SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
อาชีพ   แพทย์


               นาย สหรัฐ ทิ้งโคตร ม.5/3 เลขที่ 9

1
อาชีพแพทย์

ลักษณะงาน

แพทย์ คือ ผู้ตรวจค้นโรคและความผิดปกติของร่างกาย จิตใจ สั่งยา ให้การรักษา มีบทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งในด้านการส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน
รักษาโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพ

คุณลักษณะของผู้ประกอบอาชีพ

1. เป็นผู้ที่สนและเสียสละต่อเพื่อนมนุษย์ มีมารยาทดี และปรับตัวเข้ากับทุกคนได้

2. มีความสนใจวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ นอกจากนี้ยัง
ต้องสนใจทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร์ และมนุษย์
ศาสตร์

3. มีความมั่นคงทางอารมณ์และจิตใจ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ อดทน

4. ซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการหลอกลวงผู้อื่น

5. มีจิตใจเป็นนักวิทยาศาสตร์ คิดด้วยเหตุผล

6. ช่างสังเกตและละเอียดถี่ถ้วน แต่ต้องฉับไว เพราะช้าอาจหมายถึงชีวิตของผู้ป่วย

7. ต้องไม่รังเกียจต่อสิ่งปฏิกูล เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ นามูก นาเหลือง อาเจียน เพราะต้องนาสิ่ง
เหล่านี้ไปตรวจ

การศึกษาและการฝึกอบรม

ศึกษาหลักสูตรแพทย์ศาสตร์บัณฑิต จากคณะแพทย์ศาสตร์ของมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยผ่าน
การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ตามระเบียบการการของทบวงมหาวิทยาลัย
หรือคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่างๆ สอบคัดเลือกเอง โดยมีรายละเอียดของคุณสมบัติของ

2
ผู้สมัคร การสอบข้อเขียน การสอบสัมภาษณ์ การตรวจร่างกาย ตรวจสุขภาพจิตที่ต้องปฏิบัติ
ตามอย่างเคร่งครัด

สถาบันที่เปิดสอนแพทย์

1.วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

2.วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์กรุงเทพมหานครแล้วชิโรงพยาบาล

3.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

4.มหาวิทยาลัยขอนแก่น

5.มหาวิทยาลัยมหิดล

6.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

7.มหาวิทยาลัยนเรศวร

8.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9.มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร

10.มหาวิทยาลัยรังสิต

11.มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ

1. รับราการในโรงพยาบาลของรัฐหรือกระทรวงสาธารณสุข

2. ทางานในโรงพยาบาลเอกชน

3. เปิดคลีนิกส่วนตัวรักษาโรค หรือตั้งโรงพยาบาลเอกชนของตนเอง

3
4. ทางานนอกเวลาในโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป หลังจากเลิกงานประจาแล้ว

5. ศึกษาเพิ่มเติมเป็นแพทย์เฉพาะทาง สาขาต่างๆ หรือศึกษาในระดับปริญญาโท-เอก

คณะแพทย์ศาสตร์รามา

สาหรับคณะนี้เนี่ยจริงๆแล้วชื่อเต็มๆก็คือ "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

สาขาวิชาความผิดปรกติของการสื่อความหมาย" นะครับผม

อ๊ะ อ๊ะ !!.....อย่าเพิ่งเข้าใจผิดที่เห็นว่าเป็นคณะแพทยศาสตร์แล้วจบมาจะเป็น

คุณหมอนะคร้าบ...เพราะจริงๆแล้วคณะเราเนี่ยจบมาจะไม่ได้แพทยศาสตรบัณฑิต(พบ.)นะ
ครับ

แต่จะได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิต(วทบ.)สาขาวิชาความผิดปรกติของการสื่อความหมาย

นั่นคือน้องๆจะจบมาด้วยคุณวุฒิความถนัดเฉพาะทางนั่นเอง

ถึงแม้จะไม่ใช่คุณหมอแต่คณะนี้เนี่ยมีความสาคัญมากนะครับ เพราะว่าในปัจจุบันนี้

การสื่อสารให้เข้าใจเป็นสิ่งที่จาเป็นมากๆ

หากการสื่อสารเกิดความบกพร่องเนี่ยเราก้อจะไม่เข้าใจกัน

หรืออาจเกิดความขัดแย้งเนื่องจากความเข้าใจผิดได้

ซึ่งบนโลกนี้ยังมีอีกหลายๆคนนักที่มีความบกพร่องทางการสื่อสาร

จนทาให้คนบางคนหมดโอกาสที่ดีบางอย่างในชีวิตเลยก็ว่าได้

ซึ่งเขาเหล่านั้นต้องการการบาบัดและพัฒนาทักษะ เช่นคนพิการทางสมอง คนที่เป็นโรคออทิ
สติก


4
คนพิการ หูหนวก หูตึง เป็นใบ้ ปากแหว่งเพดานโหว่ ลิ้นไก่สั้นเป็นต้น

 รู้มั้ยว่าพวกเขาเหล่านี้ต้องการให้มีใครสักคนที่จะมาช่วยพัฒนาให้เขาสามารถสื่อสารได้ดีขึ้น

 และสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างเทียบเท่ากับคนปกติอยู่นะ

ละก็งานของเรานั้นถือว่าเป็นงานคนละส่วนกันกับงานของพวกคุณหมอหรือพยาบาลนะครับ

 เพราะว่าเมื่อผู้ป่วยย่างก้าวเข้ามาในโรงพยาบาลเนี่ย

 คุณหมอจะทาหน้าที่รักษาตามความรู้ของคุณหมอ พยาบาลจะช่วยดูแลใส่ใจในสุขภาพ

 ส่วนพวกเราจะทาการบาบัดรักษาตามความรู้ทางวิชาชีพของเราล่ะ

 ดังนั้นจึงถือได้ว่าวิชาชีพของเรามีความสาคัญเทียบเท่ากับวิชาชีพอื่นเลยนะครับ

 เพียงแต่สาคัญคนละมุมเท่านั้นเอง

จะว่าไปแล้วคณะนี้เพิ่งเปิดหลักสูตรปริญญาตรีมาได้รุ่นนึงแล้ว(ปีการศึกษา2547)นั่นก้อคือพวก
พี่

 และตอนนี้ก็กาลังจะเปิดรับรุ่นที่2อยู่

 (ปีการศึกษา2548)ซึ่งคนเหล่านั้นก้อคือพวกน้องๆยังงัยหล่ะ!!!

อ๊ะๆ แต่อย่าตกใจไปว่า โอ้โห...คณะเรามีกันเพียงแค่เรา2รุ่นเองเหรอ?(-_-")

 เพราะจริงๆแล้วเนี่ยสาขาวิชาความผิดปรกติของการสื่อความหมายเนี่ยมีในประเทศไทยตั้งนาน
แล้วเป็น10ๆปีแน่ะ

 ซึ่งก่อนหน้าเนี้ยเค้าเปิดมาเป็นหลักสูตรอนุปริญญา กับปริญญาโทครับผม

 แต่ว่าเพิ่งมาเริ่มเปิดหลักสูตรปริญญาตรีก้อปีพวกพี่เนี่ยหล่ะ


5
สาหรับหลักสูตรปริญญาตรีที่เพิ่งเปิดขึ้นมาเนี่ยก็มีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มจานวนบุคคลากรให้มี
จานวนเพียงพอต่อผู้ป่วยทั่วประเทศอ่ะครับ

เพราะจานวนบุคคลากรที่จบมาจากปริญาโทหรืออนุปริญญาที่มีอยู่ในตอนนี้คิดเทียบกับผู้ที่
ต้องการความช่วยเหลือเนี่ยถือว่าอยู่ในสภาวะขาดแคลนมากนะครับ

จริงๆแล้วเนี่ยสาขาวิชาความผิดปรกติของการสื่อความหมายนั้นเป็นสาขาวิชาที่ต่างประเทศฝั่ง
อเมริกา-ยุโรปให้ความสาคัญกันมาเลยรู้มั้ย

มีหลักสูตรการศึกษาจนถึงระดับปริญญาเอกมานานแล้วล่ะ

แต่สาหรับในแถบเอเชียนั้นยังไม่เป็นที่รู้จักกันมากนัก

ซึ่งคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้เล็งเห็นถึงความสาคัญตรงนี้จึงเริ่มบุกเบิกในการ
เปิดหลักสูตรนี้ขึ้นมา

ซึ่งนับว่าเป็นคณะแรกในประเทศไทยและในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์เลยนะครับ

เรื่องของหลักสูตรการเรียนการสอนเนี่ย ในปีที่1

เราจะได้เรียนกับเพื่อนๆทุกคณะในมหิดลที่ศาลายานะครับ

ซึ่งก้อจะได้เรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐานทั่วๆไปอย่าง เลข(แคลคูลัสกับสถิติ) ฟิสิกส์ เคมี

ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ ซึ่งจะเหมือนๆม.ปลายแต่ว่าเรียนในระดับที่ลึกขึ้น

และจะได้เรียนวิชามนุษยศาสตร์บูรณาการ

ที่เนื้อหาวิชาจะสอนให้เราได้เข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์ทั้งความต้องการทางด้านร่างกาย จิตใจ

การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นต้น และในเทอม2

น้องๆก้อจะได้เริ่มเข้าใกล้ความเป็นคณะเรามากขึ้น เพราะน้องๆจะได้เรียนวิชาคณะ

6
นั่นคือวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคนพิการซึ่งน้องจะได้รู้จักกับความพิการชนิดต่างๆ

กฏหมายคุ้มครองคนพิการ ซึ่งวิชานี้น้องจะได้รู้จักคนพิการและเห็นใจเข้าใจคนพิการมากขึ้น

นอกจากนี้จะได้รู้จักกับระบบร่างกายพื้นฐานในวิชากายวิภาคศาสตร์หรือANATOMY

ที่เราจะได้ศึกษาจริงจากอาจารย์ใหญ่ที่เป็นผู้มีพระคุณยอมสละร่างกายเพื่อเป็นวิทยาทานให้เรา
ได้เรียนรู้

นอกจากนี้จะมีเรียนวิชาอิเลคโทรนิคส์ด้วยนะครับเพราะสาขาวิชาของเรามีบ้างที่จะต้องเรียนรู้
จักอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จาเป็น

เช่นเครื่องช่วยฟัง หรือเครื่องวัดระดับการได้ยินอะไรพวกเนี้ย

ส่วนวิชาปี2เนี่ยพี่ก้อยังไม่ค่อยรู้นะครับ เพราะพี่เองก้อกาลังขึ้นชั้นปีที่2อยู่หง่ะ

แต่ที่รู้คร่าวๆก้อคือ เราจะได้เรียนลึกขึ้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์

สรีระวิทยาของระบบที่เราใช้ในการสื่อสาร นอกจากนี้ยังเรียนรู้จักการฟัง

การออกเสียงที่ถูกต้องด้วย

และในชั้นปีที่สูงขึ้นน้องจะได้เรียนวิชาภาษามือเบื้องต้นด้วยล่ะ

เอาไว้สาหรับการสื่อสารกับคนหูหนวก ซึ่งเป็นวิชาที่น่าสนใจมากๆเลย

จนถึงตอนนั้นน้องจะเริ่มเห็นความถนัดของตนเองแล้วว่าเราเหมาะจะเลือกเรียนวิชาหลักด้าน
ไหนระหว่าง

แก้ไขการพูด กับ แก้ไขการฟังแล้วน้องก็จะได้เรียนมุ่งเน้นไปทางนั้น

ควบคู่กับการฝึกปฎิบัติการจริงกับผู้ป่วยเลยครับ



7
เนื่องจากวิชาชีพของเรานั้นเองก็เป็นวิชาชีพที่ทางานกับมนุษย์ดังนั้นเมื่อเราเรียนจบเราก็ต้องไป
สอบเพื่อรับใบประกอบโรคศิลป์ด้วยนะ

หลังจากนั้นก็เป็นทางเลือกของน้องแล้วหล่ะว่าจะเอางัยกะชีวิตต่อไปดี

ระหว่างทางานเลย,เรียนต่อ,ทางานไปก่อนค่อยเรียนต่อปริญญาโท-ปริญญาเอกทางสาขาวิชานี้
เพื่อจบมาเป็นอาจารย์

หรือไปเรียนต่อสาขาวิชาอื่น เป็นต้น

แต่สิ่งนึงที่อยากจะฝากไว้กับน้องๆนะครับว่า

หลักสูตรวิชาความผิดปรกติของการสื่อความหมายของเราเนี่ย

ถูกเปิดขึ้นมาเพราะว่ามีคนมากมายที่ต้องการการบาบัดช่วยเหลือจากพวกเราจริงๆ

ดังนั้นไม่ต้องกลัวเลยว่าเมื่อน้องจบมาจะไม่มีงานให้น้องทา

ดังนั้นหากน้องคิดว่าน้องเป็นคนนึงที่มีปณิธานกับชีวิตว่าอยากช่วยเหลือผู้คนแล้วเนี่ย

คณะนี้เป็นทางเลือกที่ดีนะครับน้อง

ที่น้องจะได้ทางานเพื่อผู้อื่นและมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าเพราะอย่างน้อยน้องก้อได้ยกระดับ
โอกาสให้แก่ผู้ที่ผิดปกติของการสื่อความหมายได้มีโอกาสทัดเทียมกับคนทั่วไป

ไม่มากก็น้อย

ก็อย่างที่บอกนะครับ การที่มีความผิดปกติของการสื่อความหมายเนี่ย

อาจจะทาให้คนบางคนหมดโอกาสที่ดีบางอย่างเลยนะครับ

เพราะฉะนั้นพี่หวังว่าคณะนี้จะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของน้องๆนะครับผม



8
แพทย์ (อังกฤษ: physician, doctor) หรือเรียกเป็นภาษาพูดว่า "หมอ" ในบางพื้นที่ตามชนบท
แพทย์อาจถูกเรียกเป็น "หมอใหญ่" เพื่อเลี่ยงความสับสนกับการเรียกพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่
ทางด้านสาธารณสุขต่างๆ แพทย์มีหน้าที่ ซักถามประวัติ ตรวจร่างกาย และส่งตรวจวินิจฉัย
เพิ่มเติม เพื่อสั่งการรักษาหรือให้การรักษาโรค ส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพ ให้กับผู้ป่วย ร่วมกับ
บุคลากรด้านสุขภาพอื่นๆเนื้อหา

1 การเข้าศึกษาแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

2 การเรียนแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

3 แพทย์จบใหม่ในประเทศไทย

4 แพทย์เฉพาะทาง

4.1 สาขาของแพทย์เฉพาะทาง

5 ดูเพิ่ม

6 อ้างอิง

การเข้าศึกษาแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

ปัจจุบันมีหน่วยงานชื่อว่า กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) ทาหน้าที่จัด
สอบคัดเลือกและประกาศผลนักเรียนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่หกเพื่อเข้ารับการศึกษา
ในคณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ทั่วประเทศ และมีการรับนักเรียนตามโครงการต่างๆ อีกหลาย
โครงการ

การเรียนแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

การเรียนแพทยศาสตร์ในประเทศไทยใช้เวลาเรียน 6 ปี ปีแรกเรียนวิทยาศาสตร์ทั่วไปเน้น
เกี่ยวข้องทางชีววิทยา ปีที่ 2-3 เรียนวิชาที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ เรียกระยะนี้ว่า ปรีคลินิก
(Preclinic) ปีที่ 4-5 เรียนและฝึกงานผู้ป่วยจริงร่วมกับแพทย์รุ่นพี่และอาจารย์ เรียกระยะนี้ว่า

9
ชั้นคลินิก (Clinic) และปีสุดท้ายเน้นฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยจริงภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่และ
อาจารย์เรียกระยะนี้ว่า เอกซ์เทอร์น (Extern)

แพทย์จบใหม่ในประเทศไทย

เมื่อนักเรียนแพทย์ในประเทศไทยศึกษาจบแพทยศาสตรบัณฑิต บัณฑิตแพทย์ต้องมีการทางาน
หรือการชดใช้ทุนของแพทย์เป็นเวลา 3 ปี โดยกาหนดให้ทางานให้รัฐบาล ซึ่งหากผิดสัญญาต้อง
จ่ายค่าชดเชยให้รัฐตามแต่สัญญาซึ่งทาไว้ตั้งแต่ก่อนเข้ารับการศึกษากาหนด ในปีแรกแพทยสภา
กาหนดให้มีการฝึกปฏิบัติงานเพิ่มเติมในโรงพยาบาลใหญ่ๆ ภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่ที่มี
ประสบการณ์เป็นเวลา 1 ปี ซึ่งเรียกระยะนี้ว่า อินเทอร์น (Intern)

แพทย์เฉพาะทาง

หลังจากที่บัณฑิตแพทย์สาเร็จการศึกษาออกมาและได้เพิ่มพูนทักษะตามจานวนปีที่แพทยสภา
(Medical concils of Thailand) เป็นผู้กาหนดแล้ว สามารถสมัครเพื่ออบรมเป็นแพทย์ประจา
บ้าน (Medical Resident) และเมื่อจบหลักสูตรการอบรมและสามารถสอบใบรับรองจากราช
วิทยาลัยแพทย์ต่างๆได้แล้ว จึงจะได้เป็นแพทย์เฉพาะทางได้ต่อไป

สาขาของแพทย์เฉพาะทาง

อายุรแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์

สูตินรีแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูตินรีเวชวิทยา

ศัลยแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์

ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (ศัลยกรรมกระดูกและ
ข้อ)

จักษุแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยา

จิตแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวชศาสตร์

10
แพทย์โสตศอนาสิก - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโสตศอนาสิกวิทยา

พยาธิแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านพยาธิวิทยา

รังสีแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยา

วิสัญญีแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวิสัญญีวิทยา

กุมารแพทย์ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์

แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชปฏิบัติครอบครัว

แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู

แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน




11
บรรณานุกรม


              การแพทย์เฉพาะทางในประเทศไทย "อาชีพแพทย์ ," อาชีพ

 . วันที่ 26 กรกฎาคม 2554 เวลา 18:50 น http://th.wikipedia.org/wiki/แพทย์ 24/08/2554




12

Contenu connexe

Similaire à อาชีพแพทย์

ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
kawpod
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
wichien wongwan
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
Kruthai Kidsdee
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
Raveewin Bannsuan
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
Ummara Kijruangsri
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
supap6259
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
Kruthai Kidsdee
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
kookoon11
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
korakate
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 

Similaire à อาชีพแพทย์ (20)

ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

อาชีพแพทย์