SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
1
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
บทนา
ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ภายหลังการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ที่มุ่งกระจายความเจริญไปยังเมืองหลักในภูมิภาคต่างๆ ทั้งศูนย์กลางราชการ การศึกษา
สาธารณสุข โลจิสติกส์ ทาให้เมืองต่างๆ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยภาครัฐและเอกชน อีกทั้งยัง
ทาให้เกิดการย้ายถิ่นฐานจากชนบทเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองมากขึ้น เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของตน ทาให้
ประเทศไทยมีอัตราส่วนความเป็นเมืองมากขึ้นตามลาดับ ปัจจุบันปีพ.ศ. 2557 ความเป็นเมืองของไทย
อยู่ที่ร้อยละ 43.79 เพิ่มขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2546 ที่มีความเป็นเมืองร้อยละ 22.06 ถึงร้อยละ 21.43
(ภาพที่ 1) (ภาพที่ 2)
ภาพที่ 1 แผนที่แสดงความเป็นเมืองของประเทศไทย พ.ศ. 2546
ภาพที่ 2 แผนที่แสดงความเป็นเมืองของประเทศไทย พ.ศ. 2557
2
การพัฒนาเมืองในด้านต่างๆก่อให้เกิดการขยายตัวของเมือง (Urban Expansion) ที่แผ่ขยาย
ออกจากศูนย์กลางความเจริญเดิมไปยังพื้นที่ชานเมือง เพื่อให้เกิดความเข้าใจลักษณะการขยายตัวและ
การพัฒนาของเมืองที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมของเมืองต่างๆในประเทศไทย
ในงานวิจัยนี้สนใจศึกษาแนวโน้มรูปแบบการขยายตัวของเมือง และพื้นที่สีเขียวภายในเมืองโดย
การนาระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) เข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อทาความเข้าใจปรากฏการณ์ของเมือง ในแง่
การขยายตัวและขนาดของพื้นที่สีเขียวของเมือง ซึ่งมีแนวทางการวิเคราะห์ดังนี้
2. แนวคิดการวิเคราะห์การขยายตัวของเมือง
การขยายตัวของเมืองนั้นสามารถวิเคราะห์ได้จากการใช้ที่ดินของเมือง อันเป็นผลมาจาก
กิจกรรมของชาวเมือง เช่น พื้นที่ทางเศรษฐกิจ พื้นที่ที่อยู่อาศัย อนึ่ง การศึกษาการใช้ที่ดินของเมืองนั้น
มีข้อจากัดประการหนึ่งคือ ข้อมูลภูมิสารสนเทศของเมือง ที่ต้องใช้เวลานานในการสารวจและการจัดทา
ข้อมูล จากนั้นจึงเอาข้อมูลภูมิสารเทศเหล่านี้มาเปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่สนใจ จึงได้ผลลัพธ์ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและมีรูปแบบการขยายตัวของเมืองแต่ละเมืองอย่างไร เป็นต้น ทว่าภายใต้
ข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ที่จากัดผู้วิจัยจึงศึกษาวิธีการอื่นๆที่สามารถศึกษาปรากฏการณ์
ดังกล่าวได้ โดยวิธีการที่ใช้คือ การประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล โดยใช้ข้อมูลถนนศึกษา
ทิศทางและรูปแบบการขยายตัว และขอบเขตเมืองตามภูมิศาสตร์ (Geographical boundary) ของแต่ละ
เมืองในประเทศไทยได้
การคานวณการประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล เป็นการประมาณค่าโดยการจัดกลุ่ม
ข้อมูลเชิงพื้นที่ เช่น ข้อมูลจุด (Point) ตัวอย่างเช่น ข้อมูลต้นไม้แต่ละต้น ข้อมูลจุดเกิดอาชญากรรมเป็น
ต้น และข้อมูลเส้น (Line) ตัวอย่างเช่น ข้อมูลแม่น้า ข้อมูลถนน เป็นต้น ให้เข้ามาเป็นกลุ่มเดียวกัน โดย
ผลลัพธ์ที่ได้คือบริเวณใดที่มีข้อมูลกระจุกตัวอยู่มาก ก็จะมีความหนาแน่นมาก หากบริเวณใดมีข้อมูลอยู่
น้อย ยกตัวอย่างเช่น มีถนนอยู่เส้นเดียวก็จะมีความหนาแน่นของถนนต่อพื้นที่น้อย เป็นต้น หากใช้
ข้อมูลเส้น เช่น ถนน ก็จะได้ความหนาแน่นของถนนหน่วย เมตรต่อตารางเมตร
การศึกษาถนนโดยใช้วิธีการนี้มีสมมติฐานว่า การพัฒนาของถนนเป็นความเจริญ โดยพื้นที่ไหน
ที่มีความหนานแน่นของถนนมากก็จะมีความเจริญมาก มีการตั้งถิ่นฐานที่มีการวางแผนมาล่วงหน้า
ไม่ได้เป็นการตั้งถิ่นฐานตามแนวยาวของถนนที่ไม่มีการวางแผน นอกจากนี้ยังสามารถแยกเขตเมืองกับ
เขตชนบทที่มีความแตกต่างกัน ในเขตเมืองมีโครงข่ายถนนมากกว่าเขตชนบท อันเป็นผลมาจากการ
พัฒนาเพื่อการตั้งถิ่นฐานและกิจกรรมต่างๆของเมือง ดังนั้นเราจึงสามารถใช้ความหนาแน่นของถนนใน
3
การแบ่งเขตเมืองกับชนบท อีกทั้งยังสามารถศึกษาการขยายตัวของเมืองไปยังบริเวณชานเมืองรอบๆได้
อีกด้วย
นอกจากนี้งานวิจัยนี้มีการนาค่าเฉลี่ยทางสถิติ กล่าวคือ ค่าการกระจาย (ค่าความแปรปรวน)
ของถนนของแต่ละเมืองกับพื้นที่โดยรอบเพื่อสนับสนุนการการประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล
หากพื้นที่ใดที่มีค่าความแปรปรวนมากก็จะถือว่ามีการพัฒนาสร้างถนนที่กระจายตัวไม่ได้วางกระจุกตัว
ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ถึงแม้ว่ามีความยาวของถนนต่อพื้นที่มากก็ตาม
3. แนวคิดการวิเคราะห์พื้นทีสีเขียวในเมือง
การศึกษาพื้นที่สีเขียวภายในเมืองนั้นศึกษาจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม โดยการศึกษานี้ใช้
ภาพถ่ายดาวเทียวแลนด์แซท 8 จากนั้นจึงใช้วิธีการ Parallelepiped แยกวัตถุออกเป็นสองประเภท
ได้แก่ พื้นที่สีเขียว และพื้นที่อื่นๆ กล่าวคือ พื้นที่สีเขียวนั้นเป็นพื้นที่ที่มีต้นไม้ปกคลุม และพื้นที่อื่นๆที่
ไม่พบต้นไม้ เช่น แหล่งน้า ที่ดินโล่ง สิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น หากต้นไม้บังสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ เช่น อาคาร
บ้านเรือน ผลการวิเคราะห์ที่ได้ก็จะเป็นพื้นที่สีเขียว การศึกษาวิธีนี้สามารถใช้ได้กับพื้นที่เมือง
เนื่องจากเมืองเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดินที่ส่วนใหญ่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกต้นไม้
น้อยโดยเฉพาะเมืองในประเทศไทย
เมื่อได้ผลการศึกษาของพื้นที่สีเขียวภายในเมืองแล้วจึงนามาเปรียบเทียบอัตราส่วนของพื้นที่สี
เขียวของแต่ละเมือง กับอัตราส่วนประชากรต่อพื้นที่สีเขียวว่าในแต่ละเมืองมีอัตราส่วนเป็นอย่างไร ซึ่งจะ
ตัวชี้วัดหนึ่งที่สาคัญในการจัดอันดับเมืองสุขภาวะที่ดีของไทยได้อีกด้วย

Contenu connexe

Tendances

Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
simrc
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2
Chattichai
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
Watcharin Chongkonsatit
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Poonyawee Pimman
 

Tendances (20)

เมืองขอนแก่น :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองขอนแก่น :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองขอนแก่น :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองขอนแก่น :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรงสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
36.กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติผิดวินัย
36.กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติผิดวินัย36.กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติผิดวินัย
36.กรณีตัวอย่างพฤติกรรมข้าราชการที่ประพฤติผิดวินัย
 
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
 
Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
Seoul internationalurbandevelopmentcollaboration 20140517
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
การวิเคราะห์ค่าความเป็นเมือง
การวิเคราะห์ค่าความเป็นเมืองการวิเคราะห์ค่าความเป็นเมือง
การวิเคราะห์ค่าความเป็นเมือง
 
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพบทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
Introduction to TOD
Introduction to TODIntroduction to TOD
Introduction to TOD
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

En vedette

งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
boomlonely
 

En vedette (20)

เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองเชียงใหม่ :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองสงขลา: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมืองร้อยเอ็ด :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองร้อยเอ็ด :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวเมืองร้อยเอ็ด :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
เมืองร้อยเอ็ด :การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
 
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลการหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
การหาพื้นที่เหมาะสมจัดทำพื้นที่อยู่อาศัยรองรับชุมชนคูคลองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
powerpoint
powerpointpowerpoint
powerpoint
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
 
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furdโครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัย วิติยา Furd
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 

Plus de FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว

  • 1. 1 การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว บทนา ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ภายหลังการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ที่มุ่งกระจายความเจริญไปยังเมืองหลักในภูมิภาคต่างๆ ทั้งศูนย์กลางราชการ การศึกษา สาธารณสุข โลจิสติกส์ ทาให้เมืองต่างๆ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยภาครัฐและเอกชน อีกทั้งยัง ทาให้เกิดการย้ายถิ่นฐานจากชนบทเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองมากขึ้น เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของตน ทาให้ ประเทศไทยมีอัตราส่วนความเป็นเมืองมากขึ้นตามลาดับ ปัจจุบันปีพ.ศ. 2557 ความเป็นเมืองของไทย อยู่ที่ร้อยละ 43.79 เพิ่มขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2546 ที่มีความเป็นเมืองร้อยละ 22.06 ถึงร้อยละ 21.43 (ภาพที่ 1) (ภาพที่ 2) ภาพที่ 1 แผนที่แสดงความเป็นเมืองของประเทศไทย พ.ศ. 2546 ภาพที่ 2 แผนที่แสดงความเป็นเมืองของประเทศไทย พ.ศ. 2557
  • 2. 2 การพัฒนาเมืองในด้านต่างๆก่อให้เกิดการขยายตัวของเมือง (Urban Expansion) ที่แผ่ขยาย ออกจากศูนย์กลางความเจริญเดิมไปยังพื้นที่ชานเมือง เพื่อให้เกิดความเข้าใจลักษณะการขยายตัวและ การพัฒนาของเมืองที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมของเมืองต่างๆในประเทศไทย ในงานวิจัยนี้สนใจศึกษาแนวโน้มรูปแบบการขยายตัวของเมือง และพื้นที่สีเขียวภายในเมืองโดย การนาระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) เข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อทาความเข้าใจปรากฏการณ์ของเมือง ในแง่ การขยายตัวและขนาดของพื้นที่สีเขียวของเมือง ซึ่งมีแนวทางการวิเคราะห์ดังนี้ 2. แนวคิดการวิเคราะห์การขยายตัวของเมือง การขยายตัวของเมืองนั้นสามารถวิเคราะห์ได้จากการใช้ที่ดินของเมือง อันเป็นผลมาจาก กิจกรรมของชาวเมือง เช่น พื้นที่ทางเศรษฐกิจ พื้นที่ที่อยู่อาศัย อนึ่ง การศึกษาการใช้ที่ดินของเมืองนั้น มีข้อจากัดประการหนึ่งคือ ข้อมูลภูมิสารสนเทศของเมือง ที่ต้องใช้เวลานานในการสารวจและการจัดทา ข้อมูล จากนั้นจึงเอาข้อมูลภูมิสารเทศเหล่านี้มาเปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่สนใจ จึงได้ผลลัพธ์ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและมีรูปแบบการขยายตัวของเมืองแต่ละเมืองอย่างไร เป็นต้น ทว่าภายใต้ ข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ที่จากัดผู้วิจัยจึงศึกษาวิธีการอื่นๆที่สามารถศึกษาปรากฏการณ์ ดังกล่าวได้ โดยวิธีการที่ใช้คือ การประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล โดยใช้ข้อมูลถนนศึกษา ทิศทางและรูปแบบการขยายตัว และขอบเขตเมืองตามภูมิศาสตร์ (Geographical boundary) ของแต่ละ เมืองในประเทศไทยได้ การคานวณการประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล เป็นการประมาณค่าโดยการจัดกลุ่ม ข้อมูลเชิงพื้นที่ เช่น ข้อมูลจุด (Point) ตัวอย่างเช่น ข้อมูลต้นไม้แต่ละต้น ข้อมูลจุดเกิดอาชญากรรมเป็น ต้น และข้อมูลเส้น (Line) ตัวอย่างเช่น ข้อมูลแม่น้า ข้อมูลถนน เป็นต้น ให้เข้ามาเป็นกลุ่มเดียวกัน โดย ผลลัพธ์ที่ได้คือบริเวณใดที่มีข้อมูลกระจุกตัวอยู่มาก ก็จะมีความหนาแน่นมาก หากบริเวณใดมีข้อมูลอยู่ น้อย ยกตัวอย่างเช่น มีถนนอยู่เส้นเดียวก็จะมีความหนาแน่นของถนนต่อพื้นที่น้อย เป็นต้น หากใช้ ข้อมูลเส้น เช่น ถนน ก็จะได้ความหนาแน่นของถนนหน่วย เมตรต่อตารางเมตร การศึกษาถนนโดยใช้วิธีการนี้มีสมมติฐานว่า การพัฒนาของถนนเป็นความเจริญ โดยพื้นที่ไหน ที่มีความหนานแน่นของถนนมากก็จะมีความเจริญมาก มีการตั้งถิ่นฐานที่มีการวางแผนมาล่วงหน้า ไม่ได้เป็นการตั้งถิ่นฐานตามแนวยาวของถนนที่ไม่มีการวางแผน นอกจากนี้ยังสามารถแยกเขตเมืองกับ เขตชนบทที่มีความแตกต่างกัน ในเขตเมืองมีโครงข่ายถนนมากกว่าเขตชนบท อันเป็นผลมาจากการ พัฒนาเพื่อการตั้งถิ่นฐานและกิจกรรมต่างๆของเมือง ดังนั้นเราจึงสามารถใช้ความหนาแน่นของถนนใน
  • 3. 3 การแบ่งเขตเมืองกับชนบท อีกทั้งยังสามารถศึกษาการขยายตัวของเมืองไปยังบริเวณชานเมืองรอบๆได้ อีกด้วย นอกจากนี้งานวิจัยนี้มีการนาค่าเฉลี่ยทางสถิติ กล่าวคือ ค่าการกระจาย (ค่าความแปรปรวน) ของถนนของแต่ละเมืองกับพื้นที่โดยรอบเพื่อสนับสนุนการการประมาณค่าความหนาแน่นแบบเคอร์เนล หากพื้นที่ใดที่มีค่าความแปรปรวนมากก็จะถือว่ามีการพัฒนาสร้างถนนที่กระจายตัวไม่ได้วางกระจุกตัว ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ถึงแม้ว่ามีความยาวของถนนต่อพื้นที่มากก็ตาม 3. แนวคิดการวิเคราะห์พื้นทีสีเขียวในเมือง การศึกษาพื้นที่สีเขียวภายในเมืองนั้นศึกษาจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม โดยการศึกษานี้ใช้ ภาพถ่ายดาวเทียวแลนด์แซท 8 จากนั้นจึงใช้วิธีการ Parallelepiped แยกวัตถุออกเป็นสองประเภท ได้แก่ พื้นที่สีเขียว และพื้นที่อื่นๆ กล่าวคือ พื้นที่สีเขียวนั้นเป็นพื้นที่ที่มีต้นไม้ปกคลุม และพื้นที่อื่นๆที่ ไม่พบต้นไม้ เช่น แหล่งน้า ที่ดินโล่ง สิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น หากต้นไม้บังสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน ผลการวิเคราะห์ที่ได้ก็จะเป็นพื้นที่สีเขียว การศึกษาวิธีนี้สามารถใช้ได้กับพื้นที่เมือง เนื่องจากเมืองเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดินที่ส่วนใหญ่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกต้นไม้ น้อยโดยเฉพาะเมืองในประเทศไทย เมื่อได้ผลการศึกษาของพื้นที่สีเขียวภายในเมืองแล้วจึงนามาเปรียบเทียบอัตราส่วนของพื้นที่สี เขียวของแต่ละเมือง กับอัตราส่วนประชากรต่อพื้นที่สีเขียวว่าในแต่ละเมืองมีอัตราส่วนเป็นอย่างไร ซึ่งจะ ตัวชี้วัดหนึ่งที่สาคัญในการจัดอันดับเมืองสุขภาวะที่ดีของไทยได้อีกด้วย