SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  123
Survey of Arts
ความหมายของศิลปะและ
 ขอบข่ายงานศิลปะ
          ศิลปะเขียนอย่างไร
          ศิลปะคืออะไร
          วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศลป์
                                  ิ
แตกต่างกันอย่างไร
          งานศิลปะแตกต่างจากงาน
แขนงอื่นอย่างไร
?
ศิลปะเขียนอย่างไร
ในการเขียนคำาว่า “ศิลปะ” การเขียนโดยให้ยึด
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเป็นสำาคัญ
 โดยจะพบว่าการเขียน คำาว่าศิลปะ มีการเขียนอยู่ 3
แบบคือ

ศิลป - (สิน-ละ-ปะ) ที่มีเครื่องหมายยติภังค์ ( - )
ต่อท้ายแสดง
ว่ามีคำาภาษาบาลี หรือสันสฤตต่อในรูปของคำาสมาส
เช่น ศิลปศึกษา ศิลปกรรม ศิลปศาสตร์ ศิลปนิยม
ศิลป์ (สิน) มีการันต์กำากับใช้เมื่อออกเสียงว่า สิน
  ได้แก่วิจิตรศิลป์
นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ หอศิลป์ เป็นต้น


ศิลปะ (สิน-ละ-ปะ) ใช้ในกรณีออกเสียงรวมกับ
 คำาอื่น เช่นงานศิลปะ
ศิลปะในประเทศ ศิลปะกรีก ศิลปะโรมัน เป็นต้น
จุดมุ่งหมายในการเรียน
ศิลปะ
 1. เรียนเพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
ของศิลปะ เช่น การจัดวาง เส้น รูปร่าง มวล พืนผิว
                                           ้
และช่องว่าง ให้มีความสัมพันธ์กันอย่างดีจนเกิด
คุณค่าทาง สุนทรียภาพ

 2. เพือให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในความงามของ
       ่
ศิลปกรรมอันเป็นวัฒนธรรมของชาติ
3. เพือพัฒนารสนิยม ซึงรสนิยมของคน
      ่              ่
ย่อมพัฒนาไปตามวัย ความรู้สกซาบซึงใน
                               ึ     ้
ศิลปะหรือการประจักษ์ในด้านความงามนั้น
เป็นสิ่งสำาคัญที่สดที่จะช่วยพัฒนารสนิยม
                  ุ
ของคนให้ดีขึ้น
4. เพื่อให้เข้าใจชีวตความเป็นอยู่
                    ิ          สภาพสังคม
ประเพณี วัฒนธรรมของ         คนในอดีต
   เพราะการศึกษาศิลปะ ก็คือ
  การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีต
  ศิลปะเป็นเรื่องที่แตกต่างไปจากความเป็นอยู่
ของมนุษย์
  และศิลปะไม่สามารถแยกออกจากชีวตประจำา
                                    ิ
วันของมนุษย์ได้
  ซึงจุดมุ่งหมายสุดท้ายของศิลปะ คือ ความ
    ่
พอใจ
ความหมายของคำาว่า "ศิลปะ"
   ความหมายของคำาว่า "ศิลปะ"

     ความหมายของคำาว่าศิลปะจะแตกต่างกันไป
    ตามพื้นฐานของแต่ละคน และความคิดอ่านของ
    คนในสังคมแต่ละยุค แต่ความหมายโดยรวม
    ของ ศิลปะ
      คือ งานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ ที่มนุษย์
    เป็นผู้สร้างขึน ซึ่งมีธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ
                  ้
    งานศิลปะอาจจะสวยงามหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีส่วน
    เสริมสร้างจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึน และศิลปะนั้นอาจ
                                    ้
    แสดงออกมาในรูปที่เป็นศีลธรรมหรือไม่เป็นศีลธรรม
 นักปรัชญาโบราณ     ถือว่า ศิลปะมีพื้น
 ฐานมาจากความงามและความดี
 - โสเครตีส(Socrater) เชื่อว่า ศิลปะ
 เป็นความงามทีได้จากธรรมชาติ
                ่
 และต้องมีผลเสริมสร้างทางด้าน
 จิตใจด้วย
   ลีโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoi) กล่าวว่า ศิลปะที่
    มีแต่ความประณีต ความงาม ความบันเทิง
    หาใช่เป็นศิลปะไม่ เป็นแต่เพียงงานฝีมอ    ื
    เท่านั้น เพราะเป็นงานที่ขาดเงือนไขที่จำาเป็น
                                  ่
    อย่างยิ่งของศิลปะ ศิลปะเป็นการถ่ายทอดจาก
    ความรู้สกึ
- เพลโต(Plato) กล่าวว่า ศิลปะเป็นส่วน
 หนึ่งของธรรมชาติ และจะต้องมาจากความ
 ดีด้วย ซึ่งผู้ที่จะเข้าใจและนิยมความงามใน
 ศิลปะได้มีเพียงนักปรัชญาเท่านั้น
 ความงามคือการเลือนแบบ ทุกสิงทุก    ่
 อย่างล้วนมีแบบของมันอยู่แล้ว
 ศิลปินที่สร้างศิลปะได้ใกล้เคียงมากที่สุด
 จะได้รับการยกย่องว่าเป็นศิลปินชันเยี่ยม
                                   ้
-    อริสโตเติล (Aristotle) ศิลปะคือ การเลือน
    แบบธรรมชาติ
    ทำาให้มีลักษณะคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงธรรมชาติ
    หรือแบบก็พอ
    ศิลปินต้องเสาะหาความจริง (Reality) และ
    ความงาม
    (Beauty)ที่ซ้อนเร้นในธรรมชาติ และรู้จักใช้
    ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ

-   ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เชื่อว่า ศิลปะเป็น
    สะพานที่เชื่อมคติความเชือทางวัตถุกับทางจิตใจ
                            ่
    เป็นงานที่ต้องมีความพากเพียร ใช้ความพยายาม
    ในด้านฝีมือและความคิด
-   นักปรัชญาปัจจุบัน เชื่อว่า ศิลปะคือการ
    สะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่
    จริง และความแท้จริงนั่น คือความงาม ซึ่ง
    ความงามของศิลปะนันอาจ หมายถึง การ
                       ้
    พรรณนาเรื่องราวในชีวิตทั้งในแง่ดีและไม่ดี
    ก็ได้
- ศิลปิน เห็นว่า ศิลปะคือนามธรรมที่เกิดจาก
  ธรรมชาติ โดยต้องมีการสร้างสรรค์
  การรู้คุณค่า (Appreciation) คือ การรู้ค่า
  ของจิตรกรรมหรือศิลปกรรมชนิดอื่น ๆ การ
  รู้จักคุณค่า นั้นไม่จำาเป็นต้องเป็นผู้ที่มความ
                                               ี
  รู้เสมอไป
      ผู้ที่ไม่มีความรู้เลย อาจจะรู้จักคุณค่าของสิง
                                                  ่
  หนึงสิ่งใดได้ดกว่าคนที่มีความรู้และศึกษามา
       ่             ี
  โดยตรงก็ได้
ความซาบซึ้งในความงามของ
ศิลปะ

       ความรู้สกซาบซึ้งในสุนทรียภาพหรือ
                ึ
ความงาม จะบังเกิดผล
 สมความปรารถนาหรือไม่เพียงไรนั้น ขึ้นอยู่กับ
การใฝ่หาความรู้ในศิลปะ ตลอดจนการพัฒนา
รสนิยมของแต่ละบุคคล ความซาบซึ้งในความ
งามของศิลปะมี 2 ประการ คือ
 1.   ความซาบซึ้งทางอารมณ์
 เป็นความรู้สกบนพืนฐานแห่งความชื่นชมยินดี
               ึ  ้
 และความพึง-พอใจที่
  ได้รับจากการสัมผัสกับความงามในองค์
 ประกอบของเส้น สี แสง เงา
  รูปทรง ท่าทาง ถ้อยคำาสำานวนและอื่น ๆ อัน
 เป็นความรู้สกประทับใจ
             ึ
  หรืออารมณ์สะเทือนใจ
   2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปญญา     ั
    เป็นความรู้สกในขั้นต่อมาจากการมีความเข้าใจ
                ึ
    ในหลักของความงามทางสุนทรียภาพหรือ
    ความงามของศิลปะ รู้ถึงองค์ประกอบของงาน
    ศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะ ซึ่งเกิดจาก
    ความคิดสร้างสรรค์อันไม่สิ้นสุดของมนุษย์
    เป็นการเสริมสร้างรสนิยมทางศิลปะของมวลชน
    ในชาติให้มีระดับสูงขึ้น & ขอบข่ายในการเรียน
    ศิลปะ
บ่อเกิดแห่งศิลปะ
   บ่อเกิดแห่งศิลปะมิได้มาจากธรรมชาติเท่านั้น สิ่ง
    แวดล้อมย่อมมีผลอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ

    ปัจจัยที่ทำาให้เกิดงานศิลปะขึนจึงประกอบไปด้วย
                                 ้



ธรรมชาติ ศาสนา ความเชื่อถือ ภูมอากาศ ภูมิประเทศ ระบบ
                               ิ
  การปกครอง และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง
่่
    ธรรมชาติ
     แรงบันดาลใจอย่างหนึ่งที่ทำาให้มนุษย์สร้างงาน
     ศิลปะขึ้นมาคือธรรมชาติ ดังนั้นธรรมชาติจึง
     ถือว่าเป็น "แม่" หรือบ่อเกิดของงานศิลปะ แต่
     ธรรมชาติไม่ใช่ตัวศิลปะ เพราะศิลปะนั้นหมาย
     ถึง สิงประดิษฐ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเท่านั้น
           ่
ความเชื่อถือหรือความศรัทธา
        เป็นสิ่งเร้าภายใน ซึงเป็นเรื่องทางจิตใจ เป็นอำานาจที่
                            ่
เร้นลับอยู่ในใจของมนุษย์
    และนับว่าเป็นพื้นฐานความรู้สึกของคนทุกคน ที่กระตุ้นให้
แสดงพฤติกรรมในรูปแบบ ต่างๆ
   ออกมา ความเชื่อต่อๆมาเป็นเหตุให้เกิดลัทธิศาสนาต่างๆที่มี
วิวัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน
   ซึงในอดีตศิลปะกับศาสนายังไม่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน
     ่
             โดย ศาสนานั้น คือ ความดี ส่วนศิลปะ คือ ความ
งาม
การยอมรับความศักดิสิทธิของ
                      ์     ์
 ธรรมชาติ นธรรมชาติ เกิดความสงสัยและ
 มนุษย์เกิดมามองเห็
หวาดกลัวกับภัยอันตราย เชือว่าสิ่ง
                               ่
    ที่เห็นนันศักดิสิทธิ์วิเศษกว่าตนเอง มีอำานาจทำาให้เกิด
              ้     ์
ได้ ตายได้ ให้ชั่วได้ ให้ดได้ี
    ควรแก่การเคารพ ซึ่งต้องมีการสักการะบูชาสิ่งศักดิ์
เช่นสิ่งที่เกิดจาก ภัยธรรมชาติ
    ฝนตกฟ้าร้อง หรือ แม้แต่เรื่องดวงดาวต่างๆ ดังนั้น การ
สร้างงานศิลปะจากเหตุผลนี้
    จึงไม่ใช่สร้างมาเพื่อความสวยงาม แต่เป็นการสร้างเพื่อ
ความสบายใจ เป็นการทดแทน
ความเชื่อเรื่องลึกลับ
     ได้แก่ ความเชื่ออำานาจที่ลึกลับที่เคลื่อนไหว
     อยู่ภายในเป็นสิงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ อำานาจ
                     ่
     นั้นเป็นแรงบันดาล เชื่อเรื่องวิญญาณ ความ
     เชือเรื่องผีสารเทวดา
         ่

ชือมายาศาสตร์
  ่
าด้วยการกล่าวเวทมนตร์คาถา หรือว่าด้วยลีลาอย่างใดอย่า
 เชือว่าสามารถบังคับอำานาจลึกลับที่มีอยู่ในโลกให้เข้ามาส
    ่
 กระบวนการในการสร้างสรรค์งาน
 ศิลปะ ก่อให้เกิด

 ความคิดสร้างสรรค์และ การแสดงออก
 (Expression)
 งานศิลปะจะได้รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ
 แสดงออกเป็นรูปแบบต่างๆ นั้น อาจจะอยู่นอกเหนือรูป
 แบบธรรมชาติ โดยการแสดงออกเป็นศิลปะแบบ
 นามธรรม (Abstract Art)
รแสดงออกของศิลปินอาจถ่ายทอดออกมาได้ 3

ารแสดงออกหรือถ่ายทอดตามความเป็นจริงตามธรร
ารถ่ายทอดในลักษณะกึ่งนามธรรม
ารถ่ายทอดในลักษณะนามธรรม
1. การแสดงออกหรือถ่ายทอดตามความเป็นจริง
ตามธรรมชาติ
 เช่น ภาพวาดเกี่ยวกับประวัตศาสตร์ ภาพเหมือนจริงหรือ
                             ิ
หุนนิ่ง ได้ถอดแบบออกมาจากธรรมชาติอย่างชัดเจน และ
  ่
แสดงความรู้สึกต่าง ๆ ที่ศิลปินเข้าใจและต้องการ
ทอดในลักษณะกึ่งนามธรรม
ดรูปแบบนี้จะมีความเหมือนจริงน้อยลงและให้ความสำาคัญก
สึกนึกคิดของศิลปินเองมากขึ้นโดยใช้สติปญญา หรือเหตุผ
                                      ั
 คุณค่าทางสุนทรียะให้แก่ศลปิน
                         ิ
ศิลปะนามธรรม หรือมโนศิลป์ คือ การนำาเอารูป
ทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นอยู่ในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ ซึ่งจะมี
การจัดองค์ประกอบของภาพอย่างอิสระ
 ดังนั้นศิลปะนามธรรมจึงอาจมีลกษณะกึ่งธรรมชาติกึ่ง
                              ั
นามธรรมก็ได้
การแสดงออกหรือ
ถ่ายทอดด้วยการตัด
ทอน (Distortion)
ศิลปินจะไม่ลอกเลียน
ธรรมชาติทั้งหมด แต่จะ
เน้นเฉพาะส่วนสำาคัญ
หรือจุดเด่นที่ก่อให้เกิด
อารมณ์สะเทือนใจ
3.การถ่ายทอดในลักษณะนามธรรม

ได้แก่ ศิลปะเชิงนามธรรม ลักษณะหรือรูปทรงของ
 ศิลปะ
 อันเนื่องมาจากการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกและ
 ความคิดของศิลปิน
หลักการแสดงออกทางศิลปะ
             ของศิลปิน
             แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ


ปลักษณะตามธรรมชาติ         3.รูปลักษณะแบบอิส
           2.รูปลักษณะแบบเรขาคณิต
 (Organic Form)
              (Geometric Form)  (Free Form)
 รูปลักษณะตามธรรมชาติ          (Organic
 Form)

 รูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง กฎเกณฑ์ ในการ
 แสดงออกนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของมัน เช่น ภูเขา
 ต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้ มนุษย์ สัตว์ เป็นต้น
    รูปลักษณะแบบเรขาคณิต (Geometric
    Form)
    เป็นรูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง โดยได้แบบ
    อย่างมาจากธรรมชาติบ้าง เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง วงกลม
    สี่เหลี่ยม เป็นต้น
มอนเดียน
 รูปลักษณะแบบอิสระ       (Free Form)
  เป็นรูปลักษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวและจะ
 เปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ตามความนิยมหรือความนึกคิด
      ่
 ของศิลปิน
วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์
แตกต่างกันอย่างไร
   1. วิจิตรศิลป์ (Fine Arts) หรือศิลปะ
    บริสุทธิ์ (Pure Arts)
    หมายถึง ผลงานที่มนุษย์สร้างขึ้นด่้วยความ
    รู่่้ส่ึก มีการแสดงออกถึงอารมณ์สะเทือนใจ
    ที่ผู้ชมรับได้ และม่ีคุ่ณค่่าทางด่้าน
    สุ่นทร่ียภาพ
       เป็นผลงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ
    แสดงเอกลักษณ์หรือมีลักษณะต้นแบบปรากฏ
    จุดมุ่งหมายในด้านความรู้สกทางการจินตนาการ
                              ึ
วิจิตรศิลป์ (Fine Art)
   แบ่งออกเป็น 5 ประเภทสาขา ดังนี้
   1 จิตรกรรม (Painting)
จิตรกรรม ( Painting) เป็นผลงานศิลปะที่
แสดงออกด้วยการขีดเขียน การวาด และระบายสี
เพื่อให้เกิดภาพ บรรลุเป็นงานศิลปะที่มี 2 มิติ มี
ลักษณะเป็นรูปแบน หรือกว้างและยาว ไม่มีความ
ลึกหรือนูนหนา แต่สามารถเขียนลวงตา ให้เห็น
ว่ามีความลึกหรือนูนได้ ความงามของจิตรกรรม
เกิดจากการใช้สีในลักษณะต่าง ๆ กัน
องค์ประกอบสำาคัญของงาน
จิตรกรรม
 องค์ประกอบสำาคัญของงานจิตรกรรม คือ
     1. ผู้สร้างงาน หรือ ผู้วาด เรียกว่า จิตรกร
     2. วัสดุ ที่ใช้รองรับการวาด เช่น กระดาษ
  ผ้า ผนัง ฯลฯ
     3. ส่ี เป็นสิงที่แสดงออกถึงเนือหา เรื่อง
                      ่                ้
  ราวเกี่ยวกับผลงาน
งานจิตรกรรม แบ่งออกได้ 2
ชนิด คือ
      1. การวาดเส้น (Drawing)

     เป็นการวาดภาพโดยใช้ปากกา หรือ ดินสอ ขีดเขียน
    ลงไป บนพิ้นผิววัสดุรองรับเพื่อให้เกิดภาพ การวาดเส้น
    คือ การขีดเขียนให้เป็นเส้นไม่ว่าจะเป็นเส้นเล็ก หรือ
    เส้นใหญ่ ๆ มักมีสีเดียว แต่การวาดเส้นไม่ได้จำากัดที่จะ
    ต้องมีสีเดียว อาจมีสีหลาย ๆ สีก็ได้ การวาดเส้น จัด
    เป็นพื้นฐานที่สำาคัญของงานศิลปะแทบทุกชนิด อย่าง
    น้อย ผูฝึกฝนงานศิลปะควรได้มีการฝึกฝนงานวาดเส้น
            ้
    ให้เชียวชาญเสียก่อน ก่อนที่จะไปทำางานด้านอืน ๆ ต่อ
          ่                                       ่
    ไป
ภาพเรือนราษฎรสามัญ เรือนคหบดีและเรือนหล


Picasso
   2. การระบายสี
    (Painting)
     เป็นการวาดภาพโดยการ
    ใช้พู่กัน หรือแปรง หรือ
    วัสดุอย่างอื่น มาระบาย
    ให้เกิดเป็นภาพ การ
    ระบายสี ต้องใช้ทักษะ
    การควบคุมสี และเครื่อง
    มือมากกว่าการวาด เส้น
    ผลงานการระบายสีจะ
    สวยงาม เหมือนจริง และ
    สมบูรณ์แบบมากกว่าการ
ลักษณะของภาพ
• ภาพหุ่นนิ่งรกรรม
         จิต (Sill life) เป็นภาพ
  วาดเกี่ยวกับสิงของเครื่องใช้ หรือ
                   ่
  วัสดุต่าง ๆ ที่ไม่มีการ เคลื่อนไหว
  เป็นสิ่งที่อยู่กับที่ เช่น ภาพดอกไม้
  ในแจกัน
      ภาพของต่างๆที่จัดรวมกัน
2.ภาพคนเต็มตัว (Figure) เป็นภาพที่
 แสดงกิริยาท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์เต็มตัว โดย
 อาจไม่เน้นแสดงความ เหมือนของใบหน้า
3.ภาพคนเหมือน (Potrait) เป็นภาพที่แสดง
ความเหมือน
ของใบหน้าของคน ๆ ใดคนหนึงและ แสดงภาพคน
                        ่
เพียงครึ่งตัว
4.ภาพเปลือย (Nude) ภาพคนที่ไม่มี
  อะไรปกปิดร่างกาย
5. ภาพทิวทัศน์ (Landscape) เป็น
ภาพที่แสดงความงาม หรือความประทับใจ
ในความงาม ของ ธรรมชาติ หรือสิ่ง
แวดล้อม ของศิลปินผู้วาด ภาพทิวทัศน์ยัง
แบ่งเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้อีก คือ……
- ภาพทิวทัศน์ผืนนำ้า หรือ ทะเล
(Seascape ) ที่เป็นการเจาะจง ถ่ายทอด
ผลงาน เมือได้พบเห็นจากธรรมชาติ
         ่
- ภาพทิวทัศน์พื้นดิน (Landscape)
 เป็นงานที่แสดงเกียวกับบรรยากาศภูมิประเทศส่วน
                    ่
 ที่เป็นภาคพื้นดิน เช่น ทุ่งนา ต้นไม้อาจมีพื้นนำ้าเป็น
 ส่วนประกอบ
- ภาพประกอบเรือง (Illustration) เป็น
              ่
 ภาพที่เขียนขึนเพื่อบอกเล่าเรื่องราว หรือถ่ายทอด
              ้
 เหตุการณ์ ต่าง ๆ ให้ผู้อนได้รับรู้ โดยอาจเป็นทั้งภาพ
                         ื่
 ประกอบเรืองในหนังสือ พระคัมภีร์ หรือภาพเขียนบนฝา
           ่
 ผนัง อาคาร สถาปัตยกรรมต่าง ๆ และ รวมถึงภาพ
2 ประติมากรรม
(Sculpture)
เกิดจากการปัน แกะสลัก ตี
              ้
เคาะ หล่อ
 โดยมี ลักษณะเป็น 3 มิติ คือ
 กว้าง ยาวและลึก ที่สามารถ
สัมผัสได้จริง
ประติมากรรม เขียนได้ 2 แบบ
1.ประติมากรรม หมายถึง รูปปัน แกะสลัก
                           ้
  เช่น คน สัตว์ สิงของ
                  ่



2.ปฏิมากรรม หมายถึง รูปปัน แกะสลักอันเป็น
                            ้
  รูปเปรียบหรือรูปแทนตัวบุคคล ซึ่งไม่ได้
  หมายความว่าเป็นรูปจำาลองของคนจริงๆ
   เช่น พระพุทธปฏิมา หรือพระพุทธองค์
ประติมากรรมแบ่งออก ดังนี้
1. แบบลอยตัว ( round relief) เป็นรูเป็นรูปทรง
  ลอยตัว สามารถมองได้รอบด้าน
2.แบบนูนสูง (high relief)
 เป็นฐานอยู่ด้านหน้า เวลาแสดงต้องติดข้างฝา




ประติมากรรมนูนสูง ประดับฐานอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
        วงเวียนใหญ่กรุงเทพมหานคร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓
3.แบบนูนตำ่า (base relief) เป็น
  ทรงที่ต้องดูได้ด้านหน้าเพียง
  ด้านเดียว โดยมีฐานอยู่ข้างหลัง
   เช่นเหรียญต่างๆ

                              พระบรมรูปสมเด็จพระวสาอัยยิกาเจ้า




ประติมากรรมนูนตำ่า ที่ปราสาทหินนครวัด
ต่ิมากรรมแบบห่้อยหร่ือแขวน
   คือ ประติมากรรมที่สร้าง
   ขึ้นด้วยการนำามาห้อย
   หรือแขวนตามแต่จะจัด
   สร้างขึ้น ด้วยการแขวน
   ที่ปลายคานลวดที่ทำา
   ด้วยลวด กิ่งไม้ ฯลฯ
   ห้อยซ้อนกันหลายๆ ชิน ้
   หรือแขวนไว้โดยไม่มี
   คานทั้งนีต้องอาศัยความ
            ้
   สมดุลของนำ้าหนักงาน
3.สถาปัตยกรรม
 (Architecture)
สถาปัตยกรรมหล่ั ก
(Architecture)

ภูมิสถาปัตยกรรม
(Landscape Architecture)

ผังเมือง (Urban Planning)
สถาปัตยกรรม
 (Architecture)
ภูมิสถาปัตยกรรม
(Landscape Architecture)
ผังเมือง (Urban Planning)
สถาปัตยกรรม คือ การกำาหนดบริเวณพืนที่
                                  ้
 ว่างเพือประโยชน์สอยเพื่อตอบสนองความต้องการ
        ่
 ของมนุษย์และความสวยงาม
 เป็นผลงานศิลปะที่ แสดงออกด้วยการก่อสร้าง
  สิงก่อสร้าง อาคาร ที่อยู่อาศัยต่าง ๆ การวาง
    ่
  ผังเมือง การจัดผังบริเวณ การตกแต่งอาคาร
   การออกแบบก่อสร้าง ซึ่งเป็นงานศิลปะ ที่มี
  ขนาดใหญ่ต้องใช้ผู้สร้างงานจำานวนมาก และเป็น
  งานศิลปะ ที่มีอายุยืนยาว สถาปัตยกรรม เป็นวิธี
  การจัดสรรบริเวณที่ว่างให้เกิดประโยชน์ใช้สอย
  ตามความต้องการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับศาสตร์ใน
  สาขาต่างๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายในการสร้างสรรค์
งานสถาปัตยกรรม
 เพื่อประโยชน์ใช้สอย เพราะมนุษย์จะ
 ต้องเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่วางของ
                                ่
 สถาปัตยกรรม
าปัตยกรรมแบ่งได้เป็น 2 ประเภ
าปัตยกรรมเปิด (Opened Architectu
 าปัตยกรรมปิด (Closed Architecture
1.สถาปัตยกรรมเปิด (Opened
 Architecture)
  เป็นสิงก่อสร้างที่มนุษย์สามารถเข้าไปใช้
        ่
 ประโยชน์ได้ จึงต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ
 ต่อการอาศัยของมนุษย์ ได้แก่ บ้านพักอาศัย
 โรงเรียน โรงพยาบาล โบสถ์ วิหาร เป็นต้น
2.สถาปัตยกรรมปิด (Closed
Architecture)
ได้แก่ สุสาน อนุสาวรีย์ เจดีย์สร้างขึ้นจาก
ความเชื่อถือศรัทธาของสังคม
4 วรรณกรรม (Literature) บท
 ประพ่ันธ่์ บทกว่ีต่่างๆ ร่้อยแก่้ว
 ร่้อยกรอง นวน่ิยายต่่างๆ
5 ดุริยางคศิลป์และนาฏกรรม
 (Music & Drama)

              ʡس¡Ô¹¹Ã
ภาพพิมพ์ (Printmarking)
 คือ ผลงานทัศนศิลป์แขนงหนึ่งที่สร้างขึ้นจาก
การทำาแม่พิมพ์ประเภท ต่างๆ ภาพพิมพ์แบ่งตาม
วิธีทำาแม่พิมพ์ได้ 4 ประเภท คือ ภาพพิมพ์นูน
  ภาพพิมพ์ร่องลึก ภาพิมพ์พื้นราบ ภาพพิมพ์
ลายฉลุ
ผลงานภาพพิมพ์ชื่อ Desire 11/1999
ผลงานภาพพิมพ์ ชือภาพพิมพ์ครั้งเดียว (Mono Print)
                 ่
ผลงานของนางสาวมาลินี บุญมาเลิศ นิสิตชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัย
               มหาสารคาม พ.ศ.2544
ประยุกต์ศิลป์ (Applied Arts)
   ประยุกต์ศ่ิลป่์ (Applied Arts) หมายถึง ศิลปะ
    สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยเป็นสำาคัญ โดย
    คำานึงถึงความงามหรือสุนทรียศาสตร์
      แบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ งานออกแบบภาชนะ
    เครื่องใช้ประจำาวัน
     งานออกแบบฉากละคร งานออกแบบเครื่องแต่ง
    กาย งานออกแบบภายใน งานอุตสาหกรรมศิลป์
    ตลอดจนงานนิเทศศิลป์ ซึ่งจะแยกออกแบบภาพ
    โฆษณา การ์ตูน
มัณฑนศิลป์ (DECORATION
ART)
  เป็นการออกแบบภายในและภายนอกอาคาร
 การออกแบบเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย
 เพ่ื่่อผลทางสุ่นทร่ียภาพด่ึงดู่ดความ
 สนใจ
  และให่้ความสะดวกสบาย
่ั จจุ่ บ่ั นท่ี ่ ่ ม่ี ล่ั กษณะการใช่้ งานท่ี ่ ่ ได่้ ม่ี การป
งานออกแบบตกแต่่งภายใน ล่ักษณะงานประยุ่กต่์ศ่ิลป่์
ช่ี ว่ิ ตส่ั งคมเม่ื องในป่ั จ
พาณิชย์ศิลป์ (Commercial Art)
เป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการค้า ที่มงจำาหน่ายสินค้า
                                    ุ่
  โฆษณา
การจัดแสดงตู้โชว์สินค้า(Window Display)
 ภาพโฆษณา ภาพการ์ตน การตกแต่งหน้าร้าน และ
                          ู
  การถ่ายรูป
การตกแต่่ งหน่้ าร่้ านขาย
 ส่ิ นค่้ าภายในห่้ างสรรพ
           ส่ิ นค่้ า
การจ่ั ดตู่ ่ ้ โชว่์ หน่้ า
การจ่ัดตู่่้แสดงส่ินค่้า Window Disp
อุตสาหกรรมศิลป์
(INDUSTRIAL ART)
เป็นการผลิตงานออกแบบมาเพื่อตอบสนอง
 ความต้องการของผู้บริโภค
มีการสร้างสรรค์งานด้วยมือและเครื่องจักร
ศิลปะหัตถกรรม (ART &
CRAFTS)
   เป็นศิลปะที่ทำาขึ้นด้วยมือ มุ่งความงาม ความ
    ประณีตและประโยชน์ใช้
    สอย เป็นลักษณะของงานฝีมือ
่ นๆ เช่่ น บรรจุ่ ภ่ั ณฑ่์ ใส่่ ส่ิ นค
กแบบเส่ื ่ ้ อผ่้ า Fashion
งานออกแบบลายผ้า TEXTILE
นออกแบบGRAPHIC
่่ งพ่ิ มพ่์ ประเภพต่่ างๆ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ

Contenu connexe

Tendances

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์พัน พัน
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุting2513
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptPreeda Chanlutin
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีPhattira Klinlakhar
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 

Tendances (20)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
นำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชียนำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชีย
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวที
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 

En vedette

ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะBordin Sirikase
 
ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์Koonsombat Narinruk
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newKittipun Udomseth
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์พัน พัน
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตยSaiiew Sarana
 
Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.dtammanoon
 

En vedette (10)

ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
 
ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์ศิลปะ หรือ ศิลป์
ศิลปะ หรือ ศิลป์
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
Lab8
Lab8Lab8
Lab8
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
 
Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 

Similaire à ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237CUPress
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาLchigo Kurosaki
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640CUPress
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้SeeGrundy
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายIntrayut Konsongchang
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59Computer ITSWKJ
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2mathawee wattana
 

Similaire à ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ (20)

Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ศิลปศึกษา
ศิลปศึกษาศิลปศึกษา
ศิลปศึกษา
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
 

ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ

  • 2. ความหมายของศิลปะและ ขอบข่ายงานศิลปะ  ศิลปะเขียนอย่างไร  ศิลปะคืออะไร  วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศลป์ ิ แตกต่างกันอย่างไร  งานศิลปะแตกต่างจากงาน แขนงอื่นอย่างไร
  • 3. ?
  • 4. ศิลปะเขียนอย่างไร ในการเขียนคำาว่า “ศิลปะ” การเขียนโดยให้ยึด ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเป็นสำาคัญ โดยจะพบว่าการเขียน คำาว่าศิลปะ มีการเขียนอยู่ 3 แบบคือ ศิลป - (สิน-ละ-ปะ) ที่มีเครื่องหมายยติภังค์ ( - ) ต่อท้ายแสดง ว่ามีคำาภาษาบาลี หรือสันสฤตต่อในรูปของคำาสมาส เช่น ศิลปศึกษา ศิลปกรรม ศิลปศาสตร์ ศิลปนิยม
  • 5. ศิลป์ (สิน) มีการันต์กำากับใช้เมื่อออกเสียงว่า สิน ได้แก่วิจิตรศิลป์ นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ หอศิลป์ เป็นต้น ศิลปะ (สิน-ละ-ปะ) ใช้ในกรณีออกเสียงรวมกับ คำาอื่น เช่นงานศิลปะ ศิลปะในประเทศ ศิลปะกรีก ศิลปะโรมัน เป็นต้น
  • 6. จุดมุ่งหมายในการเรียน ศิลปะ 1. เรียนเพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ของศิลปะ เช่น การจัดวาง เส้น รูปร่าง มวล พืนผิว ้ และช่องว่าง ให้มีความสัมพันธ์กันอย่างดีจนเกิด คุณค่าทาง สุนทรียภาพ 2. เพือให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้งในความงามของ ่ ศิลปกรรมอันเป็นวัฒนธรรมของชาติ
  • 7. 3. เพือพัฒนารสนิยม ซึงรสนิยมของคน ่ ่ ย่อมพัฒนาไปตามวัย ความรู้สกซาบซึงใน ึ ้ ศิลปะหรือการประจักษ์ในด้านความงามนั้น เป็นสิ่งสำาคัญที่สดที่จะช่วยพัฒนารสนิยม ุ ของคนให้ดีขึ้น
  • 8. 4. เพื่อให้เข้าใจชีวตความเป็นอยู่ ิ สภาพสังคม ประเพณี วัฒนธรรมของ คนในอดีต เพราะการศึกษาศิลปะ ก็คือ การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีต ศิลปะเป็นเรื่องที่แตกต่างไปจากความเป็นอยู่ ของมนุษย์ และศิลปะไม่สามารถแยกออกจากชีวตประจำา ิ วันของมนุษย์ได้ ซึงจุดมุ่งหมายสุดท้ายของศิลปะ คือ ความ ่ พอใจ
  • 10. ความหมายของคำาว่า "ศิลปะ" ความหมายของคำาว่าศิลปะจะแตกต่างกันไป ตามพื้นฐานของแต่ละคน และความคิดอ่านของ คนในสังคมแต่ละยุค แต่ความหมายโดยรวม ของ ศิลปะ คือ งานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ ที่มนุษย์ เป็นผู้สร้างขึน ซึ่งมีธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ ้ งานศิลปะอาจจะสวยงามหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีส่วน เสริมสร้างจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึน และศิลปะนั้นอาจ ้ แสดงออกมาในรูปที่เป็นศีลธรรมหรือไม่เป็นศีลธรรม
  • 11.  นักปรัชญาโบราณ ถือว่า ศิลปะมีพื้น ฐานมาจากความงามและความดี - โสเครตีส(Socrater) เชื่อว่า ศิลปะ เป็นความงามทีได้จากธรรมชาติ ่ และต้องมีผลเสริมสร้างทางด้าน จิตใจด้วย
  • 12. ลีโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoi) กล่าวว่า ศิลปะที่ มีแต่ความประณีต ความงาม ความบันเทิง หาใช่เป็นศิลปะไม่ เป็นแต่เพียงงานฝีมอ ื เท่านั้น เพราะเป็นงานที่ขาดเงือนไขที่จำาเป็น ่ อย่างยิ่งของศิลปะ ศิลปะเป็นการถ่ายทอดจาก ความรู้สกึ
  • 13. - เพลโต(Plato) กล่าวว่า ศิลปะเป็นส่วน หนึ่งของธรรมชาติ และจะต้องมาจากความ ดีด้วย ซึ่งผู้ที่จะเข้าใจและนิยมความงามใน ศิลปะได้มีเพียงนักปรัชญาเท่านั้น  ความงามคือการเลือนแบบ ทุกสิงทุก ่ อย่างล้วนมีแบบของมันอยู่แล้ว  ศิลปินที่สร้างศิลปะได้ใกล้เคียงมากที่สุด จะได้รับการยกย่องว่าเป็นศิลปินชันเยี่ยม ้
  • 14. - อริสโตเติล (Aristotle) ศิลปะคือ การเลือน แบบธรรมชาติ ทำาให้มีลักษณะคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงธรรมชาติ หรือแบบก็พอ ศิลปินต้องเสาะหาความจริง (Reality) และ ความงาม (Beauty)ที่ซ้อนเร้นในธรรมชาติ และรู้จักใช้ ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ - ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เชื่อว่า ศิลปะเป็น สะพานที่เชื่อมคติความเชือทางวัตถุกับทางจิตใจ ่ เป็นงานที่ต้องมีความพากเพียร ใช้ความพยายาม ในด้านฝีมือและความคิด
  • 15. - นักปรัชญาปัจจุบัน เชื่อว่า ศิลปะคือการ สะท้อนความจริงของชีวิตตามที่เป็นอยู่ จริง และความแท้จริงนั่น คือความงาม ซึ่ง ความงามของศิลปะนันอาจ หมายถึง การ ้ พรรณนาเรื่องราวในชีวิตทั้งในแง่ดีและไม่ดี ก็ได้
  • 16. - ศิลปิน เห็นว่า ศิลปะคือนามธรรมที่เกิดจาก ธรรมชาติ โดยต้องมีการสร้างสรรค์ การรู้คุณค่า (Appreciation) คือ การรู้ค่า ของจิตรกรรมหรือศิลปกรรมชนิดอื่น ๆ การ รู้จักคุณค่า นั้นไม่จำาเป็นต้องเป็นผู้ที่มความ ี รู้เสมอไป ผู้ที่ไม่มีความรู้เลย อาจจะรู้จักคุณค่าของสิง ่ หนึงสิ่งใดได้ดกว่าคนที่มีความรู้และศึกษามา ่ ี โดยตรงก็ได้
  • 17. ความซาบซึ้งในความงามของ ศิลปะ ความรู้สกซาบซึ้งในสุนทรียภาพหรือ ึ ความงาม จะบังเกิดผล สมความปรารถนาหรือไม่เพียงไรนั้น ขึ้นอยู่กับ การใฝ่หาความรู้ในศิลปะ ตลอดจนการพัฒนา รสนิยมของแต่ละบุคคล ความซาบซึ้งในความ งามของศิลปะมี 2 ประการ คือ
  • 18.  1. ความซาบซึ้งทางอารมณ์ เป็นความรู้สกบนพืนฐานแห่งความชื่นชมยินดี ึ ้ และความพึง-พอใจที่ ได้รับจากการสัมผัสกับความงามในองค์ ประกอบของเส้น สี แสง เงา รูปทรง ท่าทาง ถ้อยคำาสำานวนและอื่น ๆ อัน เป็นความรู้สกประทับใจ ึ หรืออารมณ์สะเทือนใจ
  • 19. 2. ความซาบซึ้งทางพุทธิปญญา ั เป็นความรู้สกในขั้นต่อมาจากการมีความเข้าใจ ึ ในหลักของความงามทางสุนทรียภาพหรือ ความงามของศิลปะ รู้ถึงองค์ประกอบของงาน ศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะ ซึ่งเกิดจาก ความคิดสร้างสรรค์อันไม่สิ้นสุดของมนุษย์ เป็นการเสริมสร้างรสนิยมทางศิลปะของมวลชน ในชาติให้มีระดับสูงขึ้น & ขอบข่ายในการเรียน ศิลปะ
  • 20. บ่อเกิดแห่งศิลปะ  บ่อเกิดแห่งศิลปะมิได้มาจากธรรมชาติเท่านั้น สิ่ง แวดล้อมย่อมมีผลอย่างมากต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ ปัจจัยที่ทำาให้เกิดงานศิลปะขึนจึงประกอบไปด้วย ้ ธรรมชาติ ศาสนา ความเชื่อถือ ภูมอากาศ ภูมิประเทศ ระบบ ิ การปกครอง และวัสดุที่ใช้ในการสร้าง
  • 21. ่่  ธรรมชาติ แรงบันดาลใจอย่างหนึ่งที่ทำาให้มนุษย์สร้างงาน ศิลปะขึ้นมาคือธรรมชาติ ดังนั้นธรรมชาติจึง ถือว่าเป็น "แม่" หรือบ่อเกิดของงานศิลปะ แต่ ธรรมชาติไม่ใช่ตัวศิลปะ เพราะศิลปะนั้นหมาย ถึง สิงประดิษฐ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเท่านั้น ่
  • 22. ความเชื่อถือหรือความศรัทธา เป็นสิ่งเร้าภายใน ซึงเป็นเรื่องทางจิตใจ เป็นอำานาจที่ ่ เร้นลับอยู่ในใจของมนุษย์ และนับว่าเป็นพื้นฐานความรู้สึกของคนทุกคน ที่กระตุ้นให้ แสดงพฤติกรรมในรูปแบบ ต่างๆ ออกมา ความเชื่อต่อๆมาเป็นเหตุให้เกิดลัทธิศาสนาต่างๆที่มี วิวัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน ซึงในอดีตศิลปะกับศาสนายังไม่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน ่ โดย ศาสนานั้น คือ ความดี ส่วนศิลปะ คือ ความ งาม
  • 23. การยอมรับความศักดิสิทธิของ ์ ์ ธรรมชาติ นธรรมชาติ เกิดความสงสัยและ มนุษย์เกิดมามองเห็ หวาดกลัวกับภัยอันตราย เชือว่าสิ่ง ่ ที่เห็นนันศักดิสิทธิ์วิเศษกว่าตนเอง มีอำานาจทำาให้เกิด ้ ์ ได้ ตายได้ ให้ชั่วได้ ให้ดได้ี ควรแก่การเคารพ ซึ่งต้องมีการสักการะบูชาสิ่งศักดิ์ เช่นสิ่งที่เกิดจาก ภัยธรรมชาติ ฝนตกฟ้าร้อง หรือ แม้แต่เรื่องดวงดาวต่างๆ ดังนั้น การ สร้างงานศิลปะจากเหตุผลนี้ จึงไม่ใช่สร้างมาเพื่อความสวยงาม แต่เป็นการสร้างเพื่อ ความสบายใจ เป็นการทดแทน
  • 24. ความเชื่อเรื่องลึกลับ ได้แก่ ความเชื่ออำานาจที่ลึกลับที่เคลื่อนไหว อยู่ภายในเป็นสิงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ อำานาจ ่ นั้นเป็นแรงบันดาล เชื่อเรื่องวิญญาณ ความ เชือเรื่องผีสารเทวดา ่ ชือมายาศาสตร์ ่ าด้วยการกล่าวเวทมนตร์คาถา หรือว่าด้วยลีลาอย่างใดอย่า เชือว่าสามารถบังคับอำานาจลึกลับที่มีอยู่ในโลกให้เข้ามาส ่
  • 25.  กระบวนการในการสร้างสรรค์งาน ศิลปะ ก่อให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์และ การแสดงออก (Expression) งานศิลปะจะได้รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ แสดงออกเป็นรูปแบบต่างๆ นั้น อาจจะอยู่นอกเหนือรูป แบบธรรมชาติ โดยการแสดงออกเป็นศิลปะแบบ นามธรรม (Abstract Art)
  • 27. 1. การแสดงออกหรือถ่ายทอดตามความเป็นจริง ตามธรรมชาติ เช่น ภาพวาดเกี่ยวกับประวัตศาสตร์ ภาพเหมือนจริงหรือ ิ หุนนิ่ง ได้ถอดแบบออกมาจากธรรมชาติอย่างชัดเจน และ ่ แสดงความรู้สึกต่าง ๆ ที่ศิลปินเข้าใจและต้องการ
  • 29. ศิลปะนามธรรม หรือมโนศิลป์ คือ การนำาเอารูป ทรงต่าง ๆ ที่พบเห็นอยู่ในธรรมชาติมาจัดเสียใหม่ ซึ่งจะมี การจัดองค์ประกอบของภาพอย่างอิสระ ดังนั้นศิลปะนามธรรมจึงอาจมีลกษณะกึ่งธรรมชาติกึ่ง ั นามธรรมก็ได้
  • 31. 3.การถ่ายทอดในลักษณะนามธรรม ได้แก่ ศิลปะเชิงนามธรรม ลักษณะหรือรูปทรงของ ศิลปะ อันเนื่องมาจากการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกและ ความคิดของศิลปิน
  • 32.
  • 33. หลักการแสดงออกทางศิลปะ ของศิลปิน แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปลักษณะตามธรรมชาติ 3.รูปลักษณะแบบอิส 2.รูปลักษณะแบบเรขาคณิต (Organic Form) (Geometric Form) (Free Form)
  • 34.  รูปลักษณะตามธรรมชาติ (Organic Form) รูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง กฎเกณฑ์ ในการ แสดงออกนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของมัน เช่น ภูเขา ต้นไม้ ใบไม้ ดอกไม้ มนุษย์ สัตว์ เป็นต้น
  • 35. รูปลักษณะแบบเรขาคณิต (Geometric Form) เป็นรูปลักษณะที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง โดยได้แบบ อย่างมาจากธรรมชาติบ้าง เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง วงกลม สี่เหลี่ยม เป็นต้น
  • 37.
  • 38.  รูปลักษณะแบบอิสระ (Free Form) เป็นรูปลักษณะที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวและจะ เปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ตามความนิยมหรือความนึกคิด ่ ของศิลปิน
  • 39.
  • 40.
  • 41. วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ แตกต่างกันอย่างไร  1. วิจิตรศิลป์ (Fine Arts) หรือศิลปะ บริสุทธิ์ (Pure Arts) หมายถึง ผลงานที่มนุษย์สร้างขึ้นด่้วยความ รู่่้ส่ึก มีการแสดงออกถึงอารมณ์สะเทือนใจ ที่ผู้ชมรับได้ และม่ีคุ่ณค่่าทางด่้าน สุ่นทร่ียภาพ เป็นผลงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ แสดงเอกลักษณ์หรือมีลักษณะต้นแบบปรากฏ จุดมุ่งหมายในด้านความรู้สกทางการจินตนาการ ึ
  • 42. วิจิตรศิลป์ (Fine Art)  แบ่งออกเป็น 5 ประเภทสาขา ดังนี้ 1 จิตรกรรม (Painting) จิตรกรรม ( Painting) เป็นผลงานศิลปะที่ แสดงออกด้วยการขีดเขียน การวาด และระบายสี เพื่อให้เกิดภาพ บรรลุเป็นงานศิลปะที่มี 2 มิติ มี ลักษณะเป็นรูปแบน หรือกว้างและยาว ไม่มีความ ลึกหรือนูนหนา แต่สามารถเขียนลวงตา ให้เห็น ว่ามีความลึกหรือนูนได้ ความงามของจิตรกรรม เกิดจากการใช้สีในลักษณะต่าง ๆ กัน
  • 43. องค์ประกอบสำาคัญของงาน จิตรกรรม  องค์ประกอบสำาคัญของงานจิตรกรรม คือ  1. ผู้สร้างงาน หรือ ผู้วาด เรียกว่า จิตรกร  2. วัสดุ ที่ใช้รองรับการวาด เช่น กระดาษ ผ้า ผนัง ฯลฯ  3. ส่ี เป็นสิงที่แสดงออกถึงเนือหา เรื่อง ่ ้ ราวเกี่ยวกับผลงาน
  • 44. งานจิตรกรรม แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ  1. การวาดเส้น (Drawing) เป็นการวาดภาพโดยใช้ปากกา หรือ ดินสอ ขีดเขียน ลงไป บนพิ้นผิววัสดุรองรับเพื่อให้เกิดภาพ การวาดเส้น คือ การขีดเขียนให้เป็นเส้นไม่ว่าจะเป็นเส้นเล็ก หรือ เส้นใหญ่ ๆ มักมีสีเดียว แต่การวาดเส้นไม่ได้จำากัดที่จะ ต้องมีสีเดียว อาจมีสีหลาย ๆ สีก็ได้ การวาดเส้น จัด เป็นพื้นฐานที่สำาคัญของงานศิลปะแทบทุกชนิด อย่าง น้อย ผูฝึกฝนงานศิลปะควรได้มีการฝึกฝนงานวาดเส้น ้ ให้เชียวชาญเสียก่อน ก่อนที่จะไปทำางานด้านอืน ๆ ต่อ ่ ่ ไป
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58. 2. การระบายสี (Painting) เป็นการวาดภาพโดยการ ใช้พู่กัน หรือแปรง หรือ วัสดุอย่างอื่น มาระบาย ให้เกิดเป็นภาพ การ ระบายสี ต้องใช้ทักษะ การควบคุมสี และเครื่อง มือมากกว่าการวาด เส้น ผลงานการระบายสีจะ สวยงาม เหมือนจริง และ สมบูรณ์แบบมากกว่าการ
  • 59.
  • 60.
  • 61. ลักษณะของภาพ • ภาพหุ่นนิ่งรกรรม จิต (Sill life) เป็นภาพ วาดเกี่ยวกับสิงของเครื่องใช้ หรือ ่ วัสดุต่าง ๆ ที่ไม่มีการ เคลื่อนไหว เป็นสิ่งที่อยู่กับที่ เช่น ภาพดอกไม้ ในแจกัน ภาพของต่างๆที่จัดรวมกัน
  • 62. 2.ภาพคนเต็มตัว (Figure) เป็นภาพที่ แสดงกิริยาท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์เต็มตัว โดย อาจไม่เน้นแสดงความ เหมือนของใบหน้า
  • 63. 3.ภาพคนเหมือน (Potrait) เป็นภาพที่แสดง ความเหมือน ของใบหน้าของคน ๆ ใดคนหนึงและ แสดงภาพคน ่ เพียงครึ่งตัว
  • 64. 4.ภาพเปลือย (Nude) ภาพคนที่ไม่มี อะไรปกปิดร่างกาย
  • 65. 5. ภาพทิวทัศน์ (Landscape) เป็น ภาพที่แสดงความงาม หรือความประทับใจ ในความงาม ของ ธรรมชาติ หรือสิ่ง แวดล้อม ของศิลปินผู้วาด ภาพทิวทัศน์ยัง แบ่งเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้อีก คือ……
  • 66. - ภาพทิวทัศน์ผืนนำ้า หรือ ทะเล (Seascape ) ที่เป็นการเจาะจง ถ่ายทอด ผลงาน เมือได้พบเห็นจากธรรมชาติ ่
  • 67.
  • 68.
  • 69. - ภาพทิวทัศน์พื้นดิน (Landscape) เป็นงานที่แสดงเกียวกับบรรยากาศภูมิประเทศส่วน ่ ที่เป็นภาคพื้นดิน เช่น ทุ่งนา ต้นไม้อาจมีพื้นนำ้าเป็น ส่วนประกอบ
  • 70. - ภาพประกอบเรือง (Illustration) เป็น ่ ภาพที่เขียนขึนเพื่อบอกเล่าเรื่องราว หรือถ่ายทอด ้ เหตุการณ์ ต่าง ๆ ให้ผู้อนได้รับรู้ โดยอาจเป็นทั้งภาพ ื่ ประกอบเรืองในหนังสือ พระคัมภีร์ หรือภาพเขียนบนฝา ่ ผนัง อาคาร สถาปัตยกรรมต่าง ๆ และ รวมถึงภาพ
  • 71. 2 ประติมากรรม (Sculpture) เกิดจากการปัน แกะสลัก ตี ้ เคาะ หล่อ โดยมี ลักษณะเป็น 3 มิติ คือ กว้าง ยาวและลึก ที่สามารถ สัมผัสได้จริง
  • 72. ประติมากรรม เขียนได้ 2 แบบ 1.ประติมากรรม หมายถึง รูปปัน แกะสลัก ้ เช่น คน สัตว์ สิงของ ่ 2.ปฏิมากรรม หมายถึง รูปปัน แกะสลักอันเป็น ้ รูปเปรียบหรือรูปแทนตัวบุคคล ซึ่งไม่ได้ หมายความว่าเป็นรูปจำาลองของคนจริงๆ เช่น พระพุทธปฏิมา หรือพระพุทธองค์
  • 73. ประติมากรรมแบ่งออก ดังนี้ 1. แบบลอยตัว ( round relief) เป็นรูเป็นรูปทรง ลอยตัว สามารถมองได้รอบด้าน
  • 74.
  • 75.
  • 76. 2.แบบนูนสูง (high relief) เป็นฐานอยู่ด้านหน้า เวลาแสดงต้องติดข้างฝา ประติมากรรมนูนสูง ประดับฐานอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วงเวียนใหญ่กรุงเทพมหานคร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓
  • 77. 3.แบบนูนตำ่า (base relief) เป็น ทรงที่ต้องดูได้ด้านหน้าเพียง ด้านเดียว โดยมีฐานอยู่ข้างหลัง เช่นเหรียญต่างๆ พระบรมรูปสมเด็จพระวสาอัยยิกาเจ้า ประติมากรรมนูนตำ่า ที่ปราสาทหินนครวัด
  • 78. ต่ิมากรรมแบบห่้อยหร่ือแขวน คือ ประติมากรรมที่สร้าง ขึ้นด้วยการนำามาห้อย หรือแขวนตามแต่จะจัด สร้างขึ้น ด้วยการแขวน ที่ปลายคานลวดที่ทำา ด้วยลวด กิ่งไม้ ฯลฯ ห้อยซ้อนกันหลายๆ ชิน ้ หรือแขวนไว้โดยไม่มี คานทั้งนีต้องอาศัยความ ้ สมดุลของนำ้าหนักงาน
  • 82.
  • 83.
  • 84.
  • 86.
  • 88.
  • 89. สถาปัตยกรรม คือ การกำาหนดบริเวณพืนที่ ้ ว่างเพือประโยชน์สอยเพื่อตอบสนองความต้องการ ่ ของมนุษย์และความสวยงาม  เป็นผลงานศิลปะที่ แสดงออกด้วยการก่อสร้าง สิงก่อสร้าง อาคาร ที่อยู่อาศัยต่าง ๆ การวาง ่ ผังเมือง การจัดผังบริเวณ การตกแต่งอาคาร การออกแบบก่อสร้าง ซึ่งเป็นงานศิลปะ ที่มี ขนาดใหญ่ต้องใช้ผู้สร้างงานจำานวนมาก และเป็น งานศิลปะ ที่มีอายุยืนยาว สถาปัตยกรรม เป็นวิธี การจัดสรรบริเวณที่ว่างให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามความต้องการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับศาสตร์ใน สาขาต่างๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
  • 90. จุดมุ่งหมายในการสร้างสรรค์ งานสถาปัตยกรรม เพื่อประโยชน์ใช้สอย เพราะมนุษย์จะ ต้องเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่วางของ ่ สถาปัตยกรรม
  • 91. าปัตยกรรมแบ่งได้เป็น 2 ประเภ าปัตยกรรมเปิด (Opened Architectu าปัตยกรรมปิด (Closed Architecture
  • 92. 1.สถาปัตยกรรมเปิด (Opened Architecture) เป็นสิงก่อสร้างที่มนุษย์สามารถเข้าไปใช้ ่ ประโยชน์ได้ จึงต้องจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ต่อการอาศัยของมนุษย์ ได้แก่ บ้านพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล โบสถ์ วิหาร เป็นต้น
  • 93. 2.สถาปัตยกรรมปิด (Closed Architecture) ได้แก่ สุสาน อนุสาวรีย์ เจดีย์สร้างขึ้นจาก ความเชื่อถือศรัทธาของสังคม
  • 94.
  • 95. 4 วรรณกรรม (Literature) บท ประพ่ันธ่์ บทกว่ีต่่างๆ ร่้อยแก่้ว ร่้อยกรอง นวน่ิยายต่่างๆ
  • 97. ภาพพิมพ์ (Printmarking) คือ ผลงานทัศนศิลป์แขนงหนึ่งที่สร้างขึ้นจาก การทำาแม่พิมพ์ประเภท ต่างๆ ภาพพิมพ์แบ่งตาม วิธีทำาแม่พิมพ์ได้ 4 ประเภท คือ ภาพพิมพ์นูน ภาพพิมพ์ร่องลึก ภาพิมพ์พื้นราบ ภาพพิมพ์ ลายฉลุ
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 102. ผลงานภาพพิมพ์ ชือภาพพิมพ์ครั้งเดียว (Mono Print) ่ ผลงานของนางสาวมาลินี บุญมาเลิศ นิสิตชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัย มหาสารคาม พ.ศ.2544
  • 103. ประยุกต์ศิลป์ (Applied Arts)  ประยุกต์ศ่ิลป่์ (Applied Arts) หมายถึง ศิลปะ สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยเป็นสำาคัญ โดย คำานึงถึงความงามหรือสุนทรียศาสตร์ แบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ งานออกแบบภาชนะ เครื่องใช้ประจำาวัน งานออกแบบฉากละคร งานออกแบบเครื่องแต่ง กาย งานออกแบบภายใน งานอุตสาหกรรมศิลป์ ตลอดจนงานนิเทศศิลป์ ซึ่งจะแยกออกแบบภาพ โฆษณา การ์ตูน
  • 104. มัณฑนศิลป์ (DECORATION ART) เป็นการออกแบบภายในและภายนอกอาคาร การออกแบบเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย เพ่ื่่อผลทางสุ่นทร่ียภาพด่ึงดู่ดความ สนใจ และให่้ความสะดวกสบาย
  • 105. ่ั จจุ่ บ่ั นท่ี ่ ่ ม่ี ล่ั กษณะการใช่้ งานท่ี ่ ่ ได่้ ม่ี การป
  • 107.
  • 108.
  • 109. ช่ี ว่ิ ตส่ั งคมเม่ื องในป่ั จ
  • 110. พาณิชย์ศิลป์ (Commercial Art) เป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการค้า ที่มงจำาหน่ายสินค้า ุ่ โฆษณา การจัดแสดงตู้โชว์สินค้า(Window Display) ภาพโฆษณา ภาพการ์ตน การตกแต่งหน้าร้าน และ ู การถ่ายรูป
  • 111. การตกแต่่ งหน่้ าร่้ านขาย ส่ิ นค่้ าภายในห่้ างสรรพ ส่ิ นค่้ า
  • 112. การจ่ั ดตู่ ่ ้ โชว่์ หน่้ า
  • 114.
  • 115.
  • 117.
  • 118. ศิลปะหัตถกรรม (ART & CRAFTS)  เป็นศิลปะที่ทำาขึ้นด้วยมือ มุ่งความงาม ความ ประณีตและประโยชน์ใช้ สอย เป็นลักษณะของงานฝีมือ
  • 119. ่ นๆ เช่่ น บรรจุ่ ภ่ั ณฑ่์ ใส่่ ส่ิ นค
  • 120. กแบบเส่ื ่ ้ อผ่้ า Fashion
  • 122. นออกแบบGRAPHIC ่่ งพ่ิ มพ่์ ประเภพต่่ างๆ