SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
ข้อ มูล (DATA) คือ สิ่งทีใช้อธิบาย
                           ่
คุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม
โดยบันทึกจากการสังเกต การทดลอง หรือ
การสำารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็นตัวเลข ข้อความ
รูปภาพ และสัญลักษณ์
ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ทีนกเรียน
                             ่ ั
สามารถพบเห็นในชีวิตประจำา เช่น เกรดที่
นักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาสินค้า
ชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพและ
ข้อความต่าง ๆ ทีปรากฏในเว็บไซต์
                 ่
สารสนเทศ (Information) หมายถึง
ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำาข้อมูลมาประมวล
ผล เพือให้ได้สิ่งทีเป็นประโยชน์ในการนำา
        ่          ่
ไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของ
นักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนใน
ชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้าง
สารสนเทศจากข้อมูลเหล่านีได้หลายรูป
                            ้
แบบ เพื่อนำาไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่าง
กัน ตัวอย่างเช่น การนำาข้อมูลเหล่านีมา
                                    ้
เรียงตามลำาดับจากมากไปน้อย หรือการ
หาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน
ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งทีประกอบด้วยข้อมูล
                                     ่
และสารสนเทศทีถกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำา
                 ่ ู
ไปประยุกต์ใช้ในปัญหาทีต้องการนำาข้อมูลและ
                           ่
สารสนเทศเหล่านีไปแก้ไข
                   ้
นิยามความรู้ทเกี่ยวข้องกับเรื่องของข้อมูลและ
              ี่
สารสนเทศ คือ ความรู้ทแฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่
                        ี่
สามารถสกัดจากสารสนเทศทีมรูปแบบน่าสนใจ เป็น
                               ่ ี
จริงสำาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลทีไม่เคยเห็นมาก่อน
                                   ่
เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์
สุดท้ายจากการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้
ทีเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้
  ่
ระบบสารสนเทศเพือการจัดการความรู้ สามารถช่วยองค์
                   ่
กรนการจัดการความรู้เหล่านี้ได้ โดยระบบนี้ จะทำางาน
แตกต่างกันไปตามจุดมุงหมายขององค์กร ผู้ใช้ในองค์กร
                       ่
ประกอบด้วย พนักงานทัวไป ผู้บริหาร หรือบุคคล
                           ่
ภายนอก เป็นผู้สร้างสารสนเทศเพือเก็บไว้ในระบบ โดย
                                  ่
ระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่ ค้นหา รวมถึงกระจาย
สารสนเทศให้กบผู้ใช้คนอื่น เพือให้ผู้ใช้แต่ละคน
                ั               ่
สามารถนำาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ของตนเอง
ความฉลาดร่วม (collective intelligence) เป็นการ
สร้างความฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้
ตัวอย่างของการสร้างความรู้ในลักษณะนี้ เช่น วิกพีเดีย
                                                  ิ
(Wikipedia) ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเพิมเติม แก้ไข
                                       ่
ข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ ทีไม่ได้มส่วนร่วมใน
                                     ่      ี
การเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูล ก็สามารถเข้าถึงและใช้
ข้อมูลหรือความรู้เหล่านันได้ เป็นต้น
                         ้
ข้อมูลทีดีควรมีลักษณะดังนี้
                ่
1)ความถูกต้องของข้อมูล
           2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนใน
การนำาไปใช้งาน
3) ความถูกต้องตามเวลา
           4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล
ประเภทของข้อมูล จำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
        1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูล
ทีได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
  ่
ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำารวจ
และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักร
อัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก
        2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง
ข้อมูลที่มผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวล
          ี
ผลเพือเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวนประชากรแต่ละ
      ่
จังหวัด สถิติการนำาสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการ
เก็บเอกสารทีเป็นกระดาษได้ รวมถึงการทำาซำ้าเพื่อ
             ่
สำารองข้อมูล สามารถทำาได้สะดวกและรวดเร็ว

การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่ารวดเร็ว เช่น
ข้อมูลประวัติการบำารุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวัติ
คนไข้ ผู้ใช้ทต้องการนำาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน
             ี่
สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลนำาข้อมูลที่ต้องการไป
ใช้ได้

การจำากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละ
ระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูล
ของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทวไปในแผนกการเงิน ไม่
                              ั่
ลำา ดับ ขั้น ของข้อ มูล ในฐานข้อ มูล ลำาดับชั้นล่างสุดของ
การแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง
ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทาง
คอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต
(บิต) ซึงถือว่าเป็นหน่วยเล็กทีสุดของข้อมูล และหากนำาบิต
        ่                     ่
มาต่อกันจำานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte)
เขตข้อ มูล (field) ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทน
ข้อมูลใด ๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล ต้องจัดข้อมูลที่เป็นบิต
มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง โดยเขตข้อมูลอาจ
แทนข้อมูลดังต่อไปนี้

จำา นวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลข
ขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขอาจเปลี่ยนไปตาม
เทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32
บิต สามารถแทนตัวเลขจำานวนเต็มได้ตั้งแต่ -2,147,483,6
48 ถึง 2,147,483,647 (-231 ถึง 231 -1)

จำา นวนทศนิย ม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะ
เก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิงพอยต์ (floating
point) การเก็บในลักษณะนี้ไม่มีการกำาหนดตำาแหน่งตายตัว
สำาหรับตำาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมี
สองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
ข้อ ความ (text) ในการแทนข้อความ ต้องเปลี่ยน
 ข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัว ตาม
 มาตรฐานทัวไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ต่อมา
             ่
 มีการใช้รหัสแบบยูนโคด (Unicode) ซึ่งสามารถแทน
                      ิ
 ภาษาได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาวของเขต
วัน เวลา (date / time) ข้อมูลทีเป็นวันเวลา เช่น วันที่
                                   ่
 ข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยูกับจำานวนตัวอักขระในข้อความ
                        ่
เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และเวลาที่ซอสินค้า มีความแตก
                                      ื้
ต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนันจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็น
                               ้
วันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลทีต้องการเก็บข้อมูลเป็นวัน
                                 ่
เวลา

ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือ
ไฟล์อื่น ๆ ซึ่งเขตข้อมูลประเภทหนึงเป็นเขตข้อมูลขนาด
                                 ่
ใหญ่ โดยปกติจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่น
ๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน
ระเบีย น (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลทีมความ
                                         ่ ี
สัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจเป็นข้อมูล
ต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วย
โครงสร้างเขตข้อมูลทีเหมือนกัน
                    ่
ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลใน
แต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลทีมความสัมพันธ์กัน ในตรา
                          ่ ี
รางจะเก็บข้อมูลหลาย ๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมี
โครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูล
หลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละละ
เบียนได้อีกด้วย
ฐานข้อ มูล (database) เป็นทีรวมของตารางหลาย
                               ่
ๆ ตารางเข้าไว้ดวยกัน ตารางแต่ละตาราง จะมีความ
                 ้
สัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลทีเก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกัน
                            ่
เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตาราง
ทีเก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเอง โดยไม่เกี่ยวข้องกับ
  ่
ตารางอื่น ในขณะเดียวกันบางตาราง อาจต้องเชื่อม
โยงกับ เขตข้อมูลของตารางอื่น ๆ
ความเป็น ส่ว นตัว เมือข้อมูลปรากฏอยูในโลกออนไลน์
                       ่             ่
มากขึ้น ทำาให้การรวบรวมข้อมูล การเข้าถึง การค้นหา
และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องทีสามารถทำาได้
                                         ่
ง่ายและเร็วขึ้น ทำาให้ข้อมูลบางประเภทที่มความเป็นส่วน
                                           ี
ตัวสูง เช่น เลขบัตรประจำาตัวประชาชน วันเดือนปีเกิด
หมายเลขโทรศัพท์มอถือ อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้
                    ื
บางครั้งข้อมูลส่วนตัวอาจถูกนำาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์
ของเจ้าของข้อมูล
สิท ธิ์ใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล เพือเป็นการรักษาความ
                                 ่
ปลอดภัยให้กับข้อมูล ในการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล จะมี
การกำาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม
โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้คนหนึงเข้าถึงข้อมูลต้องมี
                                   ่
การตรวจสอบว่า จะให้เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง โดยปกติ
แล้วการเข้าถึงระบบใด ๆนัน ผู้ใช้จะต้องได้รับอนุญาต
                             ้
จากผู้ดูแลระบบ (system administrator) ซึ่งมีหน้าที่
ดูแล บำารุงรักษาระบบให้สามารถทำางานได้เป็นปกติ การ
เข้าถึง โดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามพระราช
บัญญัติว่าด้วยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
2550 มีความผิดเกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ในการเข้าถึง
ข้อมูลหลายข้อ
เช่น
มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ทมการ
                                                 ี่ ี
ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนันมิได้มไว้สำาหรับ
                                        ้     ี
ตน ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
หมืนบาท หรือทังจำาทังปรับ
   ่           ้     ้

มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ทมการ
                                                  ี่ ี
ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนันมิได้มไว้สำาหรับ
                                         ้      ี
ตน ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสีหมืน
                                                    ่ ่
บาท หรือทังจำาทังปรับ
          ้     ้

มาตรา 8 ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เพือดักรับไว้ ซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่
                   ่           ่
อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์
นันมิได้มไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทัวไป
  ้       ี                                            ่
ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ในกระบวนการผลิตโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ รูปภาพ เพลง หรือหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ จำาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง และใช้เวลาใน
การผลิตยาวนาน แต่เมือข้อมูลเหล่านีปรากฏอยูในรูป
                        ่             ้        ่
แบบข้อมูลดิจิทล ผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถทำาซำ้าและนำาไป
               ั
ใช้โดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสีย
หายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2

Contenu connexe

Tendances

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 

Tendances (16)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
work3
work3 work3
work3
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

Similaire à ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 

Similaire à ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2 (20)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 

ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2

  • 1.
  • 2.
  • 3. ข้อ มูล (DATA) คือ สิ่งทีใช้อธิบาย ่ คุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจากการสังเกต การทดลอง หรือ การสำารวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบ หนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ ตัวอย่างของข้อมูลต่าง ๆ ทีนกเรียน ่ ั สามารถพบเห็นในชีวิตประจำา เช่น เกรดที่ นักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาสินค้า ชนิดต่าง ๆ ในห้างสรรพสินค้า รูปภาพและ ข้อความต่าง ๆ ทีปรากฏในเว็บไซต์ ่
  • 4. สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนำาข้อมูลมาประมวล ผล เพือให้ได้สิ่งทีเป็นประโยชน์ในการนำา ่ ่ ไปใช้งานมากขึ้น เช่น ส่วนสูงของ นักเรียนหญิงและนักเรียนชายแต่ละคนใน ชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้าง สารสนเทศจากข้อมูลเหล่านีได้หลายรูป ้ แบบ เพื่อนำาไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่าง กัน ตัวอย่างเช่น การนำาข้อมูลเหล่านีมา ้ เรียงตามลำาดับจากมากไปน้อย หรือการ หาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน
  • 5. ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งทีประกอบด้วยข้อมูล ่ และสารสนเทศทีถกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำา ่ ู ไปประยุกต์ใช้ในปัญหาทีต้องการนำาข้อมูลและ ่ สารสนเทศเหล่านีไปแก้ไข ้ นิยามความรู้ทเกี่ยวข้องกับเรื่องของข้อมูลและ ี่ สารสนเทศ คือ ความรู้ทแฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่ ี่ สามารถสกัดจากสารสนเทศทีมรูปแบบน่าสนใจ เป็น ่ ี จริงสำาหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลทีไม่เคยเห็นมาก่อน ่ เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์ สุดท้ายจากการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้ ทีเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ ่
  • 6.
  • 7. ระบบสารสนเทศเพือการจัดการความรู้ สามารถช่วยองค์ ่ กรนการจัดการความรู้เหล่านี้ได้ โดยระบบนี้ จะทำางาน แตกต่างกันไปตามจุดมุงหมายขององค์กร ผู้ใช้ในองค์กร ่ ประกอบด้วย พนักงานทัวไป ผู้บริหาร หรือบุคคล ่ ภายนอก เป็นผู้สร้างสารสนเทศเพือเก็บไว้ในระบบ โดย ่ ระบบจะต้องสามารถจัดหมวดหมู่ ค้นหา รวมถึงกระจาย สารสนเทศให้กบผู้ใช้คนอื่น เพือให้ผู้ใช้แต่ละคน ั ่ สามารถนำาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ของตนเอง ความฉลาดร่วม (collective intelligence) เป็นการ สร้างความฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้ ตัวอย่างของการสร้างความรู้ในลักษณะนี้ เช่น วิกพีเดีย ิ (Wikipedia) ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเพิมเติม แก้ไข ่ ข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ ทีไม่ได้มส่วนร่วมใน ่ ี การเพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อมูล ก็สามารถเข้าถึงและใช้ ข้อมูลหรือความรู้เหล่านันได้ เป็นต้น ้
  • 8.
  • 9. ข้อมูลทีดีควรมีลักษณะดังนี้ ่ 1)ความถูกต้องของข้อมูล 2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนใน การนำาไปใช้งาน 3) ความถูกต้องตามเวลา 4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล
  • 10. ประเภทของข้อมูล จำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูล ทีได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ่ ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำารวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักร อัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวล ี ผลเพือเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวนประชากรแต่ละ ่ จังหวัด สถิติการนำาสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น
  • 11.
  • 12. การจัดเก็บข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการ เก็บเอกสารทีเป็นกระดาษได้ รวมถึงการทำาซำ้าเพื่อ ่ สำารองข้อมูล สามารถทำาได้สะดวกและรวดเร็ว การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่ารวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบำารุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวัติ คนไข้ ผู้ใช้ทต้องการนำาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน ี่ สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลนำาข้อมูลที่ต้องการไป ใช้ได้ การจำากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละ ระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูล ของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทวไปในแผนกการเงิน ไม่ ั่
  • 13. ลำา ดับ ขั้น ของข้อ มูล ในฐานข้อ มูล ลำาดับชั้นล่างสุดของ การแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทาง คอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต (บิต) ซึงถือว่าเป็นหน่วยเล็กทีสุดของข้อมูล และหากนำาบิต ่ ่ มาต่อกันจำานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte)
  • 14. เขตข้อ มูล (field) ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทน ข้อมูลใด ๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล ต้องจัดข้อมูลที่เป็นบิต มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง โดยเขตข้อมูลอาจ แทนข้อมูลดังต่อไปนี้ จำา นวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลข ขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของตัวเลขอาจเปลี่ยนไปตาม เทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจำานวนเต็มได้ตั้งแต่ -2,147,483,6 48 ถึง 2,147,483,647 (-231 ถึง 231 -1) จำา นวนทศนิย ม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะ เก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบโฟลททิงพอยต์ (floating point) การเก็บในลักษณะนี้ไม่มีการกำาหนดตำาแหน่งตายตัว สำาหรับตำาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมี สองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
  • 15. ข้อ ความ (text) ในการแทนข้อความ ต้องเปลี่ยน ข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัวอักขระแต่ละตัว ตาม มาตรฐานทัวไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ต่อมา ่ มีการใช้รหัสแบบยูนโคด (Unicode) ซึ่งสามารถแทน ิ ภาษาได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาวของเขต วัน เวลา (date / time) ข้อมูลทีเป็นวันเวลา เช่น วันที่ ่ ข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยูกับจำานวนตัวอักขระในข้อความ ่ เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และเวลาที่ซอสินค้า มีความแตก ื้ ต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนันจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็น ้ วันเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลทีต้องการเก็บข้อมูลเป็นวัน ่ เวลา ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือ ไฟล์อื่น ๆ ซึ่งเขตข้อมูลประเภทหนึงเป็นเขตข้อมูลขนาด ่ ใหญ่ โดยปกติจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่น ๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน
  • 16. ระเบีย น (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลทีมความ ่ ี สัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจเป็นข้อมูล ต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วย โครงสร้างเขตข้อมูลทีเหมือนกัน ่
  • 17. ตาราง (table) คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลใน แต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลทีมความสัมพันธ์กัน ในตรา ่ ี รางจะเก็บข้อมูลหลาย ๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมี โครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูล หลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละละ เบียนได้อีกด้วย
  • 18. ฐานข้อ มูล (database) เป็นทีรวมของตารางหลาย ่ ๆ ตารางเข้าไว้ดวยกัน ตารางแต่ละตาราง จะมีความ ้ สัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลทีเก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกัน ่ เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตาราง ทีเก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเอง โดยไม่เกี่ยวข้องกับ ่ ตารางอื่น ในขณะเดียวกันบางตาราง อาจต้องเชื่อม โยงกับ เขตข้อมูลของตารางอื่น ๆ
  • 19.
  • 20. ความเป็น ส่ว นตัว เมือข้อมูลปรากฏอยูในโลกออนไลน์ ่ ่ มากขึ้น ทำาให้การรวบรวมข้อมูล การเข้าถึง การค้นหา และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องทีสามารถทำาได้ ่ ง่ายและเร็วขึ้น ทำาให้ข้อมูลบางประเภทที่มความเป็นส่วน ี ตัวสูง เช่น เลขบัตรประจำาตัวประชาชน วันเดือนปีเกิด หมายเลขโทรศัพท์มอถือ อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้ ื บางครั้งข้อมูลส่วนตัวอาจถูกนำาไปใช้โดยผิดวัตถุประสงค์ ของเจ้าของข้อมูล
  • 21. สิท ธิ์ใ นการเข้า ถึง ข้อ มูล เพือเป็นการรักษาความ ่ ปลอดภัยให้กับข้อมูล ในการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล จะมี การกำาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาตให้ผู้ใช้คนหนึงเข้าถึงข้อมูลต้องมี ่ การตรวจสอบว่า จะให้เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง โดยปกติ แล้วการเข้าถึงระบบใด ๆนัน ผู้ใช้จะต้องได้รับอนุญาต ้ จากผู้ดูแลระบบ (system administrator) ซึ่งมีหน้าที่ ดูแล บำารุงรักษาระบบให้สามารถทำางานได้เป็นปกติ การ เข้าถึง โดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามพระราช บัญญัติว่าด้วยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 มีความผิดเกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ในการเข้าถึง ข้อมูลหลายข้อ
  • 22. เช่น มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ทมการ ี่ ี ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนันมิได้มไว้สำาหรับ ้ ี ตน ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง หมืนบาท หรือทังจำาทังปรับ ่ ้ ้ มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ทมการ ี่ ี ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนันมิได้มไว้สำาหรับ ้ ี ตน ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสีหมืน ่ ่ บาท หรือทังจำาทังปรับ ้ ้ มาตรา 8 ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ เพือดักรับไว้ ซึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่ ่ ่ อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์ นันมิได้มไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทัวไป ้ ี ่
  • 23. ทรัพ ย์ส ิน ทางปัญ ญา ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ รูปภาพ เพลง หรือหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ จำาเป็นต้องใช้ต้นทุนสูง และใช้เวลาใน การผลิตยาวนาน แต่เมือข้อมูลเหล่านีปรากฏอยูในรูป ่ ้ ่ แบบข้อมูลดิจิทล ผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถทำาซำ้าและนำาไป ั ใช้โดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสีย หายทางธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล