วน เป็นสิ่งสาคัญสาหรับการพัฒนาเมืองในประเทศกาลังพัฒนาที่ต้องการประสิทธิภาพในการจัดสรร ทรัพยากรเป็นอย่างยิ่ง 2.2 การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง (sprawl growth) การเติบโตอย่างไร้ทิศทางถือเป็นตัวทาลายผลประโยชน์ทั้งทางด้านกายภาพและเศรษฐกิจ เพราะต่างคนต่างพยายามหลีกเลี่ยงปัญหาความแออัดอันจะก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมา เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการกีดกันทางสังคม เป็นต้น ส่งผลให้ที่อยู่อาศัยของครัวเรือนในเมืองมี แนวโน้มห่างกันมากขึ้น และหันไปเน้นการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นหลัก ทาให้ผู้คนในเมืองสามารถ เข้าถึงการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการบริการขนส่งสาธารณะได้น้อยลง ในทางตรงกันข้าม ผล จากงานวิจัยระบุว่า การกระจุกตัวของผู้อยู่อาศัย (compact) การใช้พื้นที่แบบผสมผสาน (mix) และการมี ระบบขนส่งสาธารณะแบบครบวงจร (multi-modal) มิได้ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมดังกล่าว แต่กลับช่วย ส่งเสริมความเสมอภาคและบรรเทาปัญหาอาชญากรรมอีกด้วย เนื่องจากเป็นการเพิ่มระดับการเฝ้าระวัง เชิงรับ (passive surveillance) กล่าวคือ การกระจุกตัวของประชากรในเมืองทาให้เมืองมีผู้คนจานวน มากคอยจับตาดูสอดส่องและรายงานสถานการณ์ของเมืองอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังช่วย สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงอีกด้วย ซึ่งแตกต่างจากผลกระทบจากการเติบโต อย่างไร้ทิศทางที่ให้ผลในทางลบเสียเป็นส่วนใหญ่ โดยสามารถแบ่งขั้นของผลกระทบออกเป็น 2 ขั้น (แผนภาพที่ 1) ดังนี้ ขั้นที่1 การเติบโตอย่างไร้ทิศทางมีส่วนทาให้ปริมาณการใช้ที่ดินต่อหัวเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้เมือง สูญเสียพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินในด้านอื่น ๆ เป็นจานวนมาก อีกทั้งการเติบโตลักษณะนี้ยังเป็นการ เพิ่มระยะทางระหว่างกิจกรรม เช่น ระยะทางจากบ้านไปโรงเรียน ที่ทางาน หรือห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ส่งผลให้มูลค่าความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานต่อหัวเพิ่มสูงขึ้น และผู้คนในเมืองต่างต้องใช้เวลาเพิ่ม มากขึ้นในการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง ขั้นที่2 จากผลกระทบในขั้นที่ 1 จะส่งผลให้ผลิตภาพทางการเกษตรลดลง สิ่งแวดล้อมเกิดความ เสื่อมโทรม ต้นทุนในการบริหารจัดการเมืองและการบริการของรัฐเพิ่มสูงขึ้น ผู้ไม่มีรถยนต์สามารถ เข้าถึงเมืองได้น้อยลง และต้นทุนการขนส่ง ทั้งค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับยานพาหนะ ระยะเวลาในการขนส่ง ปัญหาการจราจร อุบัติเหตุ และการปล่อยมลพิษเพิ่มสูงขึ้น
  • 5. 5 2.3 ความแตกต่างของเมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางกับเมืองที่มีการเติบโต อย่างชาญฉลาด หากเปรียบเทียบการเติบโตอย่างไร้ทิศทางและการเติบโตอย่างชาญฉลาด โดยแบ่งเมืองใน ประเทศสหรัฐอเมริกาออกเป็น 5 ส่วน (quintile) เรียงลาดับจากเมืองที่เติบโตอย่างชาญฉลาดมากที่สุด ไปยังเมืองที่เติบโตอย่างไร้ทิศทางมากที่สุด และประมาณค่าต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการเติบโตอย่างไร้ ทิศทาง ยกตัวอย่างเช่น การที่ระยะห่างระหว่างบ้าน ภาคธุรกิจ ภาคการบริการ และที่ทางานเพิ่มขึ้น จะ ทาให้ต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและการบริการสาธารณะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10-40 เมื่อ ใช้ข้อมูลต้นทุนนี้ในการวิเคราะห์แล้วจะพบว่า เมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางมากที่สุด 1 ใน 5 ของ เมืองทั้งหมดมีต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเฉลี่ย 750 ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี ในขณะที่เมืองที่ มีการเติบโตอย่างชาญฉลาดมากที่สุด 1 ใน 5 ของเมืองทั้งหมดมีต้นทุนในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน เฉลี่ย 500 ดอลลาร์สหรัฐต่อคนต่อปี นอกจากนี้ เมืองที่มีการเติบโตอย่างไร้ทิศทางจะมีปริมาณการใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ 20-50 และมีปริมาณการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการบริการ ขนส่งสาธารณะลดลงร้อยละ 40-80 เมื่อเปรียบเทียบกับเมืองที่มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด ยิ่งไปกว่า นั้น ปริมาณการเดินทางด้วยรถยนต์ที่เพิ่มมากขึ้นจะส่งผลให้ต้นทุนการเดินทางของผู้ใช้รถใช้ถนน เช่น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์และน้ามันเพิ่มขึ้น และต้นทุนภายนอก (external cost) เช่น ต้นทุนการสร้างที่ จอดรถภายในอาคาร ต้นทุนการดูแลรักษาถนนหนทางและที่จอดรถ ปัญหาความแออัด ความเสี่ยงใน การเกิดอุบัติเหตุ และการปล่อยมลพิษเพิ่มขึ้น ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบระหว่างการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง (sprawl growth) และการเติบโต อย่างชาญฉลาด (smart growth) ปัจจัย การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง การเติบโตอย่างชาญฉลาด ความหนาแน่น ความหนาแน่นต่า กิจกรรมต่าง ๆ แยก ออกจากกัน ความหนาแน่นสูง กิจกรรมต่าง ๆ อยู่ รวมกัน การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่ดินแต่ละแห่งถูกใช้เพื่อจุดประสงค์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้แบบผสมผสาน รูปแบบการเติบโต ขยายออกไปบริเวณรอบ ๆ เมือง เติมเต็มพื้นที่ว่างในเมือง ขนาด สถานที่มีขนาดใหญ่ ถนนมีขนาดกว้าง พื้นที่มีขนาดพอเหมาะกับคน ถนนมี ขนาดไม่กว้างมาก ภาคการบริการ เช่น ร้านค้า โรงเรียน สวนสาธารณะ เป็นต้น) อยู่รวมเป็นกลุ่มตามภูมิภาค มีขนาด ใหญ่ ต้องอาศัยการเดินทางด้วยรถยนต์ กระจายอยู่ตามท้องถิ่น มีขนาดเล็ก สามารถเดินทางด้วยเท้าได้
  • 6. 6 ปัจจัย การเติบโตอย่างไร้ทิศทาง การเติบโตอย่างชาญฉลาด ระบบการขนส่ง เน้นการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ไม่เหมาะ กับการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และ การขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งแบบครบวงจร สนับสนุน การเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และการ ขนส่งสาธารณะ การเชื่อมต่อ เน้นโครงข่ายถนนเป็นหลัก ขาดการ เชื่อมต่อระหว่างถนนกับทางเท้า เส้นทางมีการเชื่อมต่อระหว่างถนนกับ ทางเท้าเป็นจานวนมาก การออกแบบถนน รองรับการจราจรของรถยนต์ให้ได้มาก ที่สุดและเร็วที่สุด ใช้หลักความสมบูรณ์ของถนนที่ต้องมี ความหลากหลายด้านการใช้งานและ กิจกรรม กระบวนการวางแผน ไม่มีการวางแผน ขาดการร่วมมือ ระหว่างผู้มีอานาจและผู้เกี่ยวข้อง มีการวางแผน มีการร่วมมือระหว่างผู้ มีอานาจและผู้เกี่ยวข้อง พื้นที่สาธารณะ ให้ความสาคัญกับพื้นที่ส่วนตัว เช่น บ้ า น จัด ส ร ร ห้ า ง ส ร ร พ สิน ค้ า บริษัทเอกชน เป็นต้น ให้ความสาคัญกับพื้นที่สาธารณะ เช่น ถนนคนเดิน สวนสาธารณะ การ ให้บริการสาธารณะต่าง ๆ เป็นต้น ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.10. ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งของการศึกษาครั้งนี้คือ การคานวณความเหมาะสมของความ หนาแน่นของรถยนต์ส่วนบุคคลพร้อมกับความหนาแน่นของประชากร เนื่องด้วยรถยนต์เป็นยานพาหนะ ที่ต้องใช้ถนนและที่จอดรถมากที่สุด เมื่อเทียบกับการเดินทางด้วยวิธีอื่น ๆ โดยเฉพาะเมืองที่มีการ เติบโตอย่างไร้ทิศทางจะต้องใช้พื้นที่ถนนมากถึง 240 ตารางเมตรต่อรถยนต์หนึ่งคัน ในขณะที่เมืองที่ เติบโตอย่างชาญฉลาดใช้พื้นที่เพียง 80 ตารางเมตรต่อรถยนต์หนึ่งคันเท่านั้น นั่นหมายความว่า สาหรับ เมืองที่เติบโตอย่างไร้อย่างทิศทาง การเดินทางด้วยรถยนต์หนึ่งคันนั้นใช้พื้นที่มากกว่าที่อยู่อาศัยในเมือง หนึ่งหลังเสียอีก นอกจากนี้ การใช้รถยนต์ส่วนบุคคลยังก่อให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัด ถนนและที่จอด รถไม่เพียงพอ ส่งผลให้เมืองมีต้นทุนในการพัฒนาเพิ่มขึ้น พื้นที่สีเขียวลดลง สร้างมลพิษทางเสียงและ ทางอากาศ ดังนั้น เมืองควรจากัดปริมาณการใช้รถใช้ถนน พร้อมกับจัดการที่อยู่อาศัยให้อยู่บริเวณใกล้ กัน เพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่ง และมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองเป็นหลัก 3. การใช้นโยบายภายใต้ลักษณะของเมืองที่แตกต่างกัน ในด้านนโยบาย ทอดด์ได้แบ่งการวิเคราะห์นโยบายออกเป็น 2 ลักษณะ (ตารางที่ 2) ได้แก่ ลักษณะที่หนึ่ง คือ การใช้นโยบายบิดเบือน (policy distortion) เพื่อส่งเสริมการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง เช่น การส่งเสริมการพัฒนาแบบแยกส่วน (dispersed development) การบิดเบือนมูลค่าการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานและการบริการให้ต่ากว่าความเป็นจริง (underpricing) และการบิดเบือนราคาของ
  • 7. 7 รถยนต์ส่วนบุคคล เป็นต้น ทั้งนี้จากการสารวจความพึงพอใจของผู้บริโภคพบว่า หากราคาตลาดมี ประสิทธิภาพและนโยบายมีความครอบคลุมและเป็นกลางแล้ว ผู้คนในเมืองจะมีแนวโน้มที่จะเลือกอยู่ อาศัยแบบกระจุกตัว ไม่ต้องขับรถยนต์ส่วนบุคคล และมีทางเลือกในการทากิจกรรมที่หลากหลาย ส่วน ลักษณะที่สอง คือ การใช้นโยบายทางการตลาด (market-based policy) เพื่อปฏิรูปและ สนับสนุนการเติบโตอย่างชาญฉลาด เช่น การส่งเสริมให้ที่อยู่อาศัยอยู่รวมกันด้วยการพัฒนาแบบ เบ็ดเสร็จ (infill development) เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยและด้านสาธารณูปโภคของ เมือง การลดความต้องการของที่จอดรถขั้นต่า การปรับอัตราค่าธรรมเนียมการใช้ถนนและการจอดรถให้ เป็นอัตราที่มีประสิทธิภาพ การใช้ระบบขนส่งสาธารณะแบบครบวงจร และการเรียกเก็บภาษีการใช้ รถยนต์ส่วนบุคคล เป็นต้น ตารางที่ 2 แสดงผลกระทบจากการใช้นโยบายการบิดเบือนพร้อมทั้งวิธีแก้ไขด้วยนโยบายการปฏิรูป การบิดเบือน ผลกระทบ การปฏิรูป ควบคุมและจากัดความ หนาแน่น การใช้ที่ดิน แบบผสมผสาน และที่อยู่ อาศัย ลดการกระจุกตัวและเพิ่มต้นทุนที่ อยู่อาศัย ปล่อยและส่งเสริมให้มีการกระจุกตัว และพัฒนาแบบผสมผสาน กาหนดพื้นที่จอดรถขั้น ต่าที่มากเกินไป ลดการกระจุกตัว และส่งเสริมให้ ผู้คนย้ายไปอาศัยรอบ ๆ เมือง ทา ให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วนบุคคลมาก ขึ้น ลดขนาดพื้นที่การจอดรถขั้นต่า กาหนดขนาดพื้นที่จอดรถขั้นสูง ลดค่าบริการสาธารณะให้ ต่ากว่าที่ควร ส่งเสริมการเติบโตอย่างไร้ทิศทาง และเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ ค่าธรรมเนียมการพัฒนาและระบบ สาธารณูปโภคควรสะท้อนต้นทุนที่ สูงขึ้นจากการให้บริการสาธารณะใน พื้นที่ที่เติบโตอย่างไร้ทิศทาง ออกนโยบายด้านภาษี สนับสนุนการซื้อบ้าน ส่งเสริมให้มีการซื้อบ้านขนาดใหญ่ และบ้านที่อยู่บริเวณชานเมือง ออกนโยบายด้านภาษีที่อยู่อาศัย อย่างเป็นกลาง วางแผนโดยเน้นการ เดินทางด้วยรถยนต์เป็น หลัก ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์มากกว่า การเดินทางด้วยวิธีอื่น ทาให้การ เดินทางด้วยเท้าและจักรยานเสื่อม ความนิยมไป วางแผนและสนับสนุนทุนสาหรับ ระบบการขนส่งอย่างเป็นกลาง ลดค่าการขนส่งให้ต่ากว่า ที่ควร ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วน บุคคล กาหนดราคาให้มีประสิทธิภาพ
  • 8. 8 การบิดเบือน ผลกระทบ การปฏิรูป ออกนโยบายด้านภาษี สนับสนุนการเดินทาง ด้วยรถยนต์ ส่งเสริมให้ผู้คนใช้รถยนต์ส่วน บุคคลมากกว่าวิธีอื่น ขจัดผลประโยชน์จากการเก็บภาษีที่ จอดรถ หรือปรับผลประโยชน์จาก การเดินทางด้วยวิธีอื่นให้เท่า ๆ กัน ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.57. หลังจากนั้น ทอดด์ได้แบ่งเมืองออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัด ปานกลาง และเมืองที่มีข้อจากัดมาก เพื่อให้สามารถแบ่งแยกลักษณะของเมืองตามความเหมาะสมใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงลักษณะของเมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง และเมืองที่มีข้อจากัดมาก ปัจจัย เมืองที่ไม่มีข้อจากัด เมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง เมืองที่มีข้อจากัดมาก ลักษณะการเติบโต ของเมือง ขยายตัวได้ตามความ ต้องการ ขยายตัวช้ากว่าการเติบโต ของประชากร ขยายตัวได้เล็กน้อย ความหนาแน่น (คน ต่อตารางกิโลเมตร) 2,000-6,000 4,000-10,000 8,000 ขึ้นไป ประเภทที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่มี ขนาดเล็ก เหมาะกับ ครอบครัวเดี่ยว และอยู่ ติดกัน สัดส่วนของครอบครัวเดี่ยว และครอบครัวใหญ่มีจานวน เท่า ๆ กัน ส่วนมากเป็นครอบครัว ใหญ่ จานวนรถยนต์ (คัน ต่อ 1,000 คน) 300-400 200-300 น้อยกว่า 200 สัดส่วนผู้ใช้รถยนต์ ส่วนบุคคล ร้อยละ 20-50 ร้อยละ 10-20 น้อยกว่าร้อยละ 10 สัดส่วนพื้นที่ถนน และที่จอดรถ ร้อยละ 10-15 ร้อยละ 15-20 ร้อยละ 20-25 ตัวอย่างเช่น เมืองแถบแอฟริกาและ อเมริกัน เมืองแถบยุโรปและเอเชีย เมืองสิงคโปร์ เมือง ฮ่องกง เมืองมาเล่ (Male) และเมืองวาติกัน ที่มา: แปลจาก Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute, p.7.
  • 9. 9 จากลักษณะของเมืองข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า นโยบายสาหรับเมืองที่ไม่มีข้อจากัดจึงควรเน้น การส่งเสริมให้คนเมืองอาศัยอยู่รอบพื้นที่ย่านการค้าอย่างหนาแน่น มีความหลากหลาย และสามารถ เข้าถึงได้ อีกทั้งรัฐควรสนับสนุนผู้ใช้รถยนต์ให้น้อยลง โดยให้ความสาคัญเฉพาะกับถนนสายหลักและ ปรับที่จอดรถให้มีประสิทธิภาพเท่านั้น และควรส่งเสริมการเดินทางด้วยเท้า จักรยาน และรถประจาทาง เป็นสาคัญ ส่วนเมืองที่มีข้อจากัดปานกลาง รัฐควรหยุดสนับสนุนผู้ใช้รถยนต์ พร้อมกับผลักภาระ ค่าใช้จ่ายไปให้ผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัว เช่น เพิ่มค่าที่จอดรถ เพิ่มค่าธรรมเนียมการใช้ถนน แล้วหันไปสร้าง ทางเท้า ทางจักรยาน และระบบขนส่งสาธารณะ และสาหรับเมืองที่มีข้อจากัดมาก นโยบายควร เสริมสร้างเมืองให้มีการกระจุกตัวและมีความน่าอยู่ไปพร้อมกัน มีการออกแบบถนนเพื่อรองรับกิจกรรม ที่หลากหลายและมีพื้นที่สีเขียว พื้นที่อาคารที่อยู่อาศัยมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกและมีพื้นที่ส่วนตัวทั้งใน และนอกอาคาร อีกทั้งผู้คนต้องสามารถเดินทางด้วยการเดินเท้า ขี่จักรยาน และใช้บริการขนส่ง สาธารณะได้อย่างสะดวกสบาย พร้อมกันนี้ รัฐต้องเข้มงวดกับผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัวเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเมืองแต่ละประเภทให้มีความกระจุกตัวนั้นต้องคานึงถึงความน่าอยู่และ ลักษณะอยู่ติดกันด้วยการออกแบบถนนภายในเมืองให้มีความน่าสนใจและสามารถใช้ทากิจกรรมได้ หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการทาเป็นทางเท้า ร้านค้า ร้านคาเฟ่ สวน และที่ร่มเงา นอกจากนี้ยังควรสร้าง ที่จอดรถและระบบขนส่งสาธารณะควบคู่กันไป มีการลงทุนบริการสาธารณะ เช่น สถานีตารวจโรงเรียน และระบบสาธารณูปโภคให้มีคุณภาพ และสร้างเสริมปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างผู้อยู่อาศัยด้วยการ สร้างเทศกาลท้องถิ่น ตลาดนัด สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และศูนย์วัฒนธรรม เป็นต้น 4. บทสรุป หากเมืองมีนโยบายสาธารณะและการออกแบบการพัฒนาเมืองที่ดีแล้ว ทุกคนจะสามารถได้รับ ผลประโยชน์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และเมืองจะสามารถกระจายทรัพยากรด้านที่อยู่อาศัยและระบบ ขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุดท้ายแล้วชุมชนเมืองที่มีความน่าอยู่และอุดมสมบูรณ์จะก่อตัวกลายเป็น เกราะป้องกันสิ่งแวดล้อมของโลกได้อย่างยั่งยืน ด้วยสาระสาคัญทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เราตระหนักถึงความเหมาะสมในการกาหนด นโยบายและการนานโยบายไปใช้เพื่อการพัฒนาอนาคตของเมืองอันจะสร้างชุมชนในเมืองไทยให้มีความ ยั่งยืนและมีสุขภาวะ ทั้งนี้ ทางแผนงานฯ จะมีการพัฒนางานศึกษา งานวิจัยและนาไปพัฒนาเมืองไทย ต่อไปในอนาคต
  • 10. 10 บรรณานุกรม Todd Litman. 2015. “Analysis of Public Policies That Unintentionally Encourage and Subsidize Urban Sprawl.” Victoria Transport Policy Institute.