SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 3
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
อาหาร เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งอาหารนั้น
เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ต้องได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
อื่นๆ อันได้แก่ ยา เครื่องสาอาง เครื่องมือแพทย์ และวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน ด้วยเหตุที่อาหาร
สามารถส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของผู้บริโภค ทั้งในด้านที่เป็นประโยชน์ และการช่วยเสริมสร้าง
สุขภาพ และในด้านที่เป็นโทษ คืออาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพนั่นเอง จึงจาเป็นต้องมีการ
ควบคุมดูแลด้านความปลอดภัยของอาหารอย่างเคร่งครัดในรูปของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์
อาหาร โดยมีพระบัญญัติอาหาร กฎกระทรวง และประกาศ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคทางสาธารณสุข
อาหาร
1. ความหมายของอาหาร
อาหาร หมายความว่า ของกิน เครื่องค้าจุนชีวิต เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต เช่น อาหารเช้า อาหาร
ปลา อาหารนก (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556)
อาหาร คือ ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ได้แก่ (1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่
ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทหรือยา
เสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี (2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสม
ในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส (พระราชบัญญัติอาหาร
พ.ศ.2522 ฉบับปรับปรุง, 2554)
โดยสรุป อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานเข้าไปแล้วทาให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆ ไม่
ทาให้เกิดโทษ ดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข อาทิ เช่น เนื้อสัตว์ ข้าว แป้ง ผัก ผลไม้ นม ฯลฯ เป็นต้น
2. ความสาคัญของอาหาร
อาหารมีความสาคัญเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มี
คุณค่าต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เนื่องจากอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สาคัญสาหรับการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ หากประชากรในประเทศได้มีโอกาสบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ และปลอดภัย จะทา
ให้มีสุขภาพที่ดี และเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป ทั้งนี้การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
อาหารนั้น ต้องคานึงถึงความสะอาดและความปลอดภัยของอาหาร และที่จะละเลยไม่ได้ในปัจจุบัน คือ
การเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาภาวะขาดสารอาหาร ภาวะ
โภชนาการเกิน อันจะส่งผลทาให้เกิดโรคต่างๆ ได้ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีการคุ้มครองผู้บริโภค
ในด้านผลิตภัณฑ์อาหาร เพราะอาหารที่แปรรูปจาหน่วยในปัจจุบันมีส่วนประกอบที่หลากหลาย จึงมีการ
กาหนดให้ต้องแสดงฉลากโภชนาการบนผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง
เป็นประโยชน์ เพราะผู้บริโภคจะสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าเหมาะสมกับความต้องการของ
ตนเอง ผู้บริโภคจึงควรให้ความสาคัญ ดังต่อไปนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556)
38
2.1 ความสะอาดของอาหาร เพราะอาหารที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร อาจมีเชื้อโรค
ปนเปื้อนและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะอาหารที่วางขายตามริมถนน ริมฟุตบาทต่างๆ ซึ่งไม่มี
ภาชนะปกปิดอย่างมิดชิด อาจมีเชื้อโรคปนเปื้อนได้ ดังนั้นผู้บริโภคควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในด้าน
ความสะอาดของอาหาร นอกจากนี้แล้ว ภาชนะที่ใช้บรรจุอาหารก็มีความสาคัญ หากไม่มีความสะอาด ก็
อาจมีเชื้อโรคปนเปื้อนมาเช่นเดียวกัน ซึ่งอาหารที่ไม่สะอาดจะส่งผลให้เกิดอาการอาหารเป็นพิษได้ เช่น
อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง และหากมีอาการที่เฉียบพลันอาจรุนแรงจนทาให้เสียชีวิตได้ ดังนั้น หาก
ผู้บริโภคไม่แน่ใจในเรื่องความสะอาดของอาหาร ควรเลือกรับประทานอาหารที่สุก และปรุงเสร็จใหม่ๆ
เพราะความร้อนจะช่วยทาลายเชื้อโรคที่อาจทาให้เป็นพิษได้ ดังที่กระทรวงสาธารณสุขได้รณรงค์ให้ กิน
ร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ เป็นต้น
2.2 ความเป็นพิษของอาหาร เพราะอาหารหลายชนิดทั้งในสภาพที่ดิบและสภาพที่ปรุงสุก
แล้ว และบรรจุในภาชนะปิดมิดชิด อาจไม่มีความปลอดภัยและเป็นพิษต่อสุขภาพได้ ตัวอย่าง อาหาร
ธรรมชาติบางชนิดที่มีสารพิษอยู่ในตัว เช่น มันสาปะหลังดิบจะมีสารจาพวกไซยาไนด์ ซึ่งหาก
รับประทานเข้าไปอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อย่างไรก็ตาม สารพิษนี้หากถูกความร้อนก็จะสลายตัว
ความเป็นพิษก็จะหมดไป นอกจากนี้แล้ว อาหารจาพวกถั่ว หากไม่ระมัดระวังในการเก็บรักษา อาจมีการ
ปนเปื้อนของเชื้อราที่ผลิตสารพิษอะฟลาท๊อกซิน ที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ โดยเฉพาะการรับประทาน
อาหารที่ใส่ถั่วลิสงป่น อาจต้องใช้ความระมัดระวังเชื้อรา หากมีลักษณะสีดาปนอยู่ในถั่วลิสงก็ไม่ควร
รับประทาน
2.3 คุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เพราะนอกจากความสะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ
ของอาหารแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาพ คือ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารนั้นๆ การ
รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยได้รับสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอทั้ง คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามินและน้าให้เพียงพอ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง ระบบการ
ทางานของกระบวนการต่างๆ ในร่างกายเป็นไปตามปกติ การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทาง
โภชนาการไม่เหมาะสม จะทาให้ขาดสารอาหารบางชนิด หรือได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกินไป จะ
ส่งผลให้เกิดปัญหาทางโภชนาการ เช่น การรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ดบางชนิดจะมีไขมันในปริมาณสูง
กว่าความต้องการของร่างกาย ทาให้มีไขมันในเลือดสูง หรือแม้แต่การรับประทานขนมกรุบกรอบ ทาให้
รู้สึกอิ่ม ไม่อยากรับประทานอาหาร ทาให้ขาดสารอาหารประเภทอื่นๆ ได้ ซึ่งผลที่ตามมาจากการได้รับ
คุณค่าทางโภชนาการของอาหารที่ไม่เหมาะสมคือ ทาให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา อาทิ โรคอ้วน
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้น
3. ประเภทของอาหาร
อาหาร สามารถแบ่งประเภทออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ คือ (พระราชบัญญัติอาหาร, 2554)
3.1 อาหารควบคุมเฉพาะ เป็นอาหารที่อยู่ในความควบคุมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐาน
และต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร แล้วจึงจะผลิตเพื่อจาหน่ายได้ อาหารประเภทนี้มีความเสี่ยงอันตราย
ต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภคค่อนข้างสูง อาจทาให้ผู้บริโภคเสียชีวิตได้ ซึ่งหากไม่ควบคุมกระบวนการ
ผลิตให้ดี อาจมีอันตรายต่อผู้บริโภค ซึ่งยังคงเป็นปัญหาด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งยังมีการนาไป
ร่วมกับการผลิตอาหารประเภทอื่นอีกหลายชนิด หากไม่ควบคุมให้มีคุณภาพ จะทาให้เกิดปัญหากับ
39
ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ตามมา เน้นการดูแลเข้มงวดโดยเฉพาะทั้งทางด้านสถานที่และผลิตภัณฑ์ โดยอาหาร
ควบคุมเฉพาะ มีทั้งหมด 15 รายการ ดังต่อไปนี้
3.1.1 อาหารสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้าหนัก
3.1.2 นมดัดแปลงสาหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก
3.1.3 อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก
3.1.4 อาหารเสริมสาหรับทารกและเด็กเล็ก
3.1.5 นมโค
3.1.6 นมปรุงแต่ง
3.1.7 นมเปรี้ยว
3.1.8 ไอศกรีม
3.1.9 อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
3.1.10 ผลิตภัณฑ์ของนม
3.1.11 เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
3.1.12 สีผสมอาหาร
3.1.13 วัตถุที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร
3.1.14 วัตถุเจือปนอาหาร
3.1.15 โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียมซัยคลาเมต
ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารควบคุมเฉพาะ
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
40
ตารางที่ 3.1 รายการอาหารควบคุมเฉพาะ
รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัดดาเนินการ
1. เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 214) พ.ศ.2543 และ
(230) พ.ศ.2544
เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและ
เครื่องดื่มชนิดแห้ง เฉพาะกระเจี๊ยบ
เก๊กฮวย หล่อฮังก้วย มะตูม ขิง ข่า
บัวบก ตะไคร้ ใบเตย ใบหม่อน มะนาว
ลาไย ลิ้นจี่ มะขาม มะขามป้อม และ
เครื่องดื่มที่ทาจากธัญพืช ได้แก่ ข้าว
สาลี ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ลูกเดือย เม็ดบัว
ถั่วแดง ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ยกเว้น
ยกเว้นเครื่องดื่มที่มีก๊าซคาร์บอนได
ออกไซด์ หรือออกซิเจนผสมอยู่ด้วย
2. โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียม
ซัยคลาเมต
ฉบับที่ 113 (พ.ศ.2531) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
3. นมดัดแปลงสาหรับทารกและนมดัดแปลง
สูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก
ฉบับที่ 156 (พ.ศ.2537) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
4. นมปรุงแต่ง ฉบับที่ 265 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
5. นมเปรี้ยว ฉบับที่ 289 (พ.ศ.2528) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
6. นมโค ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
7. ผลิตภัณฑ์ของนม ฉบับที่ 267 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
8. วัตถุเจือปนอาหาร ฉบับที่ 281 (พ.ศ.2547) เฉพาะสีผสมอาหารที่ผลิต
โดยวิธีแบ่งบรรจุ
9. อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่อง
สาหรับทารกและเด็กเล็ก
ฉบับที่ 157 (พ.ศ.2537) , 171
(พ.ศ.2539) และ 287 (พ.ศ.
2547)
ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
10. อาหารสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุม
น้าหนัก
ฉบับที่ 121 (พ.ศ.2532) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
11. อาหารเสริมสาหรับทารกและเด็กเล็ก ฉบับที่ 158 (พ.ศ.2537) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
12. อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ฉบับที่ 144 (พ.ศ.2535) ,179
(พ.ศ.2540)และ (253) พ.ศ.
2545
ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
13. ไอศกรีม (ฉบับที่ 222) พ.ศ.
2544 และ (257) พ.ศ.2545
ทุกชนิด ยกเว้นไอศกรีมชนิดผง
14. สตีวิโอไซด์และอาหารที่มีส่วนผสม
ของสตีวิโอไซด์
(ฉบับที่ 262) พ.ศ.2545 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
3.2 อาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร แต่ไม่ต้องขอ
อนุญาตขึ้นทะเบียนตารับอาหาร อาหารในกลุ่มนี้มีความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพอนามัยน้อยกว่ากลุ่ม
แรก และถ้าหากไม่ควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตให้ดี อาจมีผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคไม่รุนแรงมาก
41
แต่อาจมีผลรุนแรงในระยะยาว มีการกาหนดคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และฉลาก พร้อมทั้งประเมิน
สถานที่ก่อนอนุญาตให้ผลิต โดยอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน มีทั้งหมด 33 รายการ ดังต่อไปนี้
3.2.1 น้ามันและไขมัน
3.2.2 น้ามันถั่วลิสง
3.2.3 เนย
3.2.4 เนยเทียม
3.2.5 กี
3.2.6 อาหารกึ่งสาเร็จรูป
3.2.7 น้ามันเนย
3.2.8 น้าปลา
3.2.9 น้าส้มสายชู
3.2.10 ครีม
3.2.11 น้ามันปาล์ม
3.2.12 น้ามันมะพร้าว
3.2.13 ชา
3.2.14 น้านมถั่วเหลืองในภาชนะที่ปิดสนิท
3.2.15 กาแฟ
3.2.16 แยม เยลลี มาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
3.2.17 เครื่องดื่มเกลือแร่
3.2.18 รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี
3.2.19 น้าผึ้ง
3.2.20 น้าแร่ธรรมชาติ
3.2.21 เนยแข็ง
3.2.22 ซอสบางชนิด
3.2.23 น้าที่เหลือจากการผลิตโมโนโซเดียมกลูตาเมต
3.2.24 อาหารที่มีสารพิษตกค้าง
3.2.25 ไข่เยี่ยวม้า
3.2.26 อาหารที่มีสารปนเปื้อน
3.2.27 อาหารที่มีกัมมันตรังสี
3.2.28 ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง
3.2.29 ข้าวเติมวิตามิน
3.2.30 ช็อกโกแลต
3.2.31 เกลือบริโภค
3.2.32 น้าแข็ง
3.2.33 น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
42
ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
ตางรางที่ 3.2 รายการอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้
จังหวัดดาเนินการ
1. กาแฟ (ฉบับที่ 197) พ.ศ.2543 และ (ฉบับที่ 276) พ.ศ.2546 มอบอานาจให้จังหวัด
2. เกลือบริโภค * ฉบับที่ 153 (พ.ศ.2537) มอบอานาจให้จังหวัด
3. ข้าวเติมวิตามิน ฉบับที่ 150 (พ.ศ.2536) มอบอานาจให้จังหวัด
4. ไข่เยี่ยวม้า (ฉบับที่ 236) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
5. ครีม (ฉบับที่ 208) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
6. เครื่องดื่มเกลือแร่ (ฉบับที่ 195) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
7. ช็อกโกแลต ฉบับที่ 83 (พ.ศ.2527) มอบอานาจให้จังหวัด
8. ชา (ฉบับที่ 196) พ.ศ.2543 และ(ฉบับที่ 277) พ.ศ.2546 มอบอานาจให้จังหวัด
9. ซอสบางชนิด (ฉบับที่ 201) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
10. น้านมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิด
สนิท **
(ฉบับที่ 198) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
11. น้าส้มสายชู (ฉบับที่ 204) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
12. น้ามันถั่วลิสง ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2522) และ (ฉบับที่ 233) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
13. น้ามันมะพร้าว ฉบับที่ 57 (พ.ศ.2524) และ (ฉบับที่ 235) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
14. น้ามันปาล์ม ฉบับที่ 56 (พ.ศ.2524) และ (ฉบับที่ 234) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
15. น้ามันเนย (ฉบับที่ 206) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
16. น้ามันและไขมัน (ฉบับที่ 205) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
17. น้าปลา (ฉบับที่ 203) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
18. น้าแร่ธรรมชาติ (ฉบับที่ 199) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
19. เนย (ฉบับที่ 227) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
43
ตางรางที่ 3.2 รายการอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน (ต่อ)
รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัด
ดาเนินการ
20. น้าผึ้ง ** (ฉบับที่ 211) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
21. เนยแข็ง (ฉบับที่ 209) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
22. เนยเทียม (ฉบับที่ 207) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
23. เนยใสหรือกี (ฉบับที่ 226) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
24. ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อย
โปรตีนของถั่วเหลือง
(ฉบับที่ 202) พ.ศ.2543 และ(ฉบับที่ 248) พ.ศ.
2544
มอบอานาจให้จังหวัด
25. แยม เยลลี มาร์มาเลด ในภาชนะ
บรรจุที่ปิดสนิท
(ฉบับที่ 213) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
26. รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี
***
(ฉบับที่ 212) พ.ศ.2543 และ (ฉบับที่ 241) พ.ศ.
2544
ไม่ได้มอบอานาจให้
จังหวัด
27. อาหารกึ่งสาเร็จรูป (ฉบับที่ 210) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
28. น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) , 135 (พ.ศ.2534) , (220)
พ.ศ.2544 และ (256) พ.ศ.2545
มอบอานาจให้จังหวัด
29. น้าแข็ง ฉบับที่ 78 , 137 (พ.ศ.2534) และ(254) พ.ศ.2545 มอบอานาจให้จังหวัด
30. ชาสมุนไพร (ฉบับที่ 280) พ.ศ.2547 มอบอานาจให้จังหวัด
31. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (ฉบับที่ 293) พ.ศ.2548 มอบอานาจให้จังหวัด
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
หมายเหตุ
* ไม่ต้องยื่นคาขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหาร (แบบ สบ.1) และจดทะเบียนอาหาร (แบบ สบ.5)
** กรณีที่ไม่เข้าข่ายเป็นโรงงาน ไม่ต้องยื่นคาขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหาร (แบบ สบ.1) และจดทะเบียนอาหาร (แบบ สบ.5)
*** เป็นอาหารที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดให้ต้องส่งมอบแบบฉลาก ต้องยื่นคาขอใช้ฉลากอาหาร (แบบ สบ.3)
3.3 อาหารที่ต้องมีฉลาก เป็นอาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท อาหารพร้อมปรุงและอาหาร
สาเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารที่มีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี วัตถุแต่ง
กลิ่นรส น้าเกลือปรุงอาหาร ผลิตภัณฑ์จากกระเทียม ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารที่ได้จากเทคนิคการ
ดัดแปลงพันธุกรมหรือพันธุวิศวกรรม เป็นต้น อาหารกลุ่มนี้มีความเสี่ยงอันตรายต่า และหากควบคุม
กระบวนการผลิตไม่ดีพอ ผลิตภัณฑ์จะมีอันตรายต่อสุขภาพบ้าง โดยได้กาหนดเกณฑ์สถานที่ผลิตและ
ฉลากให้ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยอาหารที่ต้องมีฉลาก มีทั้งหมด 14 รายการ ดังต่อไปนี้
3.3.1 ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์
3.3.2 แป้งข้าวกล้อง
3.3.3 น้าเกลือปรุงอาหาร
3.3.4 ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
3.3.5 ขนมปัง
3.3.6 หมากฝรั่งและลูกอม
3.3.7 วุ้นสาเร็จรูปและขนมเยลลี
44
3.3.8 กาหนดกรรมวิธีการผลิตอาหารซึ่งมีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี
3.3.9 ผลิตภัณฑ์กระเทียม
3.3.10 วัตถุแต่งกลิ่นรส
3.3.11 อาหารที่มีวัตถุที่ใช้เพื่อรักษาคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหารที่รวมอยู่ในภาชนะบรรจุ
3.3.12 อาหารที่มีส่วนผสมของว่านหางจระเข้
3.3.13 การแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุงและอาหารสาเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที
3.3.14 อาหารที่วัตถุประสงค์พิเศษ
ภาพที่ 3.3 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารที่ต้องมีฉลาก
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
45
ตารางที่ 3.3 รายการอาหารที่ต้องมีฉลาก
ชนิดอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัด
ดาเนินการ
1. ขนมปัง (ฉบับที่ 224) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
2. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 200) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด
3. น้าเกลือปรุงอาหาร (ฉบับที่ 225) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
4. แป้งข้าวกล้อง ฉบับที่ 44 (พ.ศ.2523) มอบอานาจให้จังหวัด
5. ผลิตภัณฑ์กระเทียม* (ฉบับที่ 242) พ.ศ.2544 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
6. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ (ฉบับที่ 243) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
7. วัตถุแต่งกลิ่นรส (ฉบับที่ 223) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
8. วุ้นสาเร็จรูปและขนมเยลลี ฉบับที่ 100 (พ.ศ.2529) และ(ฉบับที่ 263)
พ.ศ.2545
มอบอานาจให้จังหวัด
9. หมากฝรั่งและลูกอม (ฉบับที่ 228) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
10. อาหารพร้อมปรุงและอาหารสาเร็จรูป
ที่พร้อมบริโภคทันที
(ฉบับที่ 237) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
11. อาหารมีวัตถุประสงค์พิเศษ* (ฉบับที่ 238) พ.ศ.2544 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
12. อาหารซึ่งมีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี ฉบับที่ 103 (พ.ศ.2529) มอบอานาจให้จังหวัด
13. อาหารทั่วไปที่เป็นอาหารดัดแปร
พันธุกรรมหรือพันธุวิศวกรรม
ฉบับที่ 251 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
หมายเหตุ * เป็นอาหารที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดให้ต้องส่งมอบแบบฉลาก ต้องยื่นคาขอใช้ฉลากอาหาร (แบบ สบ.3)
3.4 อาหารทั่วไป เป็นอาหารที่มีความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพอนามัยน้อยมาก
กระบวนการผลิตหรือการแปรรูปไม่มีอันตราย โดยอาหารทั่วไป คือ อาหารอื่นนอกเหนือจากอาหารใน
กลุ่ม 1, 2, 3
ภาพที่ 3.4 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารทั่วไป
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
46
ตารางที่ 3.4 รายการอาหารทั่วไป
ลาดับที่ รายการอาหาร
1 สัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น เนื้อสัตว์สด สัตว์น้าสด ไข่สด เป็นต้น
2 พืชและผลิตภัณฑ์ เช่น พืชผักสด ผลไม้สด ถั่วและนัต เป็นต้น
3 สารสกัด/สารสังเคราะห์ เช่น สารสกัดจากพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เป็นต้น
4 สารอาหาร เช่น กรดอะมิโนที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เป็นต้น
5 แป้งและผลิตภัณฑ์ เช่น แป้งมันสาปะหลัง วุ้นเส้น ก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น
6 ผลิตภัณฑ์สาหรับทาอาหารชนิดต่างๆ ที่ยังไม่พร้อมบริโภค
7 เครื่องปรุงรส เช่น ผงเครื่องปรุงรสในซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป เป็นต้น
8 น้าตาล เช่น น้าตาลทราย แบะแซ เป็นต้น
9 เครื่องเทศ เช่น มัสตาร์ด พริกไทย พริกป่น เป็นต้น
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
หมายเหตุ อาหารทั่วไปในกลุ่มนี้ ไม่ต้องมีเลขสารบบอาหาร
ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้ผลิตภัณฑ์ 4 ชนิด
ที่ต้องเสริมไอโอดีนตามปริมาณที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ เกลือบริโภค น้าปลา น้าเกลือปรุงอาหาร และ
ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของ ถั่วเหลือง เช่น ซอสปรุงรส ซีอิ๊ว โดยมีผลทาให้ผลิตภัณฑ์
อื่นๆ เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ขนมขบเคี้ยว ต้องมีสารไอโอดีนเสริมด้วยโดยปริยาย ผู้บริโภคสามารถ
เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เสริมไอโอดีนได้โดย พิจารณาจากข้อความที่แสดงเพิ่มเติมบนฉลาก เช่น “ใช้เกลือ
บริโภคเสริมไอโอดีน” หรือ “ใช้เกลือเสริมไอโอดีน” หรือ “ผสมเกลือไอโอดีน”
คุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร
อาหารที่ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายภายในประเทศจะต้องมีคุณภาพมาตรฐาน มีความปลอดภัย
ในการบริโภคได้ ดังนั้นจึงมีกฎหมายกาหนดห้ามมิให้ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายอาหาร ดังต่อไปนี้
(มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556)
1. อาหารไม่บริสุทธิ์
1.1 อาหารที่มีสิ่งที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย ที่อาจพบสิ่งต่อไปนี้อยู่ในอาหาร
- สีที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหารชนิดต่างๆ
- สารบอแรกซ์ (Borax) ในอาหารลูกชิ้นและอาหารอื่นๆ
- บักเตรีที่ทาให้เกิดโรคจากอาหารชนิดต่างๆ
1.2 อาหารที่มีสาร หรือวัตถุเคมีเจือปนอยู่ในอัตราที่อาจเป็นเหตุให้คุณภาพของอาหารนั้น
ลดลง เว้นแต่การเจือปนเป็นการจาเป็นต่อกรรมวิธีผลิต การผลิต และได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่
แล้ว ความสาคัญคือ การใช้สารหรือวัตถุเคมีเจือปนในอาหารเป็นเหตุทาให้คุณภาพของอาหารลดลง
1.3 อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรือเก็บรักษาไว้โดยไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น หากตรวจพบเศษผม
ในอาหาร ถือว่าอาหารนั้นได้ผลิตบรรจุโดยไม่ถูกสุขลักษณะ หรือ การเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ไว้ใน
อุณหภูมิที่สูงเกินกว่า 10 องศาเซลเซียส จนทาให้นมนั้นเสีย ถือได้ว่าอาหารนั้นเก็บรักษาไว้ไม่ถูก
สุขลักษณะ เป็นต้น
47
1.4 อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้
1.5 อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพ ซึ่งเกิดจากการ
ใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ไม่มีความปลอดภัย เช่น นาภาชนะที่บรรจุอาหารมาส่งตรวจวิเคราะห์ พบว่ามี
โลหะหนัก (ตะกั่ว, แคดเมี่ยม) อันก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพได้ ดังนั้นจึงควรพิจารณาว่า ภาชนะที่ใช้
นั้นเป็นชนิดที่เหมาะแก่การบรรจุอาหารหรือไม่
2. อาหารปลอม
2.1 อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วัตถุอื่นแทนบางส่วน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุมค่าออกเสียทั้งหมด
หรือบางส่วน และจาหน่ายเป็นอาหารแท้ หรือใช้ชื่ออาหารแท้ เช่น การผสมน้าตาลหรือน้าเชื่อมในน้าผึ้ง
แล้วจาหน่ายเป็นน้าผึ้งแท้ ซึ่งเป็นการสับเปลี่ยนวัตถุอย่างอื่นแทนวัตถุที่มีคุณค่าทางอาหาร
2.2 วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างหนึ่งอย่างใด และจาหน่ายเป็นอาหารแท้ คือ
การทาเทียมขึ้นมา เพื่อให้เหมือนหรือคล้ายคลึงของจริงหรือของแท้ แล้วอ้างว่าเป็นของแท้
2.3 อาหารที่ได้ผสมหรือปรุงแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นความชารุด
บกพร่องหรือความด้อยคุณภาพของอาหารนั้น
2.4 อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง หรือพยายามลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิดในเรื่อง คุณภาพ ปริมาณ
ประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต
2.5 อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้ถึงขนาด ผลวิเคราะห์
พบว่าส่วนประกอบที่เป็นคุณค่าทางอาหารขาดหรือเกินร้อยละ 30 จากเกณฑ์ต่าสุดหรือสูงสุด หรือ
แตกต่างจากคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้ จนทาให้เกิดโทษหรืออันตราย
3. อาหารผิดมาตรฐาน ได้แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศ
กาหนด แต่ไม่ถึงขนาดที่เป็นอาหารปลอม
4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรีกาหนด ได้แก่
4.1 อาหารที่ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือ
4.2 อาหารที่มีสรรพคุณไม่เป็นที่เชื่อถือ หรือ
4.3 อาหารที่มีคุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม
การแสดงฉลากอาหาร
ฉลาก คือ รูปรอยประดิษฐ์ หรือข้อความที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ที่ผู้บริโภคมัก
พบเห็นบนภาชนะบรรจุ หรือที่เราเรียกสั้นๆ ว่าฉลาก ซึ่งในแง่ของผู้ผลิต ฉลากมีไว้เพื่อดึงดูดสายตาให้
ผู้บริโภคสนใจในตัวสินค้า และซื้อหาไปบริโภค แต่ในความเป็นจริงแล้วฉลากไม่ได้มีไว้เพียงเพื่อความ
สวยงามหรือดึงดูดสายตาให้ผู้บริโภคเท่านั้น ฉลากยังเปรียบเสมือนเป็นหน้าต่างที่ทาให้ผู้บริโภครู้ข้อมูล
ของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้เป็นข้อมูลพิจารณาประกอบการตัดสินใจซื้อ
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งการแสดงฉลากอาหารนั้น แบ่งได้เป็น 5 ลักษณะ ดังนี้ คือ (สานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา, 2558)
48
1. ฉลากอาหารที่จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคของอาหารประเภทที่ 1 - 3
ให้แสดงข้อความเป็นภาษาไทย หรืออาจมีภาษาต่างประเทศได้ โดยต้องแสดงรายละเอียด
ดังต่อไปนี้
1.1 ชื่ออาหาร ชื่ออาหารภาษาไทยต้องมีข้อความต่อเนื่องกันในแนวนอน ขนาดของ
ตัวอักษรใกล้เคียงกัน สีเดียวกัน ถ้าแสดงบรรทัดเดียวได้ไม่หมดก็แยกเป็นหลายบรรทัดก็ได้ และชื่อ
อาหารภาษาไทยจะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าชื่ออาหารภาษาต่างประเทศ
1.2 เลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย ด้วยตัวเลขที่มีสีตัดกับสีพื้นของกรอบ และมีขนาดไม่
เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร สีของกรอบตัดกับสีพื้นของฉลาก
1.3 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุ เพื่อจาหน่าย แล้วแต่กรณี โดยมีคาว่า “ผลิต
โดย” หรือ “ผลิต-แบ่งบรรจุโดย” กากับ สาหรับอาหารที่ผลิตภายในประเทศอาจแสดงสานักงานใหญ่
ของ ผู้ผลิตหรือของผู้แบ่งบรรจุก็ได้ในกรณีที่เป็นอาหารนาเข้าให้ แสดงชื่อและที่ตั้งของผู้นาเข้าและ
ประเทศผู้ผลิตด้วย
1.4 ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก ถ้าเป็นอาหารผงหรือแห้งหรือก้อนให้แสดง
น้าหนักสุทธิ ถ้าอาหารเป็นของเหลวให้แสดงเป็นปริมาตรสุทธิในกรณีที่เป็นอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิด
สนิท ถ้าแยกเนื้ออาหารออกจากน้าได้ให้แสดงน้าหนักเนื้ออาหารด้วย
1.5 ส่วนประกอบที่สาคัญเป็นร้อยละของน้าหนักโดยประมาณ โดยแสดงจากปริมาณมากไป
หาน้อย กรณีที่เป็นอาหารที่ต้องเจือจางหรือทาละลายก่อนบริโภค ให้แสดงส่วนประกอบที่สาคัญของ
อาหารเมื่อเจือจางหรือทาละลายตามวิธีปรุงเมื่อรับประทานตามที่แจ้งไว้ในฉลาก
1.6 ข้อความว่า “ใช้วัตถุกันเสีย” ถ้ามีการใช้
1.7 ข้อความว่า “เจือสีธรรมชาติ” หรือ “เจือสีสังเคราะห์” แล้วแต่กรณีที่มีการใช้
1.8 ข้อความว่า “…. เป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหาร” (ความที่เว้นไว้ให้ระบุชนิดของวัตถุปรุงแต่งที่
ใช้) เช่น กรณีที่เป็นโมโนโซเดียมกลูตาเมทให้แสดงข้อความว่า “ใช้โมโนโซเดียมกลูตาเมทเป็นวัตถุปรุงแต่งรส
อาหาร”
1.9 ข้อความว่า “ใช้… เป็นวัตถุที่ให้ความหวานแทนน้าตาล” (ที่เว้นไว้ให้ระบุชนิดของวัตถุที่
ให้ความหวานแทนน้าตาลที่ใช้) ด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร สีของตัวอักษรตัดกับสีพื้น
ของฉลาก เช่น กรณีที่เป็นแอสปาร์แตม ให้แสดงข้อความว่า “ใช้แอสปาร์แตมเป็นวัตถุให้ความหวาน
แทนน้าตาล”
1.10 ข้อความว่า “แต่งกลิ่นธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นเลียนธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นสังเคราะห์”
“แต่งรสธรรมชาติ” หรือ “แต่งรสเลียนธรรมชาติ” แล้วแต่กรณีถ้ามีการใช้
1.11 แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคาว่า “ผลิต”
หรือ“หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคก่อน” กากับ แล้วแต่กรณีดังต่อไปนี้
- อาหารที่เก็บได้ไม่เกิน 90 วัน ให้แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน
- อาหารที่เก็บได้เกิน 90 วัน ให้แสดงเดือนปีที่ผลิต หรือวันเดือนปีที่หมดอายุ หรือวัน
เดือนปีที่ควรบริโภคก่อน
- อาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกาหนดให้แสดงวันเดือนปีที่
หมดอายุเช่น นมเปรี้ยว นมพาสเจอร์ไรส์ขนมปัง ผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ไรส์
1.12 คาแนะนาในการเก็บรักษา (ถ้ามี)
49
1.13 วิธีปรุงเพื่อรับประทาน (ถ้ามี)
1.14 วิธีการใช้และข้อความที่จาเป็นสาหรับอาหารที่มุ่งหมายจะใช้กับทารกหรือเด็กอ่อน
หรือบุคคลกลุ่มใดใช้โดยเฉพาะ
1.15 ข้อความที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยากาหนด
2. ฉลากอาหารที่จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคของประเภทอาหารทั่วไป
อย่างน้อยต้องแสดงข้อความ ดังนี้
2.1 ชื่ออาหาร
2.2 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุเพื่อจาหน่ายแล้วแต่กรณีโดยมีคาว่า “ผลิตโดย”
หรือ “ผลิตแบ่งบรรจุโดย” กากับ สาหรับอาหารที่ผลิตภายในประเทศอาจแสดงสานักงานใหญ่ของ
ผู้ผลิตหรือของผู้แบ่งบรรจุก็ได้ในกรณีที่เป็นอาหารนาเข้าให้แสดงประเทศผู้ผลิตด้วย
2.3 ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก
2.4 วันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคาว่า “ผลิต” หรือ
“หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคก่อน” กากับ
3. ฉลากอาหารที่จาหน่ายให้กับผู้ปรุงหรือผู้จาหน่ายอาหาร
อาหารที่จาหน่วยให้กับผู้ปรุงหรือผู้จาหน่าย ให้แสดงฉลากเหมือนกับอาหารที่จาหน่าย
โดยตรงต่อผู้บริโภค เว้นแต่กรณีมีคู่มือหรือเอกสารประกอบที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับส่วนประกอบ
ของอาหาร คาแนะนาในการเก็บรักษา วิธีปรุงเพื่อรับประทาน วิธีการใช้ และข้อความที่จาเป็นสาหรับ
อาหารที่มุ่งหมายจะใช้กับทารกหรือเด็กอ่อนหรือบุคคลกลุ่มใดใช้เฉพาะ การใช้วัตถุกันเสีย วัตถุให้ความ
หวานแทนน้าตาล เจือสีแต่งกลิ่น การใช้วัตถุปรุงแต่งรสอาหารอยู่แล้ว จะแสดงฉลากเพียงชื่ออาหาร ชื่อ
และที่ตั้งผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุ ปริมาณสุทธิ เลขสารบบอาหาร และวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการ
ใช้ หรือควรบริโภคก่อนก็ได้
4. ฉลากอาหารที่จาหน่ายเพื่อเป็นวัตถุดิบของโรงงาน
ต้องมีข้อความภาษาไทย เว้นแต่อาหารที่นาเข้าอาจแสดงข้อความเป็นภาษาอังกฤษก็ได้
อย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี้
4.1 ชื่อและประเภทหรือชนิดของอาหาร
4.2 เลขสารบบอาหาร
4.3 ปริมาณสุทธิเป็นระบบเมตริก
4.4 ชื่อผู้ผลิต สาหรับอาหารที่ผลิตในประเทศ ชื่อและที่ตั้งของผู้นาเข้าและประเทศผู้ผลิต
สาหรับอาหารนาเข้า แล้วแต่กรณี
5. การแสดงฉลากของอาหารที่ผลิตเพื่อส่งออก
จะแสดงข้อความเป็นภาษาใดก็ได้ แต่อย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี้
5.1 ประเทศผู้ผลิต
5.2 เลขสารบบอาหาร (ถ้ามี)
การแสดงฉลากอาหาร จะต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องฉลาก ทั้งนี้
หากประกาศกระทรวงสาธารณสุขของอาหารประเภทนั้นๆ มีการกาหนดรายละเอียดการแสดงฉลาก
เพิ่มเติมจากประกาศฯ ว่าด้วยเรื่องฉลาก ผู้ขออนุญาตจะต้องแสดงฉลากให้มีรายละเอียดตามที่กาหนด
ไว้ในประกาศฯ ของอาหารโดยเฉพาะ
50
ภาพที่ 3.5 ตัวอย่างฉลากอาหาร
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
ข้อยกเว้นในการแสดงส่วนประกอบ
1. อาหารที่ได้รับยกเว้นให้แสดงเฉพาะส่วนประกอบของอาหาร โดยไม่ต้องแจ้งปริมาณเป็นร้อย
ละของน้าหนัก ได้แก่ ฟรุตคอกเทล ฟรุตสลัด
2. อาหารที่มิได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคที่ต้องแจ้งส่วนประกอบของอาหาร โดยไม่ต้องแจ้ง
ปริมาณเป็นร้อยละของน้าหนักได้แก่วัตถุเจือปนอาหาร, สีผสมอาหาร, วัตถุปรุงแต่งรสอาหารชนิดผสม
3. อาหารที่ได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องแสดงส่วนประกอบของอาหาร
3.1 น้าแข็ง
3.2 น้าบริโภค
3.3 อาหารที่มีส่วนประกอบเพียงอย่างเดียว โดยไม่รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร
3.4 โซดา
3.5 เครื่องดื่ม น้านมถั่วเหลืองที่แสดงฉลากโดยพิมพ์พ่นทับบนภาชนะที่เป็นแก้ว
3.6 เครื่องดื่มอัดก๊าซที่สูตรมีน้าตาล เพื่อใช้แต่งกลิ่นและสีที่แสดงฉลากแบบพิมพ์พ่นประทับ
4. อาหารที่มีเนื้อที่ของฉลากทั้งแผ่นน้อยกว่า 35 ตารางเซนติเมตร ให้แสดงส่วนประกอบของ
อาหารไว้ที่หีบห่อได้โดยไม่ต้องแสดงที่ฉลาก
5. อาหารที่ต้องแสดงส่วนประกอบเมื่อเจือจางหรือทาละลายตามวิธีปรุงเพื่อรับประทานตามที่
แจ้งไว้บนฉลาก ได้แก่เครื่องดื่มชนิดเข้มข้นหรือชนิดแห้ง
ข้อยกเว้นในการแสดงวันเดือนปีที่ผลิต
การแสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน อาหารที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้อง
แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน ได้แก่
1. เครื่องดื่ม น้านมถั่วเหลืองที่แสดงฉลากโดยวิธีพิมพ์พ่นทับบนภาชนะบรรจุแก้ว
2. เครื่องดื่มอัดก๊าซที่สูตรมีน้าตาล เพื่อใช้แต่งกลิ่นและสีที่แสดงฉลากแบบพิมพ์พ่นประทับ
3. น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
4. โซดา
5. ไอศกรีม
6. น้าแข็ง
51
เลขสารบบอาหาร
เครื่องหมาย อย.ไมไดเปนสัญลักษณที่ใชรับประกันสรรพคุณที่โฆษณา แตเป็นเพียงสัญลักษณที่
ทาใหทราบวาผลิตภัณฑนั้นขึ้นทะเบียนอยางถูกตองเทานั้น สาหรับรายละเอียดของเลขสารบบอาหาร
13 หลักนี้ จะแบงออกเปน 5 กลุม คือ
กลุมที่ 1 XX แสดงจังหวัดที่เปนที่ตั้งของสถานที่ผลิตหรือนาเขาอาหาร โดยใชตัวเลขที่ใชแทน
ชื่อจังหวัดของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งรายละเอียดแสดงดังภาพ
กลุมที่ 2 X แสดงสถานะของสถานที่ผลิตอาหาร หรือนาเขาอาหาร และหนวยงานที่อนุญาต
หมายเลข 1 คือสถานที่ผลิตอาหารซึ่ง อย.เปนผูอนุญาต
หมายเลข 2 คือสถานที่ผลิตอาหารซึ่ง จังหวัดเปนผูอนุญาต
หมายเลข 3 คือสถานที่นาเขาอาหาร ซึ่ง อย.เปนผูอนุญาต
หมายเลข 4 คือสถานที่นาเขาอาหาร ซึ่งจังหวัดเปนผูอนุญาต
กลุมที่ 3 XXXXX
เลข 3 หลักแรก คือเลขสถานที่ผลิตอาหาร หรือเลขสถานที่นาเขาอาหาร ที่ไดรับอนุญาต
เลข 2 หลักทาย คือ ตัวเลข 2 หลักสุดทายของปพุทธศักราชที่อนุญาต
กลุมที่ 4 Y แสดงหนวยงานที่ออกเลขสารบบอาหาร
หมายเลข 1 คือ อาหารที่ไดรับเลขสารบบจาก อย.
หมายเลข 2 คือ อาหารที่ไดรับเลขสารบบจากจังหวัด
กลุมที่ 5 YYYY แสดงลาดับที่ของอาหารที่ผลิตโดยสถานที่ผลิต หรือ นาเขาโดยสถานที่นาเข้า
แตละแหงแยกหนวยงานที่เปนผูอนุญาต
ภาพที่ 3.6 เลขสารบบอาหารภายใต้กรอบเครื่องหมาย อย.
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
ฉลากโภชนาการ
ปัจจุบันผู้บริโภคนิยมเลือกซื้ออาหารสาเร็จรูปมากขึ้น ซึ่งการอ่านฉลากก่อนซื้อก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง
ที่ช่วยให้ได้รับสารอาหารตรงตามความต้องการ เนื่องจากฉลากอาหารเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานที่จะบอก
ว่าอาหารนั้นผลิตที่ใด มีส่วนประกอบอะไร มีการปรุง การเก็บรักษาอย่างไร ผลิต และ/หรือหมดอายุ
เมื่อใด มีการใช้สารหรือวัตถุเจือปนชนิดใด รวมถึงคาเตือนที่ควรระวัง และที่สาคัญได้รับอนุญาตหรือ
ผ่านการตรวจสอบจาก อย.หรือไม่ โดยดูจากเครื่องหมาย อย. ซึ่งมีเลขสารบบอาหาร 13 หลัก อยู่
ภายในกรอบเครื่องหมาย อย. อีกส่วนหนึ่งที่ผู้บริโภคควรให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นแหล่งข้อมูลที่จะ
ช่วยให้เราดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสมนั่นก็คือ “ฉลากโภชนาการ” การแสดงฉลากโภชนาการ คือ การ
แสดงข้อมูลโภชนาการของอาหารนั้นๆ บนฉลากในรูปของชนิด และปริมาณของสารอาหาร โดยอยู่
ภายในกรอบที่มีรูปแบบเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า กรอบข้อมูลโภชนาการ ซึ่งระบุ ชนิดสารอาหารและปริมาณ
สารอาหาร นอกจากนั้น ยังรวมถึงการใช้ข้อความ กล่าวอ้างทางโภชนาการ เช่น โปรตีนสูงเสริมวิตามินซี
เป็นต้น
52
1. หลักการแสดงฉลากโภชนาการ
ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า การกินมีผลโดยตรงต่อสุขภาพ โรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะ
โภชนาการของคนไทย มีทั้งภาวะขาด เช่น ขาดโปรตีน ขาดไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ภาวะเกิน เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคโคเลสเตอรอลสูงในเลือด โรคความดันโลหิตสูง ดังนั้น การ
เลือกบริโภคให้ถูกต้องเหมาะสมกับภาวะโภชนาการของแต่ละคน จึงเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการดูแลสุขภาพ
ในการออกข้อกาหนดการแสดงฉลากโภชนาการนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้คานึงถึง
แนวทางอันถือว่าเป็น "หัวใจ" ของการแสดงฉลากโภชนาการ อันได้แก่
1.1 การกล่าวอ้างต้องเป็นความจริง เช่น บอกว่ามีวิตามินเอ ต้องมีจริงข้อมูลนั้นให้ความรู้
ทางโภชนาการที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค เช่น ถ้ามีวิตามินเอจริง แต่มีน้อยเกินไป ก็จะกล่าวว่า "มี" ไม่ได้
เพราะน้อยเกินกว่าที่จะเป็นประโยชน์ทางโภชนาการต่อร่างกาย ดังนั้น จะกล่าวว่า "มี" ได้ ก็ต้องมีอย่าง
น้อย 10% ขึ้นไป และถ้าจะกล่าวว่า "สูง" ก็ต้องมี 20% ขึ้นไป
1.2 ไม่ทาให้เข้าใจผิด เช่น การให้ข้อมูลทั่วไปบนฉลากว่า "แคลเซียมเป็นส่วนประกอบ
สาคัญของกระดูกและฟัน" นั้น ผู้บริโภคเห็นแล้วก็จะเข้าใจว่า อาหารที่ระบุข้อความนี้ มีแคลเซียมอยู่
มาก ดังนั้น จะระบุข้อให้ความรู้เกี่ยวกับแคลเซียมเช่นนี้ได้ก็ต่อเมื่ออาหารนั้นมีแคลเซียมอย่างน้อย 10%
เท่านั้น
1.3 การกล่าวอ้างจะต้องไม่เป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการค้าอย่างไม่
ยุติธรรม เช่น หากน้ามันพืชตราหนึ่งระบุว่า "ปราศจากคลอเลสเตอรอล" ผู้บริโภคจะเข้าใจว่า น้ามันพืช
ตราอื่นที่ไม่ได้ระบุเช่นนั้นมีคลอเลสเตอรอล ซึ่งความจริงแล้วพืชใดๆ ก็ไม่มีคลอเลสเตอรอลทั้งสิ้น ดังนั้น
จึงไม่อนุญาตให้ระบุคาว่า "ปราศจาก" หรือ "ต่า" หากอาหารเป็นอย่างนั้นอยู่แล้วเหมือนกันหมดไม่ว่า
ตราใด เนื่องจากผู้ไม่ระบุจะเสียเปรียบอย่างไม่ยุติธรรม
1.4 การกล่าวอ้างของอาหาร ต้องมีคุณค่าทางโภชนาการของอาหารนั้นประกอบอยู่ด้วย
เช่น หากเป็นไปตามหลักเกณฑ์และกล่าวว่า "มีวิตามินเอ" บนฉลากได้ ก็ต้องแสดงให้รู้ด้วยว่ามีคลอ
เลสเตอรอลเท่าไร ระดับไขมันเป็นอย่างไร ฯลฯ โดยแสดงในรูปกรอบโภชนาการตามแบบที่กาหนด
ประกอบการกล่าวอ้างนั้น
2. รูปแบบการแสดงฉลากโภชนาการ
อาหารทุกชนิดมีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกันไป หากเราเลือกรับประทานให้เหมาะสมกับ
ความต้องการของ เพศ วัย สุขภาพ สภาพร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละบุคคล ดั้งนั้นการที่เราจะ
ทราบได้ถึงคุณค่าทางอาหารของอาหารแต่ละชนิดได้นั้น การอ่านฉลากโภชนาการ จะช่วยให้เราทราบ
ถึงข้อมูลสารอาหารต่างๆ ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้น ซึ่งถ้าหากเรามีความรู้และเข้าใจในการอ่าน
ข้อมูลบนฉลากโภชนาการแล้ว ก็จะสามารถช่วยให้เราเลือกรับประทานอาการได้สอดคล้องกับความ
ต้องการของแต่ละบุคคล ทั้งปริมาณพลังงาน และสารอาหารที่เป็นประโยชน์ ซึ่งสามารถศึกษาข้อมูล
ของผลิตภัณฑ์อาหารได้จากฉลากฉลากโภชนาการ ที่แสดงไว้ 2 ลักษณะ คือ
2.1 ฉลากโภชนาการแบบเต็ม เป็นฉลากที่แสดงชนิด และปริมาณสารอาหารที่สาคัญที่ควร
ทราบ จานวน 15 รายการ สาหรับฉลากที่มีความสูงจากัด สามารถแสดงฉลากโภชนาการเต็มรูปใน
ลักษณะแบบแนวนอนหรือแบบขวางตามที่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ได้ ดังภาพตัวอย่าง
ด้านล่าง
53
ภาพที่ 3.7 ฉลากโภชนาการแบบเต็ม
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
2.2 ฉลากโภชนาการแบบย่อ ใช้ในกรณีที่สารอาหารตั้งแต่ 8 รายการ จากจานวนที่กาหนด
ไว้ จานวน 15 รายการนั้นมีปริมาณน้อยมากจนถือว่าเป็นศูนย์ จึงไม่มีความจาเป็นที่ต้องแสดงให้เต็ม
รูปแบบ จึงสามารถแสดงฉลากโภชนาการแบบย่อได้ ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง
ภาพที่ 3.8 ฉลากโภชนาการแบบย่อ
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
54
3. อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ
การแสดงฉลากโภชนาการตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ. 2541
เรื่องฉลากโภชนาการ เป็นการแสดงโดยสมัครใจสาหรับอาหารทุกชนิดทั่วไป แต่จะบังคับ ให้ อาหารที่มี
การกล่าวอ้าง ต้องแสดงฉลากโภชนาการ โดยบังคับ ซึ่งก็เป็นไปตามแนวทางที่ Codex กาหนด ดังนั้น
สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่ถูกบังคับให้แสดงฉลากโภชนาการตามประกาศฯฉบับนี้ก็สามารถจะแสดง
ฉลากโภชนาการโดยสมัครใจได้ แต่ต้องเป็นไปตามรูปแบบ และเงื่อนไขที่กาหนดด้วย อาหารใดบ้างที่เข้า
ข่ายว่ามีการกล่าวอ้าง ได้แก่
3.1 อาหารที่มีการกล่าวอ้างทางโภชนาการ เช่น แคลเซียมสูง เสริมวิตามิน หรือระบุ
คุณประโยชน์ เช่น แคลเซียมเป็นส่วนประกอบสาคัญของกระดูกและฟัน ทั้งนี้รวมถึงอาหารที่มีการแสดง
ข้อมูลชนิดและปริมาณสารอาหารด้วย เช่น อาหารที่มีการแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการ
3.2 อาหารที่มีการใช้คุณค่าในการส่งเสริมการขาย ซึ่งเป็นคุณค่าทางอาหาร/โภชนาการ เช่น
บารุงร่างกาย เพื่อสุขภาพ สดใสแข็งแรง อนึ่งการระบุคุณค่าในลักษณะของป้องกันหรือรักษาโรค เช่น
ลดความอ้วนป้องกันมะเร็ง จะไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงบนฉลากอาหารอยู่แล้ว
3.3 อาหารที่ระบุกลุ่มผู้บริโภคในการส่งเสริมการขาย เช่น สาหรับผู้บริหาร สาหรับเด็ก หรือ
สาหรับกลุ่มบุคคลต่างๆ โดยทั่วไปในลักษณะเดียวกัน โดยที่มิใช่กลุ่มผู้ป่วยและไม่มีกระบวนการ
ตรวจสอบ ทราบถึงความเหมาะสมเฉพาะที่อ้าง เนื่องจากอาจไม่มีการกาหนดค่าความต้องการทาง
โภชนาการเฉพาะไว้แน่ชัด หรือสาเหตุอื่นๆ การระบุกลุ่มนี้ทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่าอาหารนั้นมีคุณค่า
ทางโภชนาการพิเศษเฉพาะ ดังนั้นจึงต้องถูกบังคับให้แสดงข้อมูลโภชนาการ ให้ผู้บริโภคมีโอกาส
ตัดสินใจเลือกความเหมาะสมสาหรับกลุ่มนั้นเองจากกรอบข้อมูลโภชนาการ
นอกจากนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ยังอาจประกาศกาหนดให้อาหารชนิด
ใดชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในด้านคุณค่า คุณประโยชน์ทางโภชนาการอย่างแพร่หลาย ต้อง
แสดงฉลากโภชนาการก็ได้
4. ข้อมูลโภชนาการที่แสดงบนฉลาก
4.1 ข้อมูลที่บังคับ คือ ข้อมูลสารอาหารที่มีความสาคัญหลักสาหรับคนไทย ได้แก่ ปริมาณ
พลังงานทั้งหมด และปริมาณพลังงานที่ได้จากไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ให้
พลังงาน วิตามิน เกลือแร่ โดยเฉพาะที่สาคัญสาหรับภาวะโภชนาการของคนไทยปัจจุบัน คือ วิตามินเอ
วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 แคลเซียม เหล็ก สารอาหารที่ต้องระวังไม่ให้กินมากเกินไป ได้แก่โคเลสเตอรอล
โซเดียม ไขมันอิ่มตัว และน้าตาล สารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ใยอาหาร
นอกจากนั้น ยังบังคับเพิ่มเติมในกรณีต่อไปนี้ด้วย คือ สารอาหารที่มีการเติมลงในอาหาร
(Fortification/Nutrification) สารอาหารที่มีการกล่าวอ้าง เช่น หากระบุว่า "มีไอโอดีน" ไอโอดีนก็จะ
กลายเป็นสารอาหารที่บังคับให้แสดงในกรอบข้อมูลโภชนาการด้วย
4.2 ข้อมูลที่ไม่บังคับ (นอกจากที่กาหนดในข้อมูลบังคับ) ก็สามารถใส่ในฉลากได้ เช่น
วิตามินเกลือแร่อื่นๆ ก็สามารถใส่ในฉลากได้ แต่ต้องระบุต่อท้ายจาก เหล็ก และเรียงจากมากไปหาน้อยด้วย
55
5. ประเภทอาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ
อาหารที่มีการกล่าวอ้างหรือใช้คุณค่าทางโภชนาการเพื่อส่งเสริมการขายต้องแสดงฉลาก
โภชนาการ ดังต่อไปนี้
5.1 อาหารที่มีการแสดงข้อมูลชนิดสารอาหาร ปริมาณสารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร
เช่น มีไขมัน 0 % มีแคลเซียมสูง เป็นต้น
5.2 อาหารที่มีการใช้คุณค่าทางอาหารหรือทางโภชนาการในการส่งเสริมการขาย เช่น เป็น
ผลิตภัณฑ์เพื่อบารุงสุขภาพ สดใสแข็งแรง เป็นต้น แต่ห้ามแสดงสรรพคุณในลักษณะป้องกันหรือรักษา
โรค เช่น ลดความอ้วน ป้องกันมะเร็ง เป็นต้น
5.3 อาหารที่มุ่งจะใช้ในกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มเพื่อการส่งเสริมการขาย เช่น กลุ่มวัยเรียน
กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
5.4 อาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกาหนดให้ต้องแสดงฉลาก
โภชนาการเนื่องจากพิจารณาแล้วว่าเป็นอาหารที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในด้านคุณค่าคุณประโยชน์ทาง
โภชนาการอย่างแพร่หลาย ดังนั้น อาหารในท้องตลาดที่ไม่มีการกล่าวอ้างหรือส่งเสริมการขายใน
ลักษณะดังกล่าวไม่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ
6. วิธีการอ่านฉลากโภชนาการ
ก่อนการเลือกซื้ออาหาร ควรอ่านฉลากก่อนซื้อเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารตามที่ต้องการ ซึ่ง
การอ่านฉลากโภชนาการ ทาได้ง่ายดาย เพียงแค่ทราบหลัก ดังนี้
6.1 “หนึ่งหน่วยบริโภค” หมายถึง ปริมาณการกินต่อครั้งที่ผู้ผลิต แนะนาให้ผู้บริโภค
รับประทาน หรือหมายถึง กินครั้งละเท่าไรนั่นเอง ซึ่งได้มาจากค่าเฉลี่ยที่รับประทานของคนไทย เมื่อ
รับประทานในปริมาณเท่านี้แล้วก็จะได้รับสารอาหารตามที่ระบุไว้บนฉลาก หนึ่งหน่วยบริโภคจะแสดงให้
เห็นทั้งปริมาณที่เป็นหน่วยครัวเรือน เช่น กระป๋อง ชิ้น ถ้วย แก้ว เป็นต้น ตามด้วยน้าหนัก ...กรัม หรือ
ปริมาตร...มิลลิลิตร ในระบบเมตริก ตัวอย่าง เช่น
เงาะในน้าเชื่อมเข้มข้น บรรจุกระป๋อง จะต้องระบุปริมาณที่เห็นง่าย และน้าหนัก หรือ
ปริมาตร ดังนี “หนึ่งหน่วยบริโภค : 4 ลูก (140 กรัม รวมน้าเชื่อม)”
เครื่องดื่มอัดลม จะต้องระบุปริมาณที่เห็นง่าย และน้าหนัก หรือปริมาตร ดังนี “หนึ่งหน่วย
บริโภค : 1 กระป๋อง (325 มิลลิลิตร)”
- ถ้ากินหมดในครั้งเดียว ปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภค คือน้าหนักทั้งหมด หรือปริมาตรสุทธิของ
อาหารนั้น
- ถ้าต้องแบ่งกิน ปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคต้องใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยของการกินอาหาร
ประเภทนั้นค่าเฉลี่ยนี้ เรียกว่า “หนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง (Reference Amount)” ผู้ผลิตจะเป็นผู้
คานวณตามกฎที่กาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่182) พ.ศ. 2541 เรื่อง ฉลาก
โภชนาการ ยกตัวอย่าง เช่น หนึ่งหน่วยบริโภค อ้างอิงของนมพร้อมดื่มเป็น 200 มิลลิลิตร เป็นต้น
6.2 “จานวนหน่วยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ” หมายถึง เมื่อรับประทานครั้งละ “หนึ่งหน่วย
บริโภค” แล้วอาหารห่อนี้ขวดนี้กล่องนี้กินได้กี่ครั้ง นั่นเอง ตัวอย่างเช่น นมพร้อมดื่ม หากหนึ่งหน่วย
บริโภคคือ 1 กล่อง หรือ 250 มิลลิลิตร จานวนครั้งที่กินได้ก็คือ 1 แต่หากเป็นขวดลิตรควรแบ่งกิน
(ตามหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง) ครั้งละ 200 มิลลิลิตรซึ่งจะกินได้ถึง 5 ครั้ง ดังนั้น เราอาจเห็นอาหารยี่ห้อ
เดียวกัน แสดงปริมาณการ “กินครั้งละ” ต่างกันสาหรับแต่ละขนาดบรรจุก็ได้ ดังนี้
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3

Contenu connexe

Tendances

งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
krupornpana55
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
Chok Ke
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5
Alzheimer Katty
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
krupornpana55
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
NIng Bussara
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่า
Jiraprapa Suwannajak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
krooKob
 

Tendances (20)

อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชกตัวละครในกัณฑ์ชูชก
ตัวละครในกัณฑ์ชูชก
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
 
การประมาณค่า
การประมาณค่าการประมาณค่า
การประมาณค่า
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Similaire à บทที่ 3

ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
KM117
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
guest3494f08
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Pacharee
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
Panjaree Bungong
 

Similaire à บทที่ 3 (20)

ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
ประโยชน์ที่ได้จากการกินผัก
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
FAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสFAQมากิพลัส
FAQมากิพลัส
 

Plus de Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 

Plus de Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาหาร เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งอาหารนั้น เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ต้องได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคทางสาธารณสุข นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ อื่นๆ อันได้แก่ ยา เครื่องสาอาง เครื่องมือแพทย์ และวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน ด้วยเหตุที่อาหาร สามารถส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของผู้บริโภค ทั้งในด้านที่เป็นประโยชน์ และการช่วยเสริมสร้าง สุขภาพ และในด้านที่เป็นโทษ คืออาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพนั่นเอง จึงจาเป็นต้องมีการ ควบคุมดูแลด้านความปลอดภัยของอาหารอย่างเคร่งครัดในรูปของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ อาหาร โดยมีพระบัญญัติอาหาร กฎกระทรวง และประกาศ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงานคุ้มครอง ผู้บริโภคทางสาธารณสุข อาหาร 1. ความหมายของอาหาร อาหาร หมายความว่า ของกิน เครื่องค้าจุนชีวิต เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต เช่น อาหารเช้า อาหาร ปลา อาหารนก (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556) อาหาร คือ ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ได้แก่ (1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ หรือในรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทหรือยา เสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี (2) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส (พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 ฉบับปรับปรุง, 2554) โดยสรุป อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานเข้าไปแล้วทาให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆ ไม่ ทาให้เกิดโทษ ดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข อาทิ เช่น เนื้อสัตว์ ข้าว แป้ง ผัก ผลไม้ นม ฯลฯ เป็นต้น 2. ความสาคัญของอาหาร อาหารมีความสาคัญเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มี คุณค่าต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เนื่องจากอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สาคัญสาหรับการ ดารงชีวิตของมนุษย์ หากประชากรในประเทศได้มีโอกาสบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ และปลอดภัย จะทา ให้มีสุขภาพที่ดี และเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป ทั้งนี้การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน อาหารนั้น ต้องคานึงถึงความสะอาดและความปลอดภัยของอาหาร และที่จะละเลยไม่ได้ในปัจจุบัน คือ การเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาภาวะขาดสารอาหาร ภาวะ โภชนาการเกิน อันจะส่งผลทาให้เกิดโรคต่างๆ ได้ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีการคุ้มครองผู้บริโภค ในด้านผลิตภัณฑ์อาหาร เพราะอาหารที่แปรรูปจาหน่วยในปัจจุบันมีส่วนประกอบที่หลากหลาย จึงมีการ กาหนดให้ต้องแสดงฉลากโภชนาการบนผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ เพราะผู้บริโภคจะสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าเหมาะสมกับความต้องการของ ตนเอง ผู้บริโภคจึงควรให้ความสาคัญ ดังต่อไปนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556)
  • 2. 38 2.1 ความสะอาดของอาหาร เพราะอาหารที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร อาจมีเชื้อโรค ปนเปื้อนและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะอาหารที่วางขายตามริมถนน ริมฟุตบาทต่างๆ ซึ่งไม่มี ภาชนะปกปิดอย่างมิดชิด อาจมีเชื้อโรคปนเปื้อนได้ ดังนั้นผู้บริโภคควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในด้าน ความสะอาดของอาหาร นอกจากนี้แล้ว ภาชนะที่ใช้บรรจุอาหารก็มีความสาคัญ หากไม่มีความสะอาด ก็ อาจมีเชื้อโรคปนเปื้อนมาเช่นเดียวกัน ซึ่งอาหารที่ไม่สะอาดจะส่งผลให้เกิดอาการอาหารเป็นพิษได้ เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง และหากมีอาการที่เฉียบพลันอาจรุนแรงจนทาให้เสียชีวิตได้ ดังนั้น หาก ผู้บริโภคไม่แน่ใจในเรื่องความสะอาดของอาหาร ควรเลือกรับประทานอาหารที่สุก และปรุงเสร็จใหม่ๆ เพราะความร้อนจะช่วยทาลายเชื้อโรคที่อาจทาให้เป็นพิษได้ ดังที่กระทรวงสาธารณสุขได้รณรงค์ให้ กิน ร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ เป็นต้น 2.2 ความเป็นพิษของอาหาร เพราะอาหารหลายชนิดทั้งในสภาพที่ดิบและสภาพที่ปรุงสุก แล้ว และบรรจุในภาชนะปิดมิดชิด อาจไม่มีความปลอดภัยและเป็นพิษต่อสุขภาพได้ ตัวอย่าง อาหาร ธรรมชาติบางชนิดที่มีสารพิษอยู่ในตัว เช่น มันสาปะหลังดิบจะมีสารจาพวกไซยาไนด์ ซึ่งหาก รับประทานเข้าไปอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อย่างไรก็ตาม สารพิษนี้หากถูกความร้อนก็จะสลายตัว ความเป็นพิษก็จะหมดไป นอกจากนี้แล้ว อาหารจาพวกถั่ว หากไม่ระมัดระวังในการเก็บรักษา อาจมีการ ปนเปื้อนของเชื้อราที่ผลิตสารพิษอะฟลาท๊อกซิน ที่ทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ โดยเฉพาะการรับประทาน อาหารที่ใส่ถั่วลิสงป่น อาจต้องใช้ความระมัดระวังเชื้อรา หากมีลักษณะสีดาปนอยู่ในถั่วลิสงก็ไม่ควร รับประทาน 2.3 คุณค่าทางโภชนาการของอาหาร เพราะนอกจากความสะอาด ปลอดภัยจากสารพิษ ของอาหารแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่มีผลต่อสุขภาพ คือ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารนั้นๆ การ รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยได้รับสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอทั้ง คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามินและน้าให้เพียงพอ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง ระบบการ ทางานของกระบวนการต่างๆ ในร่างกายเป็นไปตามปกติ การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทาง โภชนาการไม่เหมาะสม จะทาให้ขาดสารอาหารบางชนิด หรือได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกินไป จะ ส่งผลให้เกิดปัญหาทางโภชนาการ เช่น การรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ดบางชนิดจะมีไขมันในปริมาณสูง กว่าความต้องการของร่างกาย ทาให้มีไขมันในเลือดสูง หรือแม้แต่การรับประทานขนมกรุบกรอบ ทาให้ รู้สึกอิ่ม ไม่อยากรับประทานอาหาร ทาให้ขาดสารอาหารประเภทอื่นๆ ได้ ซึ่งผลที่ตามมาจากการได้รับ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารที่ไม่เหมาะสมคือ ทาให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา อาทิ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้น 3. ประเภทของอาหาร อาหาร สามารถแบ่งประเภทออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ คือ (พระราชบัญญัติอาหาร, 2554) 3.1 อาหารควบคุมเฉพาะ เป็นอาหารที่อยู่ในความควบคุมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐาน และต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร แล้วจึงจะผลิตเพื่อจาหน่ายได้ อาหารประเภทนี้มีความเสี่ยงอันตราย ต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภคค่อนข้างสูง อาจทาให้ผู้บริโภคเสียชีวิตได้ ซึ่งหากไม่ควบคุมกระบวนการ ผลิตให้ดี อาจมีอันตรายต่อผู้บริโภค ซึ่งยังคงเป็นปัญหาด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งยังมีการนาไป ร่วมกับการผลิตอาหารประเภทอื่นอีกหลายชนิด หากไม่ควบคุมให้มีคุณภาพ จะทาให้เกิดปัญหากับ
  • 3. 39 ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ตามมา เน้นการดูแลเข้มงวดโดยเฉพาะทั้งทางด้านสถานที่และผลิตภัณฑ์ โดยอาหาร ควบคุมเฉพาะ มีทั้งหมด 15 รายการ ดังต่อไปนี้ 3.1.1 อาหารสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้าหนัก 3.1.2 นมดัดแปลงสาหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก 3.1.3 อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก 3.1.4 อาหารเสริมสาหรับทารกและเด็กเล็ก 3.1.5 นมโค 3.1.6 นมปรุงแต่ง 3.1.7 นมเปรี้ยว 3.1.8 ไอศกรีม 3.1.9 อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 3.1.10 ผลิตภัณฑ์ของนม 3.1.11 เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 3.1.12 สีผสมอาหาร 3.1.13 วัตถุที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร 3.1.14 วัตถุเจือปนอาหาร 3.1.15 โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียมซัยคลาเมต ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารควบคุมเฉพาะ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
  • 4. 40 ตารางที่ 3.1 รายการอาหารควบคุมเฉพาะ รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัดดาเนินการ 1. เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 214) พ.ศ.2543 และ (230) พ.ศ.2544 เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทและ เครื่องดื่มชนิดแห้ง เฉพาะกระเจี๊ยบ เก๊กฮวย หล่อฮังก้วย มะตูม ขิง ข่า บัวบก ตะไคร้ ใบเตย ใบหม่อน มะนาว ลาไย ลิ้นจี่ มะขาม มะขามป้อม และ เครื่องดื่มที่ทาจากธัญพืช ได้แก่ ข้าว สาลี ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ลูกเดือย เม็ดบัว ถั่วแดง ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ยกเว้น ยกเว้นเครื่องดื่มที่มีก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์ หรือออกซิเจนผสมอยู่ด้วย 2. โซเดียมซัยคลาเมตและอาหารที่มีโซเดียม ซัยคลาเมต ฉบับที่ 113 (พ.ศ.2531) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 3. นมดัดแปลงสาหรับทารกและนมดัดแปลง สูตรต่อเนื่องสาหรับทารกและเด็กเล็ก ฉบับที่ 156 (พ.ศ.2537) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 4. นมปรุงแต่ง ฉบับที่ 265 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 5. นมเปรี้ยว ฉบับที่ 289 (พ.ศ.2528) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 6. นมโค ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 7. ผลิตภัณฑ์ของนม ฉบับที่ 267 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 8. วัตถุเจือปนอาหาร ฉบับที่ 281 (พ.ศ.2547) เฉพาะสีผสมอาหารที่ผลิต โดยวิธีแบ่งบรรจุ 9. อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่อง สาหรับทารกและเด็กเล็ก ฉบับที่ 157 (พ.ศ.2537) , 171 (พ.ศ.2539) และ 287 (พ.ศ. 2547) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 10. อาหารสาหรับผู้ที่ต้องการควบคุม น้าหนัก ฉบับที่ 121 (พ.ศ.2532) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 11. อาหารเสริมสาหรับทารกและเด็กเล็ก ฉบับที่ 158 (พ.ศ.2537) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 12. อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ฉบับที่ 144 (พ.ศ.2535) ,179 (พ.ศ.2540)และ (253) พ.ศ. 2545 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 13. ไอศกรีม (ฉบับที่ 222) พ.ศ. 2544 และ (257) พ.ศ.2545 ทุกชนิด ยกเว้นไอศกรีมชนิดผง 14. สตีวิโอไซด์และอาหารที่มีส่วนผสม ของสตีวิโอไซด์ (ฉบับที่ 262) พ.ศ.2545 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 3.2 อาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร แต่ไม่ต้องขอ อนุญาตขึ้นทะเบียนตารับอาหาร อาหารในกลุ่มนี้มีความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพอนามัยน้อยกว่ากลุ่ม แรก และถ้าหากไม่ควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตให้ดี อาจมีผลต่อสุขภาพของผู้บริโภคไม่รุนแรงมาก
  • 5. 41 แต่อาจมีผลรุนแรงในระยะยาว มีการกาหนดคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์และฉลาก พร้อมทั้งประเมิน สถานที่ก่อนอนุญาตให้ผลิต โดยอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน มีทั้งหมด 33 รายการ ดังต่อไปนี้ 3.2.1 น้ามันและไขมัน 3.2.2 น้ามันถั่วลิสง 3.2.3 เนย 3.2.4 เนยเทียม 3.2.5 กี 3.2.6 อาหารกึ่งสาเร็จรูป 3.2.7 น้ามันเนย 3.2.8 น้าปลา 3.2.9 น้าส้มสายชู 3.2.10 ครีม 3.2.11 น้ามันปาล์ม 3.2.12 น้ามันมะพร้าว 3.2.13 ชา 3.2.14 น้านมถั่วเหลืองในภาชนะที่ปิดสนิท 3.2.15 กาแฟ 3.2.16 แยม เยลลี มาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 3.2.17 เครื่องดื่มเกลือแร่ 3.2.18 รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี 3.2.19 น้าผึ้ง 3.2.20 น้าแร่ธรรมชาติ 3.2.21 เนยแข็ง 3.2.22 ซอสบางชนิด 3.2.23 น้าที่เหลือจากการผลิตโมโนโซเดียมกลูตาเมต 3.2.24 อาหารที่มีสารพิษตกค้าง 3.2.25 ไข่เยี่ยวม้า 3.2.26 อาหารที่มีสารปนเปื้อน 3.2.27 อาหารที่มีกัมมันตรังสี 3.2.28 ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง 3.2.29 ข้าวเติมวิตามิน 3.2.30 ช็อกโกแลต 3.2.31 เกลือบริโภค 3.2.32 น้าแข็ง 3.2.33 น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
  • 6. 42 ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 ตางรางที่ 3.2 รายการอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้ จังหวัดดาเนินการ 1. กาแฟ (ฉบับที่ 197) พ.ศ.2543 และ (ฉบับที่ 276) พ.ศ.2546 มอบอานาจให้จังหวัด 2. เกลือบริโภค * ฉบับที่ 153 (พ.ศ.2537) มอบอานาจให้จังหวัด 3. ข้าวเติมวิตามิน ฉบับที่ 150 (พ.ศ.2536) มอบอานาจให้จังหวัด 4. ไข่เยี่ยวม้า (ฉบับที่ 236) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 5. ครีม (ฉบับที่ 208) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 6. เครื่องดื่มเกลือแร่ (ฉบับที่ 195) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 7. ช็อกโกแลต ฉบับที่ 83 (พ.ศ.2527) มอบอานาจให้จังหวัด 8. ชา (ฉบับที่ 196) พ.ศ.2543 และ(ฉบับที่ 277) พ.ศ.2546 มอบอานาจให้จังหวัด 9. ซอสบางชนิด (ฉบับที่ 201) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 10. น้านมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิด สนิท ** (ฉบับที่ 198) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 11. น้าส้มสายชู (ฉบับที่ 204) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 12. น้ามันถั่วลิสง ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2522) และ (ฉบับที่ 233) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 13. น้ามันมะพร้าว ฉบับที่ 57 (พ.ศ.2524) และ (ฉบับที่ 235) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 14. น้ามันปาล์ม ฉบับที่ 56 (พ.ศ.2524) และ (ฉบับที่ 234) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 15. น้ามันเนย (ฉบับที่ 206) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 16. น้ามันและไขมัน (ฉบับที่ 205) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 17. น้าปลา (ฉบับที่ 203) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 18. น้าแร่ธรรมชาติ (ฉบับที่ 199) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 19. เนย (ฉบับที่ 227) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด
  • 7. 43 ตางรางที่ 3.2 รายการอาหารที่กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน (ต่อ) รายการอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัด ดาเนินการ 20. น้าผึ้ง ** (ฉบับที่ 211) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 21. เนยแข็ง (ฉบับที่ 209) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 22. เนยเทียม (ฉบับที่ 207) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 23. เนยใสหรือกี (ฉบับที่ 226) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 24. ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อย โปรตีนของถั่วเหลือง (ฉบับที่ 202) พ.ศ.2543 และ(ฉบับที่ 248) พ.ศ. 2544 มอบอานาจให้จังหวัด 25. แยม เยลลี มาร์มาเลด ในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 213) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 26. รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี *** (ฉบับที่ 212) พ.ศ.2543 และ (ฉบับที่ 241) พ.ศ. 2544 ไม่ได้มอบอานาจให้ จังหวัด 27. อาหารกึ่งสาเร็จรูป (ฉบับที่ 210) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 28. น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) , 135 (พ.ศ.2534) , (220) พ.ศ.2544 และ (256) พ.ศ.2545 มอบอานาจให้จังหวัด 29. น้าแข็ง ฉบับที่ 78 , 137 (พ.ศ.2534) และ(254) พ.ศ.2545 มอบอานาจให้จังหวัด 30. ชาสมุนไพร (ฉบับที่ 280) พ.ศ.2547 มอบอานาจให้จังหวัด 31. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (ฉบับที่ 293) พ.ศ.2548 มอบอานาจให้จังหวัด ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 หมายเหตุ * ไม่ต้องยื่นคาขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหาร (แบบ สบ.1) และจดทะเบียนอาหาร (แบบ สบ.5) ** กรณีที่ไม่เข้าข่ายเป็นโรงงาน ไม่ต้องยื่นคาขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหาร (แบบ สบ.1) และจดทะเบียนอาหาร (แบบ สบ.5) *** เป็นอาหารที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดให้ต้องส่งมอบแบบฉลาก ต้องยื่นคาขอใช้ฉลากอาหาร (แบบ สบ.3) 3.3 อาหารที่ต้องมีฉลาก เป็นอาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท อาหารพร้อมปรุงและอาหาร สาเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารที่มีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี วัตถุแต่ง กลิ่นรส น้าเกลือปรุงอาหาร ผลิตภัณฑ์จากกระเทียม ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารที่ได้จากเทคนิคการ ดัดแปลงพันธุกรมหรือพันธุวิศวกรรม เป็นต้น อาหารกลุ่มนี้มีความเสี่ยงอันตรายต่า และหากควบคุม กระบวนการผลิตไม่ดีพอ ผลิตภัณฑ์จะมีอันตรายต่อสุขภาพบ้าง โดยได้กาหนดเกณฑ์สถานที่ผลิตและ ฉลากให้ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยอาหารที่ต้องมีฉลาก มีทั้งหมด 14 รายการ ดังต่อไปนี้ 3.3.1 ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ 3.3.2 แป้งข้าวกล้อง 3.3.3 น้าเกลือปรุงอาหาร 3.3.4 ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 3.3.5 ขนมปัง 3.3.6 หมากฝรั่งและลูกอม 3.3.7 วุ้นสาเร็จรูปและขนมเยลลี
  • 8. 44 3.3.8 กาหนดกรรมวิธีการผลิตอาหารซึ่งมีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี 3.3.9 ผลิตภัณฑ์กระเทียม 3.3.10 วัตถุแต่งกลิ่นรส 3.3.11 อาหารที่มีวัตถุที่ใช้เพื่อรักษาคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหารที่รวมอยู่ในภาชนะบรรจุ 3.3.12 อาหารที่มีส่วนผสมของว่านหางจระเข้ 3.3.13 การแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุงและอาหารสาเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที 3.3.14 อาหารที่วัตถุประสงค์พิเศษ ภาพที่ 3.3 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารที่ต้องมีฉลาก ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
  • 9. 45 ตารางที่ 3.3 รายการอาหารที่ต้องมีฉลาก ชนิดอาหาร ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มอบอานาจให้จังหวัด ดาเนินการ 1. ขนมปัง (ฉบับที่ 224) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 2. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 200) พ.ศ.2543 มอบอานาจให้จังหวัด 3. น้าเกลือปรุงอาหาร (ฉบับที่ 225) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 4. แป้งข้าวกล้อง ฉบับที่ 44 (พ.ศ.2523) มอบอานาจให้จังหวัด 5. ผลิตภัณฑ์กระเทียม* (ฉบับที่ 242) พ.ศ.2544 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 6. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ (ฉบับที่ 243) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 7. วัตถุแต่งกลิ่นรส (ฉบับที่ 223) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 8. วุ้นสาเร็จรูปและขนมเยลลี ฉบับที่ 100 (พ.ศ.2529) และ(ฉบับที่ 263) พ.ศ.2545 มอบอานาจให้จังหวัด 9. หมากฝรั่งและลูกอม (ฉบับที่ 228) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 10. อาหารพร้อมปรุงและอาหารสาเร็จรูป ที่พร้อมบริโภคทันที (ฉบับที่ 237) พ.ศ.2544 มอบอานาจให้จังหวัด 11. อาหารมีวัตถุประสงค์พิเศษ* (ฉบับที่ 238) พ.ศ.2544 ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด 12. อาหารซึ่งมีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี ฉบับที่ 103 (พ.ศ.2529) มอบอานาจให้จังหวัด 13. อาหารทั่วไปที่เป็นอาหารดัดแปร พันธุกรรมหรือพันธุวิศวกรรม ฉบับที่ 251 (พ.ศ.2545) ไม่ได้มอบอานาจให้จังหวัด ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 หมายเหตุ * เป็นอาหารที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดให้ต้องส่งมอบแบบฉลาก ต้องยื่นคาขอใช้ฉลากอาหาร (แบบ สบ.3) 3.4 อาหารทั่วไป เป็นอาหารที่มีความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพอนามัยน้อยมาก กระบวนการผลิตหรือการแปรรูปไม่มีอันตราย โดยอาหารทั่วไป คือ อาหารอื่นนอกเหนือจากอาหารใน กลุ่ม 1, 2, 3 ภาพที่ 3.4 ขั้นตอนการขออนุญาต นาเข้า ผลิต และจาหน่ายอาหารทั่วไป ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
  • 10. 46 ตารางที่ 3.4 รายการอาหารทั่วไป ลาดับที่ รายการอาหาร 1 สัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น เนื้อสัตว์สด สัตว์น้าสด ไข่สด เป็นต้น 2 พืชและผลิตภัณฑ์ เช่น พืชผักสด ผลไม้สด ถั่วและนัต เป็นต้น 3 สารสกัด/สารสังเคราะห์ เช่น สารสกัดจากพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เป็นต้น 4 สารอาหาร เช่น กรดอะมิโนที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เป็นต้น 5 แป้งและผลิตภัณฑ์ เช่น แป้งมันสาปะหลัง วุ้นเส้น ก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น 6 ผลิตภัณฑ์สาหรับทาอาหารชนิดต่างๆ ที่ยังไม่พร้อมบริโภค 7 เครื่องปรุงรส เช่น ผงเครื่องปรุงรสในซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป เป็นต้น 8 น้าตาล เช่น น้าตาลทราย แบะแซ เป็นต้น 9 เครื่องเทศ เช่น มัสตาร์ด พริกไทย พริกป่น เป็นต้น ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 หมายเหตุ อาหารทั่วไปในกลุ่มนี้ ไม่ต้องมีเลขสารบบอาหาร ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้ผลิตภัณฑ์ 4 ชนิด ที่ต้องเสริมไอโอดีนตามปริมาณที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ เกลือบริโภค น้าปลา น้าเกลือปรุงอาหาร และ ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของ ถั่วเหลือง เช่น ซอสปรุงรส ซีอิ๊ว โดยมีผลทาให้ผลิตภัณฑ์ อื่นๆ เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ขนมขบเคี้ยว ต้องมีสารไอโอดีนเสริมด้วยโดยปริยาย ผู้บริโภคสามารถ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เสริมไอโอดีนได้โดย พิจารณาจากข้อความที่แสดงเพิ่มเติมบนฉลาก เช่น “ใช้เกลือ บริโภคเสริมไอโอดีน” หรือ “ใช้เกลือเสริมไอโอดีน” หรือ “ผสมเกลือไอโอดีน” คุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร อาหารที่ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายภายในประเทศจะต้องมีคุณภาพมาตรฐาน มีความปลอดภัย ในการบริโภคได้ ดังนั้นจึงมีกฎหมายกาหนดห้ามมิให้ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายอาหาร ดังต่อไปนี้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556) 1. อาหารไม่บริสุทธิ์ 1.1 อาหารที่มีสิ่งที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย ที่อาจพบสิ่งต่อไปนี้อยู่ในอาหาร - สีที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหารชนิดต่างๆ - สารบอแรกซ์ (Borax) ในอาหารลูกชิ้นและอาหารอื่นๆ - บักเตรีที่ทาให้เกิดโรคจากอาหารชนิดต่างๆ 1.2 อาหารที่มีสาร หรือวัตถุเคมีเจือปนอยู่ในอัตราที่อาจเป็นเหตุให้คุณภาพของอาหารนั้น ลดลง เว้นแต่การเจือปนเป็นการจาเป็นต่อกรรมวิธีผลิต การผลิต และได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้ว ความสาคัญคือ การใช้สารหรือวัตถุเคมีเจือปนในอาหารเป็นเหตุทาให้คุณภาพของอาหารลดลง 1.3 อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรือเก็บรักษาไว้โดยไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น หากตรวจพบเศษผม ในอาหาร ถือว่าอาหารนั้นได้ผลิตบรรจุโดยไม่ถูกสุขลักษณะ หรือ การเก็บรักษานมพาสเจอร์ไรส์ไว้ใน อุณหภูมิที่สูงเกินกว่า 10 องศาเซลเซียส จนทาให้นมนั้นเสีย ถือได้ว่าอาหารนั้นเก็บรักษาไว้ไม่ถูก สุขลักษณะ เป็นต้น
  • 11. 47 1.4 อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ 1.5 อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพ ซึ่งเกิดจากการ ใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ไม่มีความปลอดภัย เช่น นาภาชนะที่บรรจุอาหารมาส่งตรวจวิเคราะห์ พบว่ามี โลหะหนัก (ตะกั่ว, แคดเมี่ยม) อันก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพได้ ดังนั้นจึงควรพิจารณาว่า ภาชนะที่ใช้ นั้นเป็นชนิดที่เหมาะแก่การบรรจุอาหารหรือไม่ 2. อาหารปลอม 2.1 อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วัตถุอื่นแทนบางส่วน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุมค่าออกเสียทั้งหมด หรือบางส่วน และจาหน่ายเป็นอาหารแท้ หรือใช้ชื่ออาหารแท้ เช่น การผสมน้าตาลหรือน้าเชื่อมในน้าผึ้ง แล้วจาหน่ายเป็นน้าผึ้งแท้ ซึ่งเป็นการสับเปลี่ยนวัตถุอย่างอื่นแทนวัตถุที่มีคุณค่าทางอาหาร 2.2 วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างหนึ่งอย่างใด และจาหน่ายเป็นอาหารแท้ คือ การทาเทียมขึ้นมา เพื่อให้เหมือนหรือคล้ายคลึงของจริงหรือของแท้ แล้วอ้างว่าเป็นของแท้ 2.3 อาหารที่ได้ผสมหรือปรุงแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นความชารุด บกพร่องหรือความด้อยคุณภาพของอาหารนั้น 2.4 อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง หรือพยายามลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิดในเรื่อง คุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต 2.5 อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้ถึงขนาด ผลวิเคราะห์ พบว่าส่วนประกอบที่เป็นคุณค่าทางอาหารขาดหรือเกินร้อยละ 30 จากเกณฑ์ต่าสุดหรือสูงสุด หรือ แตกต่างจากคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้ จนทาให้เกิดโทษหรืออันตราย 3. อาหารผิดมาตรฐาน ได้แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศ กาหนด แต่ไม่ถึงขนาดที่เป็นอาหารปลอม 4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรีกาหนด ได้แก่ 4.1 อาหารที่ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือ 4.2 อาหารที่มีสรรพคุณไม่เป็นที่เชื่อถือ หรือ 4.3 อาหารที่มีคุณค่าหรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม การแสดงฉลากอาหาร ฉลาก คือ รูปรอยประดิษฐ์ หรือข้อความที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ที่ผู้บริโภคมัก พบเห็นบนภาชนะบรรจุ หรือที่เราเรียกสั้นๆ ว่าฉลาก ซึ่งในแง่ของผู้ผลิต ฉลากมีไว้เพื่อดึงดูดสายตาให้ ผู้บริโภคสนใจในตัวสินค้า และซื้อหาไปบริโภค แต่ในความเป็นจริงแล้วฉลากไม่ได้มีไว้เพียงเพื่อความ สวยงามหรือดึงดูดสายตาให้ผู้บริโภคเท่านั้น ฉลากยังเปรียบเสมือนเป็นหน้าต่างที่ทาให้ผู้บริโภครู้ข้อมูล ของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้เป็นข้อมูลพิจารณาประกอบการตัดสินใจซื้อ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งการแสดงฉลากอาหารนั้น แบ่งได้เป็น 5 ลักษณะ ดังนี้ คือ (สานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา, 2558)
  • 12. 48 1. ฉลากอาหารที่จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคของอาหารประเภทที่ 1 - 3 ให้แสดงข้อความเป็นภาษาไทย หรืออาจมีภาษาต่างประเทศได้ โดยต้องแสดงรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1.1 ชื่ออาหาร ชื่ออาหารภาษาไทยต้องมีข้อความต่อเนื่องกันในแนวนอน ขนาดของ ตัวอักษรใกล้เคียงกัน สีเดียวกัน ถ้าแสดงบรรทัดเดียวได้ไม่หมดก็แยกเป็นหลายบรรทัดก็ได้ และชื่อ อาหารภาษาไทยจะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าชื่ออาหารภาษาต่างประเทศ 1.2 เลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย ด้วยตัวเลขที่มีสีตัดกับสีพื้นของกรอบ และมีขนาดไม่ เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร สีของกรอบตัดกับสีพื้นของฉลาก 1.3 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุ เพื่อจาหน่าย แล้วแต่กรณี โดยมีคาว่า “ผลิต โดย” หรือ “ผลิต-แบ่งบรรจุโดย” กากับ สาหรับอาหารที่ผลิตภายในประเทศอาจแสดงสานักงานใหญ่ ของ ผู้ผลิตหรือของผู้แบ่งบรรจุก็ได้ในกรณีที่เป็นอาหารนาเข้าให้ แสดงชื่อและที่ตั้งของผู้นาเข้าและ ประเทศผู้ผลิตด้วย 1.4 ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก ถ้าเป็นอาหารผงหรือแห้งหรือก้อนให้แสดง น้าหนักสุทธิ ถ้าอาหารเป็นของเหลวให้แสดงเป็นปริมาตรสุทธิในกรณีที่เป็นอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิด สนิท ถ้าแยกเนื้ออาหารออกจากน้าได้ให้แสดงน้าหนักเนื้ออาหารด้วย 1.5 ส่วนประกอบที่สาคัญเป็นร้อยละของน้าหนักโดยประมาณ โดยแสดงจากปริมาณมากไป หาน้อย กรณีที่เป็นอาหารที่ต้องเจือจางหรือทาละลายก่อนบริโภค ให้แสดงส่วนประกอบที่สาคัญของ อาหารเมื่อเจือจางหรือทาละลายตามวิธีปรุงเมื่อรับประทานตามที่แจ้งไว้ในฉลาก 1.6 ข้อความว่า “ใช้วัตถุกันเสีย” ถ้ามีการใช้ 1.7 ข้อความว่า “เจือสีธรรมชาติ” หรือ “เจือสีสังเคราะห์” แล้วแต่กรณีที่มีการใช้ 1.8 ข้อความว่า “…. เป็นวัตถุปรุงแต่งรสอาหาร” (ความที่เว้นไว้ให้ระบุชนิดของวัตถุปรุงแต่งที่ ใช้) เช่น กรณีที่เป็นโมโนโซเดียมกลูตาเมทให้แสดงข้อความว่า “ใช้โมโนโซเดียมกลูตาเมทเป็นวัตถุปรุงแต่งรส อาหาร” 1.9 ข้อความว่า “ใช้… เป็นวัตถุที่ให้ความหวานแทนน้าตาล” (ที่เว้นไว้ให้ระบุชนิดของวัตถุที่ ให้ความหวานแทนน้าตาลที่ใช้) ด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร สีของตัวอักษรตัดกับสีพื้น ของฉลาก เช่น กรณีที่เป็นแอสปาร์แตม ให้แสดงข้อความว่า “ใช้แอสปาร์แตมเป็นวัตถุให้ความหวาน แทนน้าตาล” 1.10 ข้อความว่า “แต่งกลิ่นธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นเลียนธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นสังเคราะห์” “แต่งรสธรรมชาติ” หรือ “แต่งรสเลียนธรรมชาติ” แล้วแต่กรณีถ้ามีการใช้ 1.11 แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคาว่า “ผลิต” หรือ“หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคก่อน” กากับ แล้วแต่กรณีดังต่อไปนี้ - อาหารที่เก็บได้ไม่เกิน 90 วัน ให้แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน - อาหารที่เก็บได้เกิน 90 วัน ให้แสดงเดือนปีที่ผลิต หรือวันเดือนปีที่หมดอายุ หรือวัน เดือนปีที่ควรบริโภคก่อน - อาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกาหนดให้แสดงวันเดือนปีที่ หมดอายุเช่น นมเปรี้ยว นมพาสเจอร์ไรส์ขนมปัง ผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ไรส์ 1.12 คาแนะนาในการเก็บรักษา (ถ้ามี)
  • 13. 49 1.13 วิธีปรุงเพื่อรับประทาน (ถ้ามี) 1.14 วิธีการใช้และข้อความที่จาเป็นสาหรับอาหารที่มุ่งหมายจะใช้กับทารกหรือเด็กอ่อน หรือบุคคลกลุ่มใดใช้โดยเฉพาะ 1.15 ข้อความที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยากาหนด 2. ฉลากอาหารที่จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคของประเภทอาหารทั่วไป อย่างน้อยต้องแสดงข้อความ ดังนี้ 2.1 ชื่ออาหาร 2.2 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุเพื่อจาหน่ายแล้วแต่กรณีโดยมีคาว่า “ผลิตโดย” หรือ “ผลิตแบ่งบรรจุโดย” กากับ สาหรับอาหารที่ผลิตภายในประเทศอาจแสดงสานักงานใหญ่ของ ผู้ผลิตหรือของผู้แบ่งบรรจุก็ได้ในกรณีที่เป็นอาหารนาเข้าให้แสดงประเทศผู้ผลิตด้วย 2.3 ปริมาณสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก 2.4 วันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ หรือควรบริโภคก่อน โดยมีคาว่า “ผลิต” หรือ “หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคก่อน” กากับ 3. ฉลากอาหารที่จาหน่ายให้กับผู้ปรุงหรือผู้จาหน่ายอาหาร อาหารที่จาหน่วยให้กับผู้ปรุงหรือผู้จาหน่าย ให้แสดงฉลากเหมือนกับอาหารที่จาหน่าย โดยตรงต่อผู้บริโภค เว้นแต่กรณีมีคู่มือหรือเอกสารประกอบที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับส่วนประกอบ ของอาหาร คาแนะนาในการเก็บรักษา วิธีปรุงเพื่อรับประทาน วิธีการใช้ และข้อความที่จาเป็นสาหรับ อาหารที่มุ่งหมายจะใช้กับทารกหรือเด็กอ่อนหรือบุคคลกลุ่มใดใช้เฉพาะ การใช้วัตถุกันเสีย วัตถุให้ความ หวานแทนน้าตาล เจือสีแต่งกลิ่น การใช้วัตถุปรุงแต่งรสอาหารอยู่แล้ว จะแสดงฉลากเพียงชื่ออาหาร ชื่อ และที่ตั้งผู้ผลิตหรือผู้แบ่งบรรจุ ปริมาณสุทธิ เลขสารบบอาหาร และวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุการ ใช้ หรือควรบริโภคก่อนก็ได้ 4. ฉลากอาหารที่จาหน่ายเพื่อเป็นวัตถุดิบของโรงงาน ต้องมีข้อความภาษาไทย เว้นแต่อาหารที่นาเข้าอาจแสดงข้อความเป็นภาษาอังกฤษก็ได้ อย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี้ 4.1 ชื่อและประเภทหรือชนิดของอาหาร 4.2 เลขสารบบอาหาร 4.3 ปริมาณสุทธิเป็นระบบเมตริก 4.4 ชื่อผู้ผลิต สาหรับอาหารที่ผลิตในประเทศ ชื่อและที่ตั้งของผู้นาเข้าและประเทศผู้ผลิต สาหรับอาหารนาเข้า แล้วแต่กรณี 5. การแสดงฉลากของอาหารที่ผลิตเพื่อส่งออก จะแสดงข้อความเป็นภาษาใดก็ได้ แต่อย่างน้อยต้องมีข้อความดังต่อไปนี้ 5.1 ประเทศผู้ผลิต 5.2 เลขสารบบอาหาร (ถ้ามี) การแสดงฉลากอาหาร จะต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องฉลาก ทั้งนี้ หากประกาศกระทรวงสาธารณสุขของอาหารประเภทนั้นๆ มีการกาหนดรายละเอียดการแสดงฉลาก เพิ่มเติมจากประกาศฯ ว่าด้วยเรื่องฉลาก ผู้ขออนุญาตจะต้องแสดงฉลากให้มีรายละเอียดตามที่กาหนด ไว้ในประกาศฯ ของอาหารโดยเฉพาะ
  • 14. 50 ภาพที่ 3.5 ตัวอย่างฉลากอาหาร ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 ข้อยกเว้นในการแสดงส่วนประกอบ 1. อาหารที่ได้รับยกเว้นให้แสดงเฉพาะส่วนประกอบของอาหาร โดยไม่ต้องแจ้งปริมาณเป็นร้อย ละของน้าหนัก ได้แก่ ฟรุตคอกเทล ฟรุตสลัด 2. อาหารที่มิได้จาหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภคที่ต้องแจ้งส่วนประกอบของอาหาร โดยไม่ต้องแจ้ง ปริมาณเป็นร้อยละของน้าหนักได้แก่วัตถุเจือปนอาหาร, สีผสมอาหาร, วัตถุปรุงแต่งรสอาหารชนิดผสม 3. อาหารที่ได้รับการยกเว้นให้ไม่ต้องแสดงส่วนประกอบของอาหาร 3.1 น้าแข็ง 3.2 น้าบริโภค 3.3 อาหารที่มีส่วนประกอบเพียงอย่างเดียว โดยไม่รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร 3.4 โซดา 3.5 เครื่องดื่ม น้านมถั่วเหลืองที่แสดงฉลากโดยพิมพ์พ่นทับบนภาชนะที่เป็นแก้ว 3.6 เครื่องดื่มอัดก๊าซที่สูตรมีน้าตาล เพื่อใช้แต่งกลิ่นและสีที่แสดงฉลากแบบพิมพ์พ่นประทับ 4. อาหารที่มีเนื้อที่ของฉลากทั้งแผ่นน้อยกว่า 35 ตารางเซนติเมตร ให้แสดงส่วนประกอบของ อาหารไว้ที่หีบห่อได้โดยไม่ต้องแสดงที่ฉลาก 5. อาหารที่ต้องแสดงส่วนประกอบเมื่อเจือจางหรือทาละลายตามวิธีปรุงเพื่อรับประทานตามที่ แจ้งไว้บนฉลาก ได้แก่เครื่องดื่มชนิดเข้มข้นหรือชนิดแห้ง ข้อยกเว้นในการแสดงวันเดือนปีที่ผลิต การแสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน อาหารที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้อง แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือหมดอายุหรือควรบริโภคก่อน ได้แก่ 1. เครื่องดื่ม น้านมถั่วเหลืองที่แสดงฉลากโดยวิธีพิมพ์พ่นทับบนภาชนะบรรจุแก้ว 2. เครื่องดื่มอัดก๊าซที่สูตรมีน้าตาล เพื่อใช้แต่งกลิ่นและสีที่แสดงฉลากแบบพิมพ์พ่นประทับ 3. น้าบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 4. โซดา 5. ไอศกรีม 6. น้าแข็ง
  • 15. 51 เลขสารบบอาหาร เครื่องหมาย อย.ไมไดเปนสัญลักษณที่ใชรับประกันสรรพคุณที่โฆษณา แตเป็นเพียงสัญลักษณที่ ทาใหทราบวาผลิตภัณฑนั้นขึ้นทะเบียนอยางถูกตองเทานั้น สาหรับรายละเอียดของเลขสารบบอาหาร 13 หลักนี้ จะแบงออกเปน 5 กลุม คือ กลุมที่ 1 XX แสดงจังหวัดที่เปนที่ตั้งของสถานที่ผลิตหรือนาเขาอาหาร โดยใชตัวเลขที่ใชแทน ชื่อจังหวัดของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งรายละเอียดแสดงดังภาพ กลุมที่ 2 X แสดงสถานะของสถานที่ผลิตอาหาร หรือนาเขาอาหาร และหนวยงานที่อนุญาต หมายเลข 1 คือสถานที่ผลิตอาหารซึ่ง อย.เปนผูอนุญาต หมายเลข 2 คือสถานที่ผลิตอาหารซึ่ง จังหวัดเปนผูอนุญาต หมายเลข 3 คือสถานที่นาเขาอาหาร ซึ่ง อย.เปนผูอนุญาต หมายเลข 4 คือสถานที่นาเขาอาหาร ซึ่งจังหวัดเปนผูอนุญาต กลุมที่ 3 XXXXX เลข 3 หลักแรก คือเลขสถานที่ผลิตอาหาร หรือเลขสถานที่นาเขาอาหาร ที่ไดรับอนุญาต เลข 2 หลักทาย คือ ตัวเลข 2 หลักสุดทายของปพุทธศักราชที่อนุญาต กลุมที่ 4 Y แสดงหนวยงานที่ออกเลขสารบบอาหาร หมายเลข 1 คือ อาหารที่ไดรับเลขสารบบจาก อย. หมายเลข 2 คือ อาหารที่ไดรับเลขสารบบจากจังหวัด กลุมที่ 5 YYYY แสดงลาดับที่ของอาหารที่ผลิตโดยสถานที่ผลิต หรือ นาเขาโดยสถานที่นาเข้า แตละแหงแยกหนวยงานที่เปนผูอนุญาต ภาพที่ 3.6 เลขสารบบอาหารภายใต้กรอบเครื่องหมาย อย. ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 ฉลากโภชนาการ ปัจจุบันผู้บริโภคนิยมเลือกซื้ออาหารสาเร็จรูปมากขึ้น ซึ่งการอ่านฉลากก่อนซื้อก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง ที่ช่วยให้ได้รับสารอาหารตรงตามความต้องการ เนื่องจากฉลากอาหารเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานที่จะบอก ว่าอาหารนั้นผลิตที่ใด มีส่วนประกอบอะไร มีการปรุง การเก็บรักษาอย่างไร ผลิต และ/หรือหมดอายุ เมื่อใด มีการใช้สารหรือวัตถุเจือปนชนิดใด รวมถึงคาเตือนที่ควรระวัง และที่สาคัญได้รับอนุญาตหรือ ผ่านการตรวจสอบจาก อย.หรือไม่ โดยดูจากเครื่องหมาย อย. ซึ่งมีเลขสารบบอาหาร 13 หลัก อยู่ ภายในกรอบเครื่องหมาย อย. อีกส่วนหนึ่งที่ผู้บริโภคควรให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นแหล่งข้อมูลที่จะ ช่วยให้เราดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสมนั่นก็คือ “ฉลากโภชนาการ” การแสดงฉลากโภชนาการ คือ การ แสดงข้อมูลโภชนาการของอาหารนั้นๆ บนฉลากในรูปของชนิด และปริมาณของสารอาหาร โดยอยู่ ภายในกรอบที่มีรูปแบบเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า กรอบข้อมูลโภชนาการ ซึ่งระบุ ชนิดสารอาหารและปริมาณ สารอาหาร นอกจากนั้น ยังรวมถึงการใช้ข้อความ กล่าวอ้างทางโภชนาการ เช่น โปรตีนสูงเสริมวิตามินซี เป็นต้น
  • 16. 52 1. หลักการแสดงฉลากโภชนาการ ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า การกินมีผลโดยตรงต่อสุขภาพ โรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะ โภชนาการของคนไทย มีทั้งภาวะขาด เช่น ขาดโปรตีน ขาดไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ภาวะเกิน เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคโคเลสเตอรอลสูงในเลือด โรคความดันโลหิตสูง ดังนั้น การ เลือกบริโภคให้ถูกต้องเหมาะสมกับภาวะโภชนาการของแต่ละคน จึงเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการดูแลสุขภาพ ในการออกข้อกาหนดการแสดงฉลากโภชนาการนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้คานึงถึง แนวทางอันถือว่าเป็น "หัวใจ" ของการแสดงฉลากโภชนาการ อันได้แก่ 1.1 การกล่าวอ้างต้องเป็นความจริง เช่น บอกว่ามีวิตามินเอ ต้องมีจริงข้อมูลนั้นให้ความรู้ ทางโภชนาการที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค เช่น ถ้ามีวิตามินเอจริง แต่มีน้อยเกินไป ก็จะกล่าวว่า "มี" ไม่ได้ เพราะน้อยเกินกว่าที่จะเป็นประโยชน์ทางโภชนาการต่อร่างกาย ดังนั้น จะกล่าวว่า "มี" ได้ ก็ต้องมีอย่าง น้อย 10% ขึ้นไป และถ้าจะกล่าวว่า "สูง" ก็ต้องมี 20% ขึ้นไป 1.2 ไม่ทาให้เข้าใจผิด เช่น การให้ข้อมูลทั่วไปบนฉลากว่า "แคลเซียมเป็นส่วนประกอบ สาคัญของกระดูกและฟัน" นั้น ผู้บริโภคเห็นแล้วก็จะเข้าใจว่า อาหารที่ระบุข้อความนี้ มีแคลเซียมอยู่ มาก ดังนั้น จะระบุข้อให้ความรู้เกี่ยวกับแคลเซียมเช่นนี้ได้ก็ต่อเมื่ออาหารนั้นมีแคลเซียมอย่างน้อย 10% เท่านั้น 1.3 การกล่าวอ้างจะต้องไม่เป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการค้าอย่างไม่ ยุติธรรม เช่น หากน้ามันพืชตราหนึ่งระบุว่า "ปราศจากคลอเลสเตอรอล" ผู้บริโภคจะเข้าใจว่า น้ามันพืช ตราอื่นที่ไม่ได้ระบุเช่นนั้นมีคลอเลสเตอรอล ซึ่งความจริงแล้วพืชใดๆ ก็ไม่มีคลอเลสเตอรอลทั้งสิ้น ดังนั้น จึงไม่อนุญาตให้ระบุคาว่า "ปราศจาก" หรือ "ต่า" หากอาหารเป็นอย่างนั้นอยู่แล้วเหมือนกันหมดไม่ว่า ตราใด เนื่องจากผู้ไม่ระบุจะเสียเปรียบอย่างไม่ยุติธรรม 1.4 การกล่าวอ้างของอาหาร ต้องมีคุณค่าทางโภชนาการของอาหารนั้นประกอบอยู่ด้วย เช่น หากเป็นไปตามหลักเกณฑ์และกล่าวว่า "มีวิตามินเอ" บนฉลากได้ ก็ต้องแสดงให้รู้ด้วยว่ามีคลอ เลสเตอรอลเท่าไร ระดับไขมันเป็นอย่างไร ฯลฯ โดยแสดงในรูปกรอบโภชนาการตามแบบที่กาหนด ประกอบการกล่าวอ้างนั้น 2. รูปแบบการแสดงฉลากโภชนาการ อาหารทุกชนิดมีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกันไป หากเราเลือกรับประทานให้เหมาะสมกับ ความต้องการของ เพศ วัย สุขภาพ สภาพร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละบุคคล ดั้งนั้นการที่เราจะ ทราบได้ถึงคุณค่าทางอาหารของอาหารแต่ละชนิดได้นั้น การอ่านฉลากโภชนาการ จะช่วยให้เราทราบ ถึงข้อมูลสารอาหารต่างๆ ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้น ซึ่งถ้าหากเรามีความรู้และเข้าใจในการอ่าน ข้อมูลบนฉลากโภชนาการแล้ว ก็จะสามารถช่วยให้เราเลือกรับประทานอาการได้สอดคล้องกับความ ต้องการของแต่ละบุคคล ทั้งปริมาณพลังงาน และสารอาหารที่เป็นประโยชน์ ซึ่งสามารถศึกษาข้อมูล ของผลิตภัณฑ์อาหารได้จากฉลากฉลากโภชนาการ ที่แสดงไว้ 2 ลักษณะ คือ 2.1 ฉลากโภชนาการแบบเต็ม เป็นฉลากที่แสดงชนิด และปริมาณสารอาหารที่สาคัญที่ควร ทราบ จานวน 15 รายการ สาหรับฉลากที่มีความสูงจากัด สามารถแสดงฉลากโภชนาการเต็มรูปใน ลักษณะแบบแนวนอนหรือแบบขวางตามที่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ได้ ดังภาพตัวอย่าง ด้านล่าง
  • 17. 53 ภาพที่ 3.7 ฉลากโภชนาการแบบเต็ม ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558 2.2 ฉลากโภชนาการแบบย่อ ใช้ในกรณีที่สารอาหารตั้งแต่ 8 รายการ จากจานวนที่กาหนด ไว้ จานวน 15 รายการนั้นมีปริมาณน้อยมากจนถือว่าเป็นศูนย์ จึงไม่มีความจาเป็นที่ต้องแสดงให้เต็ม รูปแบบ จึงสามารถแสดงฉลากโภชนาการแบบย่อได้ ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง ภาพที่ 3.8 ฉลากโภชนาการแบบย่อ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558
  • 18. 54 3. อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ การแสดงฉลากโภชนาการตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ. 2541 เรื่องฉลากโภชนาการ เป็นการแสดงโดยสมัครใจสาหรับอาหารทุกชนิดทั่วไป แต่จะบังคับ ให้ อาหารที่มี การกล่าวอ้าง ต้องแสดงฉลากโภชนาการ โดยบังคับ ซึ่งก็เป็นไปตามแนวทางที่ Codex กาหนด ดังนั้น สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่ถูกบังคับให้แสดงฉลากโภชนาการตามประกาศฯฉบับนี้ก็สามารถจะแสดง ฉลากโภชนาการโดยสมัครใจได้ แต่ต้องเป็นไปตามรูปแบบ และเงื่อนไขที่กาหนดด้วย อาหารใดบ้างที่เข้า ข่ายว่ามีการกล่าวอ้าง ได้แก่ 3.1 อาหารที่มีการกล่าวอ้างทางโภชนาการ เช่น แคลเซียมสูง เสริมวิตามิน หรือระบุ คุณประโยชน์ เช่น แคลเซียมเป็นส่วนประกอบสาคัญของกระดูกและฟัน ทั้งนี้รวมถึงอาหารที่มีการแสดง ข้อมูลชนิดและปริมาณสารอาหารด้วย เช่น อาหารที่มีการแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการ 3.2 อาหารที่มีการใช้คุณค่าในการส่งเสริมการขาย ซึ่งเป็นคุณค่าทางอาหาร/โภชนาการ เช่น บารุงร่างกาย เพื่อสุขภาพ สดใสแข็งแรง อนึ่งการระบุคุณค่าในลักษณะของป้องกันหรือรักษาโรค เช่น ลดความอ้วนป้องกันมะเร็ง จะไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงบนฉลากอาหารอยู่แล้ว 3.3 อาหารที่ระบุกลุ่มผู้บริโภคในการส่งเสริมการขาย เช่น สาหรับผู้บริหาร สาหรับเด็ก หรือ สาหรับกลุ่มบุคคลต่างๆ โดยทั่วไปในลักษณะเดียวกัน โดยที่มิใช่กลุ่มผู้ป่วยและไม่มีกระบวนการ ตรวจสอบ ทราบถึงความเหมาะสมเฉพาะที่อ้าง เนื่องจากอาจไม่มีการกาหนดค่าความต้องการทาง โภชนาการเฉพาะไว้แน่ชัด หรือสาเหตุอื่นๆ การระบุกลุ่มนี้ทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่าอาหารนั้นมีคุณค่า ทางโภชนาการพิเศษเฉพาะ ดังนั้นจึงต้องถูกบังคับให้แสดงข้อมูลโภชนาการ ให้ผู้บริโภคมีโอกาส ตัดสินใจเลือกความเหมาะสมสาหรับกลุ่มนั้นเองจากกรอบข้อมูลโภชนาการ นอกจากนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ยังอาจประกาศกาหนดให้อาหารชนิด ใดชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในด้านคุณค่า คุณประโยชน์ทางโภชนาการอย่างแพร่หลาย ต้อง แสดงฉลากโภชนาการก็ได้ 4. ข้อมูลโภชนาการที่แสดงบนฉลาก 4.1 ข้อมูลที่บังคับ คือ ข้อมูลสารอาหารที่มีความสาคัญหลักสาหรับคนไทย ได้แก่ ปริมาณ พลังงานทั้งหมด และปริมาณพลังงานที่ได้จากไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ให้ พลังงาน วิตามิน เกลือแร่ โดยเฉพาะที่สาคัญสาหรับภาวะโภชนาการของคนไทยปัจจุบัน คือ วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 แคลเซียม เหล็ก สารอาหารที่ต้องระวังไม่ให้กินมากเกินไป ได้แก่โคเลสเตอรอล โซเดียม ไขมันอิ่มตัว และน้าตาล สารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ใยอาหาร นอกจากนั้น ยังบังคับเพิ่มเติมในกรณีต่อไปนี้ด้วย คือ สารอาหารที่มีการเติมลงในอาหาร (Fortification/Nutrification) สารอาหารที่มีการกล่าวอ้าง เช่น หากระบุว่า "มีไอโอดีน" ไอโอดีนก็จะ กลายเป็นสารอาหารที่บังคับให้แสดงในกรอบข้อมูลโภชนาการด้วย 4.2 ข้อมูลที่ไม่บังคับ (นอกจากที่กาหนดในข้อมูลบังคับ) ก็สามารถใส่ในฉลากได้ เช่น วิตามินเกลือแร่อื่นๆ ก็สามารถใส่ในฉลากได้ แต่ต้องระบุต่อท้ายจาก เหล็ก และเรียงจากมากไปหาน้อยด้วย
  • 19. 55 5. ประเภทอาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ อาหารที่มีการกล่าวอ้างหรือใช้คุณค่าทางโภชนาการเพื่อส่งเสริมการขายต้องแสดงฉลาก โภชนาการ ดังต่อไปนี้ 5.1 อาหารที่มีการแสดงข้อมูลชนิดสารอาหาร ปริมาณสารอาหาร หน้าที่ของสารอาหาร เช่น มีไขมัน 0 % มีแคลเซียมสูง เป็นต้น 5.2 อาหารที่มีการใช้คุณค่าทางอาหารหรือทางโภชนาการในการส่งเสริมการขาย เช่น เป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อบารุงสุขภาพ สดใสแข็งแรง เป็นต้น แต่ห้ามแสดงสรรพคุณในลักษณะป้องกันหรือรักษา โรค เช่น ลดความอ้วน ป้องกันมะเร็ง เป็นต้น 5.3 อาหารที่มุ่งจะใช้ในกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มเพื่อการส่งเสริมการขาย เช่น กลุ่มวัยเรียน กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น 5.4 อาหารที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกาหนดให้ต้องแสดงฉลาก โภชนาการเนื่องจากพิจารณาแล้วว่าเป็นอาหารที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในด้านคุณค่าคุณประโยชน์ทาง โภชนาการอย่างแพร่หลาย ดังนั้น อาหารในท้องตลาดที่ไม่มีการกล่าวอ้างหรือส่งเสริมการขายใน ลักษณะดังกล่าวไม่ต้องแสดงฉลากโภชนาการ 6. วิธีการอ่านฉลากโภชนาการ ก่อนการเลือกซื้ออาหาร ควรอ่านฉลากก่อนซื้อเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารตามที่ต้องการ ซึ่ง การอ่านฉลากโภชนาการ ทาได้ง่ายดาย เพียงแค่ทราบหลัก ดังนี้ 6.1 “หนึ่งหน่วยบริโภค” หมายถึง ปริมาณการกินต่อครั้งที่ผู้ผลิต แนะนาให้ผู้บริโภค รับประทาน หรือหมายถึง กินครั้งละเท่าไรนั่นเอง ซึ่งได้มาจากค่าเฉลี่ยที่รับประทานของคนไทย เมื่อ รับประทานในปริมาณเท่านี้แล้วก็จะได้รับสารอาหารตามที่ระบุไว้บนฉลาก หนึ่งหน่วยบริโภคจะแสดงให้ เห็นทั้งปริมาณที่เป็นหน่วยครัวเรือน เช่น กระป๋อง ชิ้น ถ้วย แก้ว เป็นต้น ตามด้วยน้าหนัก ...กรัม หรือ ปริมาตร...มิลลิลิตร ในระบบเมตริก ตัวอย่าง เช่น เงาะในน้าเชื่อมเข้มข้น บรรจุกระป๋อง จะต้องระบุปริมาณที่เห็นง่าย และน้าหนัก หรือ ปริมาตร ดังนี “หนึ่งหน่วยบริโภค : 4 ลูก (140 กรัม รวมน้าเชื่อม)” เครื่องดื่มอัดลม จะต้องระบุปริมาณที่เห็นง่าย และน้าหนัก หรือปริมาตร ดังนี “หนึ่งหน่วย บริโภค : 1 กระป๋อง (325 มิลลิลิตร)” - ถ้ากินหมดในครั้งเดียว ปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภค คือน้าหนักทั้งหมด หรือปริมาตรสุทธิของ อาหารนั้น - ถ้าต้องแบ่งกิน ปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคต้องใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยของการกินอาหาร ประเภทนั้นค่าเฉลี่ยนี้ เรียกว่า “หนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง (Reference Amount)” ผู้ผลิตจะเป็นผู้ คานวณตามกฎที่กาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่182) พ.ศ. 2541 เรื่อง ฉลาก โภชนาการ ยกตัวอย่าง เช่น หนึ่งหน่วยบริโภค อ้างอิงของนมพร้อมดื่มเป็น 200 มิลลิลิตร เป็นต้น 6.2 “จานวนหน่วยบริโภคต่อภาชนะบรรจุ” หมายถึง เมื่อรับประทานครั้งละ “หนึ่งหน่วย บริโภค” แล้วอาหารห่อนี้ขวดนี้กล่องนี้กินได้กี่ครั้ง นั่นเอง ตัวอย่างเช่น นมพร้อมดื่ม หากหนึ่งหน่วย บริโภคคือ 1 กล่อง หรือ 250 มิลลิลิตร จานวนครั้งที่กินได้ก็คือ 1 แต่หากเป็นขวดลิตรควรแบ่งกิน (ตามหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง) ครั้งละ 200 มิลลิลิตรซึ่งจะกินได้ถึง 5 ครั้ง ดังนั้น เราอาจเห็นอาหารยี่ห้อ เดียวกัน แสดงปริมาณการ “กินครั้งละ” ต่างกันสาหรับแต่ละขนาดบรรจุก็ได้ ดังนี้