SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  67
Introduction
Standing Committee Session
     President session
   The Standing Committee on Medical Education (SCOME)
   The Standing Committee on Professional Exchange
    And Research Exchange (SCOPE / SCORE)
   The Standing Committee on human Rights and Peace (SCORP)
   The Standing Committee on Reproductive Health
    including AIDS (SCORA)
   The Standing Committee on Public Health (SCOPH)


Training and Resources Development
   Group Dynamics/Exploring own leadership skills
   Presentation Skills
   Project management training
   Leadership
    Strategic Planning
Field Work
   Clownication
   Addiction to drugs
   Adolescent and mental health
   Hospice and Terminal care



                      ********************
The 5th IFMSA Asia Pacific Regional Meeting

       ปัจจุบันนี้สมาพันธ์นักศึกษาแพทย์นานาชาติ
(International Federation of Medical Students
Associations-IFMSA) มีนักศึกษาจากภูมิภาคต่าง ๆ รวม 5
ภูมิภาคทั่วโลกเข้าร่วมเป็นสมาชิก การจัดการประชุมในแต่ละ
ภูมิภาคมีจุดประสงค์หลักเพื่อเป็นการเปิดโอกาสในสมาชิกในแต่
ละภูมิภาคได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำางาน สร้าง
เสริมความสัมพันธ์ รวมถึงเรียนรูวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ
                                 ้
สำาหรับปี 2550 ได้มีการจัดประชุม APRM (Asia-Pacific Regional
Meeting) ขึ้นที่เมืองโอซากา ประเทศญี่ปุ่น โดยนับเป็นครั้งที่ 5
ของภูมิภาคนี้ ซึ่งหัวข้อ (theme) หลักของการประชุมครั้งนี้คือ
Mental Health กิจกรรมที่จัดขึ้นประกอบด้วย
     Work Shop
       ประกอบด้วยการจัดฟังคำาบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ
Mental Health ร่วมกับทำากิจกรรมในกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยน
ความเห็นของสมาชิกในแต่ละประเทศ
       การจัดบรรยายประกอบด้วย 2 หัวข้อ คือ
       1. “Mental health in Asia and the Pacific Region”
โดย Dr. Naotaka Shinfuku of Seinan Gakuin University เป็น
การให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันของ mental health
ในแต่ละประเทศ รวมถึงกฎหมายและมาตรการในการรับมือ
ปัญหาเหล่านี้ในประเทศต่าง ๆ จุดมุ่งหมายหลักคือเน้นในผู้ฟัง
ซึ่งก็คือนักศึกษาแพทย์เกิดความตื่นตัวและตระหนักถึงความ
สำาคัญของ mental health problem
2. “Stress and its Management among medical students
and doctors”
โดย Keiko Abe MA,RMN และ Dr. kazuhiko fujisaki of Gifu
University มีจุดประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ฟังได้มีโอกาสคิดถึง
ปัญหาและความเครียดที่ตนจะต้องเผชิญจากการทำางาน รวมถึง
ได้แลกเปลี่ยนแนวทางในการจัดการและแก้ไขปัญหาเหล่านั้น
     Standing Committee Session
       ประกอบด้วย SCORE
SCOME
       The Sanding Committee on Medical Education
       (SCOME) is a forum for active discussion for medical
students interested in developing medical education.
    Our overall goal is the implementation of an optimal
    learning environment for all medical students around
    the world.
SCOPE SCORE
    The Standing Committee on Professional Exchange
    (SCOPE) and Standing Committee on Research
    Exchange are the largest committee within IFMSA.
    More than 6000 students worldwide participate in our
    programme each year

SCORP
    The Standing Committee on human Rights and Peace
    (SCORP) deals with the problems faced by displaced
    people and participates in relief efforts. SCORP also
    works for the prevention of conflicts and human rights
    abuses.
SCORA
    The Standing Committee on Reproductive Health
    including AIDS (SCORA) aims to raise awareness
    among medical students about Reproductive Health
    including sexual education, gender equity, sexual
    violence, as well as Sexually Transmitted Infections.
SCOPH
    The Standing Committee on Public Health (SCOPH)
    emphasizes the importance of public health issues in
    medical education and the community. The promotion
    of a healthy lifestyle through the eradication of
    smoking, improvement in diet and increasing physical
    activity is our goal.

     โดยเป็นช่วงเวลาสำาหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวม
  ถึงประสบการณ์ทำางานของสมาชิกในแต่ละประเทศ เกี่ยวกับ
  session ที่ตนทำางานอยู่
   Training Session Training and Resources Development
เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมทักษะต่าง ๆ ทีจำาเป็นต่อการทำา
                                                ่
งาน ทังต่อ IFMSA และด้านอื่น ๆ โดยครังนี้ได้มีการจัดฝึกอบรม
       ้                                 ้
ทักษะในหลาย ๆ ด้าน อาทิเช่น Project management,
Leadership, Fund Raising, Conflict Resolution เป็นต้น
    Project Time
      กิจกรรมนี้มีเป้าหมายหลักคือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มี
ประสบการณ์ในการจัดการ “Project”ของตน โดยมี Project
Working Committee of IFMSA APRO (Asia-Pacific Regional
Office) เป็นผูให้คำาแนะนำา
              ้
    Field Work
      ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ Adolescent Mental Health,
Addiction of Drugs, Occupational Mental Health, Terminal
care and Hospice และ Clownication รูปแบบกิจกรรมแบ่งเป็น 2
ช่วง คือวันแรกเป็นการเชิญวิทยาการมาให้คำาบรรยายในแต่ละ
หัวข้อ วันต่อมาจึงเป็นการลงสถานที่จริง ซึงมีรายละเอียดแตก
                                           ่
ต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม
President session
Chartchai Savetsila         Ekkamol Phaibulvatanapong


               SCOME
Yada Manomaiphan            Maynart Sukharomana
Saetawu Lertlukpreecha      Satita Aimprasittichai


         SCOPE SCORE
Natdanai Punnanithi         Bhurinud Salakij
Chatsuda Mongkoltanatas


                SCORP
Patsaree Patanasuwana       Pennapa Kaweewongprasert


                SCORA
          Chutikarn Thaisriwong


                SCOPH
              Nitcha Wongtim
The session is about how to improve you to become
the officials by teach and give information about Asia
Pacific Regional Office (APRO), IFMSA and NMO
management, MSI and eVagus, IFHHRO , IFMSA
godfathering system, The IFMSA Constitution and Bylaws
and teach about problem analysis, strategic planning ,
fundriasing, motivation and how to adapt in your NMO.

What we learn in this session?
 1.how to solve the problem and improve our NMO by
 using SWOT analysis, fundraising, motivation ,
 recruitment and communicate with our university.
 2.the management system in IFMSA
เนื่องจากระบบการศึกษาของแพทย์ มีส่วนสำาคัญในการ
   กำาหนดคุณภาพของแพทย์ในอนาคต และเป็นตัวกำาหนด
   คุณภาพของการบริการทางการแพทย์ด้วยเช่นกัน แต่ละ
   ประเทศต่างมีระบบการศึกษาที่ค่อนข้างแตกต่างกันทำาให้
   คุณภาพที่แตกต่างกัน
      จุดประสงค์หลักสำาคัญของ SCOME มี 2 ประการหลักๆ คือ
1.การที่นักศึกษาแพทย์มีส่วนในการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการ
ศึกษาของสถาบันการศึกษาของตัวเอง
2.การจัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น Workshops , Seminar
โดยเน้นประโยชน์ให้เกิดแก่นักศึกษาแพทย์เพื่อให้มีทัศนะคติที่ดี
ในการเรียนแพทย์
      SCOME Session in APRM 2007
Facilitated by Maja Basnow ,IFMSA SCOME Director
               Fandi Ahmad ,SCOME-Regional Assistant of
SCOME

Day 1 (19/03/07, 18.00 – 21.00)
1.Introduction of SCOME
      แนะนำาให้สมาชิกใหม่ได้รู้จัก SCOME มากขึ้น ทั้งในระดับ
โลก ระดับเอเชียแปซิฟิก และกล่าวนำาโครงการร่วมระหว่าง
ประเทศที่กำาลังจะดำาเนินการในปี 2007 นี้
2.Country presentation / Activity report
      การนำาเสนอประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ระบบการศึกษา
ของแต่ละประเทศ และ กิจกรรมของ NMO-SCOME
ประเทศไทย
      นำาเสนอโดยนางสาวญาดา มโนมัยพันธุ์ , นางสาวเมนาท
สุขารมณ์
      สำาหรับประเทศไทยมีระบบการศึกษาที่แตกต่างกันไปใน
แต่ละสถาบันการศึกษา แต่ โดยรวมแล้วใช้เวลาเรียนทั้งหมด
เป็นเวลา 6 ปี โดยหลังจากจบปีที่ 6 นักศึกษาจะกระจายไปเป็น
แพทย์ตามจังหวัดต่างๆของประเทศไทย เพื่อเพิ่มพูนทักษะ และ
เป็นการชดใช้ทุนที่รัฐบาลสนับสนุนการเรียน
สำาหรับ SCOME ของประเทศไทย เริ่มจัดตั้งขึ้นได้ไม่นาน
มากนัก และมีจำานวน Active Members น้อยมาก และมีปัญหาใน
การขาดช่วงในการดำาเนินงานระหว่างปี
      ปัญหาสำาคัญที่ทำาให้ SCOME ไม่พัฒนาเท่าที่ควร เพราะ
สำาหรับประเทศไทยแล้วนอกจากที่แต่ละสถาบันจะมีระบบการ
ศึกษาที่แตกต่างกันแล้ว บทบาทของนักศึกษาแพทย์ไม่ได้มี
สิทธ์อย่างเต็มที่ในการเสนอเพื่อขอปรับปรุงทางด้านระบบการ
ศึกษา
ประเทศไต้หวัน
      ใช้ระบบ Problem-Based Learning (PBL) โดยใช้ระยะ
เวลาทั้งหมด 7 ปี ในการเรียนแพทย์ ซึง 2 ปีแรกเป็นเนื้อหา
                                        ่
General Intelligence
      สำาหรับ กิจกรรมของ SCOME ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมาก
และมีจำานวน active members ไม่มาก เนื่องจากระบบการศึกษา
ของประเทศไต้หวัน เหมือนกับประเทศไทยที่นักศึกษาไม่ได้มี
บทบาทในการวางระบบการศึกษา ในส่วนของกิจกรรมก็มีองค์
กรณ์อื่นที่จัดกิจกรรมเพื่อนักศึกษาอยู่แล้ว
      จากปัญหาดังกล่าว NMO-SCOME จึงแก้ปัญหาโดยในปีนี้
ได้วางแผนจัดกิจกรรมเพิ่มขึ้นโดยเป็นความร่วมมือระหว่าง
SCOME กับองค์กรเดิมที่จัดกิจกรรมอยู่แล้ว
ประเทศอินโดนีเซีย
      ในส่วนของระบบการศึกษา ระบบ Problem-Based
Learning (PBL) โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมด 6 ในการเรียนแพทย์
เป็นเนื้อหา General Intelligence เพียง 1 ปี
      ในด้านกิจกรรมของ NMO-SCOME ค่อนข้างมั่นคง มีจำานวน
Active Members ค่อนข้างมาก และมี กิจกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้น
ตลอดเวลา เช่น
   - Seminar “Medical Laws and Abortion Legality,2005”
   - Scientific Fair
   - Medical Curriculum Database เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
      ระบบการศึกษาของประเทศต่างๆ
   - Book Aids มีจุดประสงค์หลักๆ เพื่อช่วยเหลือนักศึกษา
      แพทย์ที่ประสบภัยธรรมชาติและมีปัญหาด้านเศรษฐกิจการ
      เงิน
      ปัญหาของประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากเปลี่ยนระบบการ
      ศึกษาเป็น PBL ได้ไม่นาน ยังอยู่ในช่วงทดลอง ทำาให้การ
จัดระบบยังไม่มั่นคง นักศึกษายังไม่สามารถปรับตัวกับ
       ระบบใหม่ได้
ประเทศญี่ปุ่น
       ในส่วนของ SCOME-Japan ยังไม่ได้จัดตั้งอย่างเป็นทางการ
จึงเรียกว่า Pre-COME การประชุมครั้งนี้จึงเป็นการสังเกตการณ์
เพื่อนำาไปพัฒนาต่อไป
สรุปปัญหาจากทุกประเทศ
       ปัญหาสำาคัญของประเทศในภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิก ทีมี   ่
ส่วนสำาคัญให้ SCOME มีจำานวนสมาชิกที่สนใจน้อย เพราะ
นักศึกษาแพทย์ไม่ได้มีบทบาทอย่างจริงจังในการมีส่วนแสดง
ความคิดเห็นในการวางระบบการศึกษา ซึงแตกต่างจากประเทศ
                                         ่
ทางตะวันตก ที่นักศึกษา สามารถเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรรมการ
วางแผนระบบการศึกษา ทำาให้ขอบข่ายการทำางานของ SCOME
จำากัดอยู่ในวงแคบ ส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงการจัดกิจกรรมแต่ละ
ครั้งจึงทำาได้ยากและมีผู้สนใจเข้าร่วมจำานวนไม่มากเท่าที่ควร

Day 2 (20/03/07, 15.30 – 18.00)
Small Working Group I : “How to plan a trans-NMO project”
      ในการวางแผนการจัดกิจกรรมต้องมีการวางแผนก่อนตาม
หัวข้อนี้
      Background     ความเป็นมาและแรงบันดาลใจในการคิด
กิจกรรม
      Goals          เป้าหมายของการจัดกิจกรรม
      Objective จุดประสงค์ของการจัดกิจกรรม
      Expected Outcome ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อจัดกิจกรรม



Small Working Group II : “Implementation and preparation
for Transnational Project”
     หลังจากวางโครงและเป้าหมายของกิจกรรมแล้ว ก่อนเริ่ม
ลงมือปฏิบัติให้วิเคราะห์ตาม หลัก SWOT-Analysis (Strategic
Planning)

Day 3 (21/03/07, 15.30 – 18.00)
Medical Education Issues Update
วิธีการเรียนรู้มีหลายแนวทางดังนี้
    1. PBL
    2. OSCE
    3. Portfolio
    4. Different types of short answer
    5. MCQ in a new perspective
Training : “How to advocate the stakeholder in improving
Medical Education in your faculty” ได้แนะนำาถึงวิธีการยืนข้อ
เสนอในการปรับปรุงระบบการศึกษารวมทั้ง facility ของแต่ละ
มหาลัย โดยให้ผู้เข้าร่วมประชุมแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ อภิปราย
ปัญหาร่วมกันแล้วเขียนโครงการ อธิบายรายละเอียดข้อเสียที่
ควรปรับปรุง พร้อมแนะนำาวิธีการแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุงสถาบัน
การศึกษาของแต่ละประเทศ

สรุป
       เนื่องจาก SCOME สำาหรับประเทศแถบเอเชีย เป็น session
ที่มจำานวนสมาชิกไม่มาก และมีข้อจำากัดในการจัดกิจกรรมใน
    ี
ด้านการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา ส่วนมากจึงเน้นการจัด
กิจกรรมเกี่ยวกับส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษาแพทย์แทน



ความคิดเห็นของนางสาวสาธิตา อิ่มประสิทธิชัย, นายสิขริณญ์
อุปะละ
        เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ Medical Education โดยที่ ไ ด้ มี ก ารนำา
เสนอถึ ง ลั ก ษณะรู ป แบบการเรี ย นแพทย์ ข องแต่ ล ะประเทศ
โครงการหรื อ กิ จ กรรมต่ า งๆที่ จั ด ขึ้ น ภายในสถาบั น การศึ ก ษา
ลั ก ษณะของการเรี ยนแพทย์ทั่ วโลก และมี ก ารระดมความคิด ใน
การเสนอโครงการใหม่ๆต่างๆที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาระบบการ
ศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง ยั ง มี
การวิเคราะห์ถึงข้อดี ข้อเสีย ของรูปแบบการเรียนการสอนในวิชา
ชีพแพทย์ลักษณะต่างๆเพื่อนำา ไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป ในการเข้า
ร่ ว มกิ จ กรรมครั้ ง นี้ ได้ มี ตั ว แทนของ IFMSA มาบรรยายเกี่ ย วกั บ
ด้า นนี้ โ ดยเฉพาะ เป็ น การเปิ ดมุ ม มองภาพรวมของการเรี ยนวิ ช า
ชีพแพทย์อีกด้วย
สิ่ ง ที่ ไ ด้รับ จากการเข้ าร่ ว มกิ จ กรรมครั้ ง นี้ เป็ น เรื่ อ งเกี่ ยวกั บ
โครงการกิ จ กรรมต่ า งๆที่ จั ด ขึ้ น เช่ น โครงการยื ม ตำา ราแพทย์
โครงการค่ า ยวิ จั ย เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การทำา วิ จั ย วิ ช าชี พ แพทย์
โครงการฝึกงานสำาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นพรีคลินิก เป็นต้น ส่วน
ในเรื่องของการแก้ไขหลักสูตรการเรียนการสอนนั้นสามารถทำา ได้
เพียงบางประเทศเท่านั้น โดยการแก้ไขหลักสูตรเพื่อเป็นการให้
เกิดประสิทธิภาพในการเรียนแพทย์มากที่สุด นอกจากนี้ลักษณะ
รูปแบบของการเรียนแพทย์ในประเทศแถบภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกก็
มีรู ปแบบที่ คล้ ายคลึ ง กัน ส่ ว นใหญ่ เ รี ย น 6 ถึง 7 ปี โดยแบ่ ง เป็ น
สามส่วนหลัก คือ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน พรีคลินิก และคลินิก ซึ่ง
ในการประชุ ม นั้ น ทำา ให้ ท ราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาวิ ช าชี พ
แพทย์ในมุมมองที่ต่างออกไปจากที่เคยได้รับมา
SCOME




    Group Presentation
  “Transnational Projects”                    Country Presentation
                                                  “Thailand”




Group Presentation “Medical           Maja Sidelmann Basnov
  Education & Problems”                   SCOME Director




                              “SCOMEdian”
กิจกรรมในส่วนของ SCOPE และ SCORE แบ่งเป็นทั้งหมด 3
    วัน โดยในวันแรกเป็นการแนะนำา session ทังสองแก่ผู้เข้าร่วม
                                                  ้
   ประชุม ซึงในส่วนของ SCOPE นั้นนำาเสนอโดย July Rahardja
              ่
      ตำาแหน่ง Regional assistant of Asia-Pacific จากประเทศ
 อินโดนีเซียและ SCORE นำาเสนอโดย Arnet (Guan-Rong Wu)
    ตำาแหน่ง LEO (Local Exchange Officer)จากประเทศไต้หวัน
 โดยนำาเสนอตั้งแต่ประวัติความเป็นมาของ standing committee
   โครงสร้างขององค์กรในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับ international
    ลงมาถึงระดับ local ขั้นตอนดำาเนินการในการแลกเปลี่ยน เริ่ม
 ตั้งแต่การทำาสัญญาระหว่างประทศที่จะแลกเปลี่ยนนักเรียนกันที่
   การประชุม IFMSA ในเดือนสิงหาคม การคัดเลือกนักเรียน การ
   โอนเงิน การแลกเปลี่ยนข้อมูล CA (Card of Acceptance)และ
   CC (Card of Confirmation) แผนการดำาเนินงานประจำาปี และ
                    การสรุปผลงานในปีที่ผ่านมา
Thailand
        นำา เสนอโดย นศพ.ณั ฐ ดนั ย ปุ ณ ณะนิ ธิ ตำา แหน่ ง NEO
(National Exchange Officer)โ ด ย ใ น ปี นี้ มี ก า ร ทำา สั ญ ญ า 49
bilateral contracts 5 unilateral contracts แ ล ะ LC (Local
Committee) ที่ เ ข้ า ร่ ว มมี ทั้ ง หมด 7 สถาบั น กิ จ กรรมประจำา ปี
ประกอบด้วย Open your eyes with international relation club,
july party สำาหรับนักเรียนแลกเปลี่ยน
Indonesia
        นำา เสน อโ ดย Elizabeth Niken Sasanti ตำา แ หน่ ง LORE
โดยกิจกรรมประจำา ปีประกอบด้วย Welcome party, Talk show ,
Medical box office(fundraise) Advance LORE training,
Annual re meeting แ ล ะ ใ น ส่ ว น ข อ ง SCOPE Indonesia นำา
เสนอโดย Oen Budi Gunawan ตำา แหน่ ง LEO โดยในปี นี้ มี ก าร
ทำา สัญญา 75 contracts และ LC ที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 10 สถาบัน
กิ จ กรรมประจำา ปี ป ระกอบด้ ว ย Summer school 2007 provides
students information to deal with disaster
Taiwan
        นำาเสนอโดย Arnet (Guan-Rong Wu) ตำาแหน่ง LEO
LC ที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 10 สถาบัน นักเรียนแลกเปลี่ยน 43
outgoing and 42 incoming
76 newly updated and confirmed projects กิจกรรมประจำาปี
ประกอบด้วย SCORE webpage constructing in Chinese and
English version : provide useful information,United social
program : SCOPE and SCORE in Mid- Jul and Mid-Aug ใน
ส่วนของ SCOPE-Taiwan นำาเสนอโดย Hebe (Yu Yu Chou) มี
นักเรียนแลกเปลี่ยน 80 outgoing & 96 incoming และ LC ที่
เข้าร่วมมีทั้งหมด 13 สถาบัน
 Japan
       นำาเสนอโดย Michiko Fujieda ตำาแหน่ง NORE (National
officer of Research exchange)โดยในปีที่ผ่านมีโครงการวิจัย
ทั้งหมด 98 projects : preclinical and clinical <with or
without lab work> กิจกรรมประจำาปีประกอบด้วย LTP
<LEO/LORE training program> in Mar&Oct
       นอกจากนั้นในช่วงสุดท้ายของวันยังมีกิจกรรมสัมมนากลุ่ม
ย่อยตามหัวข้อดังต่อไปนี้
1.Fund raising ดำาเนินการสัมมนาโดย Oen Budi Gunawan
2.Improving academic quality ดำาเนินการสัมมนาโดย นศพ.
ณัฐดนัย ปุณณะนิธิ
3.Regional project ดำาเนินการสัมมนาโดย Michiko Fujieda และ
นศพ.ภูรินุช ศาลากิจ ตำาแหน่ง
   LCC (Local committee coordinator)
4.Strengthen SCORE & SCOPE ดำาเนินการสัมมนาโดย
Charlene (Chau Yee Ng) ตำาแหน่ง LORE
5. Project research & maintaining ดำาเนินการสัมมนาโดย
Arnet (Guan-Rong Wu)
       ในวันที่ 2 มีการจัดอบรมในหัวข้อ Motivation โดย Louise
Hammer Pettersen ตำาแหน่ง Training director โดยมีจุด
ประสงค์เพื่อผู้เข้าร่วมประชุมได้ค้นหาสิ่งที่เป็นแรงจูงใจของตนใน
การที่จะทำาสิ่งต่างๆให้ประสบความสำาเร็จ
       และในวันสุดท้ายเป็นการนำาเสนอผลงานของกลุ่มสัมมนา
ย่อยทั้ง 5 กลุมโดยมีเนื้อหาดังนี้
                ่

 Group1 How to strengthen our SCOPE & SCORE +
face problems
1. publicity of SCOPE&SCORE
        - Indonesia : posters
        - Japan : homepage
        - Taiwan : lectures
  2. total exchangers per year is considered to be low
        - Indonesia : 5-6 ppl/school
        - Japan : 2-3 ppl/school
        - Taiwan : 10 ppl/school
  3. how to increase the interest in exchanges between
     Asian region’s countries
        - tourist attraction
        - publicity
        - cooperate with international companies
        - the sharing experience by previous exchanges
        - through e-mail/website
        - modifying project’s content
 Group2 SCORE How to find new & maintain old
Maintain project                                 Find new
                             Fund raising

Multicenter research <international>
make activity to invite professors
- Let the students who have joint the exchanging        -
make questionnaire to ask
Program to promote the program to attract
medical students about
the new comers
research and professor
- keep good relationship with the professors        -
recommendation by officials
- guarantee the exchanging students so that          -
make good relation with
professors don’t have to worry about their lives
professor
- sign the copyright contract with professors       -
provide new ideas to professor
- recommendation by official                           - make
new activities and ask
- make questionnaire to ask medical students
professor to join
about research & professor
- provide new idea to professor
- make new activities and ask professors to join
- contact person to take care of the lives of
The exchange students
Group3 Academic qualities
Database
   1. research exchange academic information
   2. method e.g. paper research data each NMO builds up
      group to collect academic information from exchanged
      students and universities, and public all the data
      online, all the members can use it for free&all the
      users can improve it < like Wikipedia> by suggesting
      some ideas
Discussing among universities
   1. reason : now there are few opportunities for
       universities to communicate with each other & they
       persist in their own way of teaching and learning
       according to their own universities
   2. methods: Japan is a very conservative country
       ,particularly in medical world. But, like IFMSA
       students have the right to say freely, compared to
       doctors. So,we can choose the representatives of
       universities & hold the conference by students.It can
       change the situation
 Professor exchange
     1. reason : teacher in each country has knowledge
& methods about how to set up the curriculum and good
environment. We can improve
the education system
     2. methods : find suitable teacher who’s willing to
participate from every universities in every countries &
connect with other countries by the help of IFMSA, then
exchange professor. After coming back, the professor has
to write the evaluation form about the difference and
advantages, also how we can adapt & make it practical in
our country
Group4 Fund raising
Definition: find sponsors to support SCOPE & SCORE
activities not only money but other things e.g.
advertisement,food,etc.
Taiwan : cooperation between medical student & the
company advertisement
Thailand : Drugs&equipment company
              Health promoting campaign from government
STEPS
     1. budget identification
     2. source
     3. approach the sponsors
     4. present our project details
     5. negotiation
     6. sign contract
     7. follow up
Problems
      1. companies don’t have money
      solution: make a phone call,face to face meeting or
find someone related to this company
      2. oompanies in recessions
   solution : ask for materials orfind other companies

  Group 5 Regional project
Goal :    1. strengthen relationship
     2.exchange culture
     3. broaden view
     4. promote world peace
How to improve relationship
        - keep connection online
        - exhibition about culture
-  talk to each other
       -  make the traditional food and eat
       -  quiz about culture
       -  exchange knowledge and experience about
          violence ,war or disasters
Summary : We want to make an “ACTIVE” Yahoogroup and
if we grow strong enough , we want to set yup a summer
school and make some training programs
ได้จัดการประชุมในช่วงเวลา 3 วันสามวันของการประชุม
APRM ซึ่งมีตารางกิจกรรมดังต่อไปนี้
วันที่ 1 : 19 มีนาคม 2550
     ช่วงที่ 1 แนะนำาสมาชิกเกี่ยวกับ SCORP/ SCORP Asia-
       Pacific
       Standing Committee on human rights and peace
(SCORP) เป็นคณะกรรมการที่มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิด
ความเท่าเทียมกันของสิทธิของมนุษยชน ทั้งทางด้านสังคม สุข
ภาพ และเศรษฐกิจ โดยมีกลุมเป้าหมายสำาคัญคือผู้ที่ด้อย
                             ่
โอกาสทางสังคม และผู้ลี้ภัย นอกจากนี้ยังเน้นในด้านการมีส่วน
ร่วมในการรณรงค์ให้เเกิดสันติภาพขึ้นในโลก
     ช่วงที่ 2 เป็นการนำาเสนอกิจกรรมที่ SCORP ทีทำาโดยแต่
                                                   ่
       ละประเทศ ภายในปี 2006 โดยมีประเทศเข้าร่วมทั้งหมด 4
       ประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย ไต้หวัน และไทย
อินโดนีเซีย :
       มีโครงการทังหมด 3 โครงการ คือ
                    ้
       1. Medicare Action in Tsunami ACEH
       2. Medicare Action in flood disaster Jember
       3. Medicare Action in Earthquake disaster in Jogja
          โดยทังสามโครงการเน้นไปทางการให้ความช่วยเหลือ
                ้
    ทางด้านการแพทย์แก่ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติซึ่งเป็นปัญหา
    สำาคัญของประเทศอินโดนีเซีย เช่น สึนามิ นำ้าท่วม และแผ่น
    ดินไหว ผ่านทางการจัดกิจกรรมให้ความรู้ทั้งทางด้านสุขภาพ
    และจิตใจ ซึ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาในเด็ก พร้อมกันนี้ยงได้จัด
                                                        ั
    เตรียมสาธารณูปโภคไปให้แก่ผู้ประสบภัยด้วย
ไต้หวัน :
       มีโครงการทังหมด 2 โครงการ คือ
                      ้
       1. Get in to Blind’s shoes เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อ
ให้นักศึกษาแพทย์ได้ตระหนักถึงความรู้สึกของคนตาบอด ผ่าน
กิจกรรมที่สนุกสนาน
       2. Christmas at Pediatric ward เป็นโครงการที่จัดขึ้น
เพื่อให้ความสุขแก่เด็ก ๆ ทีพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลในวัน
คริสต์มาส โดยมีกิจกรรมหลากหลาย เช่น เล่มเกมส์ เล่นดนตรี
ร้องเพลงให้กับเด็ก ๆ
ญี่ปุ่น :
       มีโครงการอยู่หลายโครงการ แต่โครงการที่สำาคัญ
โครงการหนึ่งคือ Hiroshima Summer School ซึ่งเป็นโครงการ
ที่จัดขึ้นเพื่อให้คนรุ่นหลังตระหนักถึงผลกระทบของสงคราม โดย
เป็นการเรียนรู้จากเหตุการณ์ในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึง  ่
Hiroshima เป็นหนึงในสองจังหวัดของญี่ปุ่นที่ถูกระเบิดปรมาณู
                     ่
ไทย :
    ได้แก่โครงการ Health as human rights ซึ่งเป็นโครงการที่
เกิดขึ้นจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานของ IFMSA-Thailand
ได้แก่ SCOPH SCORA และ SCORP โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือผู้ที่
ด้อยโอกาสทางสังคม โดยจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
เป็นหลัก โดยเน้นทั้งทางด้านการให้การรักษาโรคเบื้องต้น และ
การให้ความรู้เพื่อป้องกันโรค ทังนี้มีนักศึกษาแพทย์ และแพทย์
                                ้
เข้าร่วมโครงการเป็นจำานวนประมาณ 150 คน และมีประชาชนใน
ชุมชนเข้าร่วมประมาณ 110 คน
     ช่วงที่ 3 Farid Abdul Hadi ซึ่งเป็น IFMSA Regional
       Coordinator for Asia-Pacific 2006-2007 ได้เน้นถึง
       ความสำาคัญของปัญหาสิทธิมนุษยชนภายในภูมิภาคเอเชีย
       แปซิฟิค พร้อมทั้งสนับสนุนประเทศสมาชิกให้ริเริ่ม
       โครงการใหม่ ๆ มากขึ้น

วันที่ 2 : 20 มีนาคม 2550
    MDGs in Asia-Pacific region and reflections from
       SCORP Asia-Pacific

    ในช่วงนี้ Project Time Coordinator: Taketo Tanaka
ได้กล่าวแนะนำาเกี่ยวกับ MDGs (Millennium Development
Goals) ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำาหนดขึ้นโดย United Nations (UN)
เพื่อการพัฒนาของแต่ละประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค โดย
ให้ความสำาคัญแก่ปัญหาในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น ปัญหาความยาก
จน การขาดอาหาร ปัญหาโรคระบาด ทีอยู่อาศัย และสิ่งแวดล้อม
                                      ่
เป็นต้น โดยมุ่งหวังว่าเป้าหมายดังกล่าวจะสำาเร็จลุล่วงได้ภายในปี
2015

  MDGs ประกอบด้วยเป้าหมาย 8 ประการ คือ
Goal 1 - Eradicate extreme poverty and hunger
Goal 2 - Achieve universal primary education
Goal 3 - Promote gender equality and empower women
Goal 4 - Reduce child mortality
Goal 5 - Improve maternal health
Goal 6 - Combat HIV/AIDS, malaria and other diseases
Goal 7 - Ensure environmental sustainability
Goal 8 – Develop a global partnership for development

วันที่ 3 : 21 มีนาคม 2550
    ช่วงที่ 1 : Small working group : How to support the
       achievement of MDGs as SCORPions?
       เป็นการแบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อยทั้งหมดจำานวน 7
   กลุ่ม โดยให้ภายในกลุ่มรวบรวมความคิดจากแต่ละประเทศ
   เพื่อสร้างโครงการ (Project ) ขึ้นตามเป้าหมายของแต่ละหัว
   ข้อของ MDGs หลังจากนั้นจึงนำามาเสนอและอภิปรายร่วมกัน
    ช่วงที่ 2 : Setting plan of action for each country
       สมาชิกแต่ละประเทศร่วมกันระดมความคิดเพื่อสร้าง
โครงการ (Project) ทีตรงตามเป้าหมายที่เป็นปัญหาสำาคัญภาย
                       ่
ในประเทศ พร้อมทังนำาเสนอแก่เพื่อนประเทศสมาชิก
                   ้

      จากการเข้าร่วม Session SCORP นี้ ทำาให้ได้ทราบถึง
สถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนปัจจุบันของแต่ละประเทศ
รวมถึงการดำาเนินงานของ SCORPions จากประเทศอื่น ๆ นอก
จากนี้ยังได้ตระหนักถึงปัญหาทางด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นภาย
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค พร้อมทั้งได้เรียนรู้ถึงการมีส่วนร่วมต่อ
ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะขั้นตอนการริเริ่มสร้างโครงการใหม่ ๆ
รวมถึงการจัดการบริหาร ทังด้านการหาเงินทุน และการจัดการ
                         ้
งบประมาณ เป็นต้น

ข้อเสนอแนะและปรับปรุง
        โดยรวมแล้วกิจกรรมดำาเนินไปด้วยดี อย่างไรก็ตาม น่าจะมี
การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมประชุมให้มาก
ยิ่งขึ้น ทังนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
           ้
ระหว่างประเทศต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
SCORP
กิจกรรม SCORP ของประเทศอินโดนิเซีย




กิจกรรม SCORP ของประเทศไต้หวัน




            กิจกรรม SCORP ของประเทศญี่ปุ่น
กิจกรรม SCORP ของประเทศไทย
Health as human right Project
SCORA session เป็น 1 ใน 6 session ของสมาพันธ์
นักศึกษาแพทย์นานาชาติ (IFMSA) ทีจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุ
                                    ่
ประสงค์เพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใน
ด้าน reproductive health และเฝ้าระวังปัญหาโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเอดส์ ซึ่งถือว่าเป็นปัญหา
ทางสาธารณสุขที่สำาคัญในระดับโลก นอกเหนือไปจากการจัด
กิจกรรมภายในประเทศแล้ว ในการประชุมนี้ยังเปิดโอกาสให้ตัว
แทนจากแต่ละประเทศนำาเสนอผลงานประจำาปี มีการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างสมาชิกจากต่างประเทศ และนำาไปสู่การนำา
รูปแบบการจัดกิจกรรมของประเทศอื่น ไปปรับใช้ในประเทศของ
ตนเอง ตลอดจนมีการริเริ่มโครงการในอนาคตสืบต่อไป
      กิจกรรมที่จัดขึ้นภายใน SCORA session ได้แก่
Day 1 (19 March ,2007)
ช่วงแรก Introduction
    กิจกรรม Ice breaking และแนะนำาสมาชิกจากแต่ละประเทศ
    การแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อให้สมาชิกร่วมกันร่างข้อตกลงเกี่ยว
      กับข้อควรปฏิบัติขณะทำากิจกรรมอยู่ใน session รวมถึงสิ่ง
      ที่คาดหวังจากการเข้าร่วม session
    Vienna Rossimarina (Regional Assistant of SCORA )
      แนะนำา SCORA Asia Pacific
ช่วงที่สอง Presentation
    ตัวแทนจากแต่ละประเทศนำาเสนอผลงานประจำาปี 2006
ประเทศไทย
    - International Condom Exhibition (ICE)
เป็นการจัดนิทรรศการให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับสถานการณ์
เอดส์ในปัจจุบัน และจัดสาธิตเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อ
ป้องกันการติดโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
    - Peer education
เป็นการจัดอบรมนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยให้มีความรู้เกี่ยวกับ
เพศศึกษา และนำาความรู้นั้นไปเผยแพร่แก่นักเรียนระดับมัธยม
ศึกษาตอนปลายตามโรงเรียนต่างๆ
     - AIDS film festival
จัดการฉายภาพยนตร์เรื่อง Philadelphia ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
อยู่รวมกันในสังคมระหว่างคนปกติและผู้ติดเชื้อเอดส์
      ่
     - AIDS concert
จัดการประกวดวงดนตรี และเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
     - Health as a Human Right project (a project
          with SCORP and SCOPH)
กิจกรรมออกตรวจสุขภาพชุมชน และจัดนิทรรศการให้ความรู้
เกี่ยวกับโรคที่เป็นปัญหาสำาคัญทางสาธารณสุข โรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะโรคเอดส์ การวางแผนครอบครัว จัด
สาธิตการแปรงฟัน การใส่ถุงยางอนามัย และการแพทย์แผนไทย
ประเทศอินโดนีเซีย
     - Health campaign for teenagers by Islamic
          relief-CIMSA
รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในด้านต่างๆ รวมถึงการให้ความรู้เกี่ยวกับ
เพศศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นมุสลิม
     - World AIDS Day’s activities
     - Preventive HIV/AIDS for earthquake victims
จัดการอบรมความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันและเฝ้าระวัง
ปัญหาโรคเอดส์ในกลุ่มผู้ประสบภัยธรรมชาติ
ประเทศญี่ปุ่น
        - Peer education in high school students
การจัดอบรมความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา และรักในวัยเรียนในกลุ่ม
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
     - Exchange cigarettes for a condom on the
     street (a project with SCOPH)
โครงการนำาบุหรี่มาแลกถุงยางอนามัย
 Day 2 (20 March ,2007)
ช่วงแรก Coordinating session with SCOPH
     กิจกรรม Ice breaking
     Small group discussion on “ TB&HIV situation in each
         country”
             ประเทศไทย
- สาเหตุหลักของการติดเชื้อเอดส์มาจากทางเพศสัมพันธ์
โดยมาในรูปแบบของการค้าบริการทางเพศทั้งแบบโดยตรงและ
แอบแฝง รวมถึงการเพิ่มจำานวนของชายรักร่วมเพศ
         ประเทศอินโดนีเซีย
    - มีอุบัติการณ์เกิดโรควัณโรคในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์สูงเป็น
      อันดับสามของโลก
    - 70% ของผู้ติดเชื้อเอดส์มีสาเหตุมาจากการใช้ยาเสพติด
      ชนิดฉีดเข้าเส้น
         ประเทศญี่ปุ่น
     - มีการเพิ่มจำานวนของประชากรผู้ติดเชื้อเอดส์ ในขณะที่
จำานวนผู้เป็นวัณโรคยังไม่สูงมากนัก
     - รัฐบาลจัดบริการ HIV screening ให้แก่ประชาชนโดย
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ช่วงที่สอง Specific issues discussion of SCORA in
small working group
    HIV&TB
    Peer education +Having sex before marriage
    Female cervical cancer
Day 3 (21 March ,2007)
    กิจกรรม Ice breaking
    Presentation about next activities in each country
         ประเทศไทย
    - ขยายผลกิจกรรม Peer education
    - AIDS tour เป็นการจัดทัศนศึกษาและหารายได้สมทบทุน
      กองทุนวัดพระบาทนำ้าพุ
    - Anti-TB project เป็นการจัดรณรงค์ให้ความรู้ และ/หรือ
      นิทรรศการเกี่ยวกับวัณโรคและโรคเอดส์
         ประเทศอินโดนีเซีย
    - HIV-TB transnational project
    - Peer education in outreach people
    - Contraceptive screening in outreach people
    - Exhibition about reproductive health
         ประเทศญี่ปุ่น
    - สร้างเวปไซด์เพื่อรวบรวมเนื้อหาและกิจกรรมเกี่ยวกับการ
      ป้องกันโรคเอดส์
    - ขยายผลกิจกรรม Peer education
- Training program
   - Summer school (study tour)

สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วม SCORA session
    - เป็นการสร้าง connection ของนักศึกษาแพทย์ผู้ทำา
        กิจกรรมในด้าน reproductive health ในแต่ละประเทศ
    - เรียนรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในแต่ละประเทศที่มี
        ส่วนกำาหนดนโยบายสาธารณสุขเกี่ยวกับด้านการให้ความรู้
        การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    - แลกเปลียนประสบการณ์ทำางาน และความคิดเห็นเกี่ยวกับ
                 ่
        ปัญหาทางสาธารณสุขในด้าน reproductive health ใน
        แต่ละประเทศสมาชิก
    - นำาแนวคิดหรือรูปแบบการทำากิจกรรมของประเทศสมาชิก
        ไปปรับใช้ในการทำากิจกรรมของประเทศไทยต่อไป
สิ่งที่ควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะ
    - การจั ด สรรเวลาสำา หรั บ กิ จ กรรมในแต่ ล ะช่ ว งยั ง ไม่ ค่ อ ย
        เหมาะสม บางครั้งปล่อยให้ประชุมแสดงความคิดเห็นภาย
        ในกลุ่มย่อยนานเกินไป ทำาให้เหลือเวลาน้อยสำาหรับการนำา
        เสนอข้อสรุปในวงประชุมใหญ่ จึงควรจัดสรรเวลาให้เหมาะ
        สมกว่านี้
    - กิ จ กรรม Ice breaking ยั ง ช่ ว ยให้ เ กิ ด การสานสั ม พั น ธ์
        ระหว่ า งสมาชิ ก จากแต่ ล ะประเทศได้ ไ ม่ ดี นั ก อี ก ทั้ ง รู ป
        แบบการทำา กิจ กรรมมั ก จะเน้ น การประชุ ม เป็ น ประเทศ ทำา
        ให้ไม่ค่อยสนิทกับสมาชิกจากประเทศอื่นเท่าที่ควร
SCORA



                                ร่างข้อควรปฎิบัติขณะอยู่ใน
                                session ร่วมกัน




โปสเตอร์แสดงผลงาน
ของแต่ละประเทศ




  Project
  presentation


                                      SCORA-SCOPH coordinating session


                 Next project
Agenda
Day1 : Welcome to SCOPH (3 Hours)
18.00-18.20 :: Ice-Breaking เป็นกิจกรรมแนะนำาตัว ให้สมาชิก
ตื่นตัว
18.20-18.40 :: Welcome briefing from the Regional
Assistant-SCOPH
                (Kevin)
18.40-19.50 :: Presentations from each NMOs”
19.50-20.00 :: Coffee Break
20.00-21.00 :: Some of the most critical health issues in
Asia-Pacific?

วันแรกเป็นการแนะนำาเกี่ยวกับ SCOPH และให้แนะนำาตัวทำาความ
รู้จักกัน
โดยวิทยากร คือ Aamir Abbas (Regional Coordinator for Asia
Pacific for Public Health) และ Kevin (Regional Assistant of
SCOPH) โดยสมาชิก SCOPH ซึ่งเรียกกันในนามของ SCOPHians
นั้น ร่วมเข้าฟังการบรรยายแนะนำา และรายงาน project ต่างๆ
ที่SCOPH จัดขึ้น และยังมีการนำาเสนอ project ของแต่ละประเทศ
ซึ่งประเทศไทยก็ได้นำาเสนอ project ทีนักศึกษาแพทย์ศิริราช
                                         ่
ชั้นปีที่3 ออกชุมชน และตอนท้ายของ session ก็มีการอภิปราย
เรื่องปัญหาสุขภาพของประชากรในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก
สิ่งที่ได้รบ :: มีความรู้เกี่ยวกับ SCOPH มากขึ้น และได้รู้ถึงปัญหา
           ั
สุขภาพของคนในกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิกทั้งจากที่อภิปราย
และจากการนำาเสนอโครงงานของแต่ละประเทศ ซึ่งได้ประโยชน์
และจะนำามาซึ่งแนวคิดที่จะทำาโครงงานใหม่ๆต่อไป

Day2 :
15.30-15.50 :: The Name Game
15.50-16.30 :: TB/AIDS session (SCOPH-SCORA joint
session)
16.30-17.10 :: Small Working Group formation and
presentation
17.10-18.00 :: Small Working Groups Discussion

ช่วงแรกของ session จะเป็น session ร่วมกันกับ SCORA
เพื่อ discuss กันเรื่องของโรค เอดส์ และวัณโรค ว่ามีความเกี่ยว
ข้องกันอย่างไรในแต่ละประเทศในกลุ่มเอเชีย แปซิฟิก ซึ่งก็จะ
แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ(Small Working Groups:SWGs) ให้แต่ละ
กลุ่มมีสมาชิกหลากหลายประเทศคละกันไป หลังจากนั้น
เป็น session SCOPH เหมือนปกติ โดยวันนี้มีการแบ่งเป็น SWGs
ทั้งหมดสามกลุ่ม เพื่อศึกษาในสามหัวข้อ คือ

Disaster management
Anti-tobacco
Maternal and child health
โดยให้ออกแบบโครงงานว่าจะแก้ปัญหาในสามหัวข้อนี้อย่างไร
โดยแบ่งเป็นวัตถุประสงค์โครงงาน เป้าหมาย วิธีปฏิบัติ และงบ
ประมาณที่ต้องใช้
สิ่งที่ได้รบ :: ข้าพเจ้าได้เลือกหัวข้อ Anti-tobacco เพราะว่าเคย
           ั
ได้มีส่วนร่วมของโครงการนี้มาก่อนแล้ว ประโยชน์ที่ได้ก็คือ ได้
ความคิดของคนในกลุ่มว่ามีความคิดเห็นอย่างไร ซึ่งบางความคิด
เป็นมุมมองที่ข้าพเจ้ามองไม่เห็น ทำาให้เปิดโลกทัศน์ของตัวเอง
ให้กว้างขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการฝึกทำางานกลุ่ม และได้ความรู้
เกี่ยวกับสถิติการสูบบุหรี่ของประชากรในแต่ละประเทศในภูมิภาคนี้
อีกด้วย

Day3 :
15.30-15.40 :: Game
15.40-16.20 :: Obesity session
16.30-17.15 :: SWGs session
17.15-17.45 :: Suggestions to make SCOPH more effective
in the region
17.45-18.00 :: Evaluation and SCOPH picture

สิ่งที่ได้รบ :: ช่วงแรก Kevin วิทยากร ก็ได้นำาเสนอถึงปัญหาโรค
           ั
อ้วนซึ่งเป็นปัญหาที่สำาคัญมากในสังคมปัจจุบัน และประเทศ
อินโดนีเซียก็ได้มีโครงงานมานำาเสนอเกี่ยวกับเรื่องนี้ ทำาให้ได้
ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนมากขึ้น เพื่อจะได้นำาไปเผยแพร่โดยการ
สร้างโครงการรณรงค์การป้องกันโรคอ้วน ในประเทศไทย
ต่อมาก็มีการแบ่ง SWGs ต่อจากเมื่อวานนี้ และนำาเสนอโครงงาน
ของแต่ละกลุ่มย่อย และตอนสุดท้ายก็มีการวิเคราะห์กันว่าความ
รูที่ได้รับในการประชุมครั้งนี้ จะนำาไปทำาอย่างไรเพื่อพัฒนา
  ้
ประเทศของตน

ข้อคิดเห็น :: มีปัญหาเรื่องภาษาในบางคน ทำาให้การสื่อสารเป็น
ไปด้วยความยากลำาบาก แต่ก็มีการแก้ปัญหาด้วยการ
เปิด dictionary ควบคู่กันไป รวมถึงการใช้ภาษาท่าทางต่างๆ
Group Dynamics/Exploring own
      Leadership skills
           Chatsuda Mongkoltanatas


          Presentation Skills
  Chutikarn Thaisriwong        Patsaree Patanasuwana


  Project management training
              Nattagan     Tanwong


               Leadership
  Bhurinud Salakij             Nitcha Wongtim
  Saetawu Lertlukpreecha       Satita Aimprasittichai
  Sikarin Upala


          Strategic Planning
  Yada Manomaiphan             Pennapa Kaweewongprasert
  Maynart Sukharomana          Natdanai Punnanithi
  Ekkamol Phaibulvatanapong    Chartchai Savetsila
กิจกรรมมี 1 วัน คือ วันที่ 19 มีนาคม 2550 เวลา 9.00 -11.00 น. มี
Trainer ชื่อ Zuzka
เวลา 9.00-9.15 น. Introducing game
      เริ่มแรกให้มีการจับคู่กับเพื่อนที่ไม่เคยคุยกันแล้วแนะนำาตนเอง
ให้อีกคนฟัง จากนั้นทุกคนก็มายืนเรียงกันเป็นวงกลมแล้วให้แต่ละ
คนแนะนำา partner ของตนเองสลับกันไปจนครบ
เวลา 9.15-10.00 น. Interactive lecture of Team
       มีการสอนของ trainer ซึ่งจะมีการให้แสดงความคิดเห็นและ
brainstorm อยู่ตลอด ทำาให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมและรู้สึกสนุกไปกับบท
เรียน เป็นการทำาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ทำาให้เข้าใจความหมายของ
TEAM ซึ่งก็คือ Together Everyone Achieve More และ
characteristic ของมันก็คือ จะต้องมีเป้าหมาย(goal) ,มีจำานวนคน
(สมาชิก ) มากกว่า 1,มี structure,position,interaction, และ
cohesiveness ตระหนักถึงสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ teamwork คือ การ
recognize และ respect ความแตกต่างของแต่ละคนที่ทำางานด้วย
นอกจากนี้ก็คือ จะต้องให้ความเชื่อใจและไว้วางใจแก่ทุกๆคนที่เรา
ได้ร่วมงานด้วย ทำาให้ทราบถึงข้อเสียของการทำางานเป็นทีม ได้แก่
สิ้นเปลืองเวลา,ความรับผิดชอบไม่เท่ากัน,การที่มีความคิดเห็นต่าง
กันอาจนำาไปสู่ความขัดแย้ง,ต้องมีการเสียสละเวลาว่างเพื่อมาทำา
งานให้แก่ทีม,ปัญหาทางด้านการติดต่อสือสาร เช่น language
                                            ่
barrier, cultural difference และรู้ว่าองค์ประกอบของการทำางาน
เป็นทีมต้องประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีบทบาทต่างๆกันดังนี้ 1.leader
2. members 3.activists 4.passive นอกเหนือไปจากนี้ยังทำาให้
เข้าใจวิธีการสร้างความเป็นทีม (teambuilding) โดยการที่จะรวบ
รวมคนจำานวนหนึ่งให้เป็น group แล้วเปลี่ยนแปลงให้เป็นทีม ได้
จะต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันโดยมีกิจกรรมทำาร่วมกัน มี
การพบปะพูดคุยกันใน social gathering ต่างๆ ได้แก่ Regular
meeting, Christmas party, Dinner/Coffee, Music concert/club
ฯลฯ
เวลา 10.00-10.10 น. Break
เวลา 10.10-10.30 น. Game
     แบ่งผู้เข้าร่วมออกเป็น 3 กลุมใหญ่ โดยให้สมาชิกทุกคนยืน
                                    ่
บนแผ่นกระดาษแผ่นใหญ่ที่มีรูปคนไข้วาดอยู่ทั้ง 2 ด้าน ด้านที่เริ่ม
ต้นเป็นภาพที่คนไข้มาหาหมอคือมีการได้รับบาดเจ็บมายังห้อง
ฉุกเฉิน สิ่งที่ต้องทำาคือช่วยกันรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้หายซึ่งก็คือ
พลิกกระดาษไปยังอีกด้านหนึ่งที่มีรูปหน้าคนไข้ยิ้มแสดงถึงการหาย
จากการบาดเจ็บให้ได้ โดยเท้าของสมาชิกในกลุ่มห้ามแตะพื้น
และแต่ละกลุ่มจะมีผู้สังเกตการณ์ 1 คนคอยดูอยู่ห่างๆ เมื่อทุกกลุ่ม
สามารถพลิกกลับได้แล้วก็จะมีการประเมินความเสียหายของกระดาษ
และขอคำาวิจารณ์การทำางานของแต่ละกลุ่มจากผู้สังเกตการณ์ว่ามี
การทำางานเป็นทีมหรือไม่ ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร
เวลา 10.30-11.00 น. Interactive lecture of Leadership
       มีการ lecture ลักษณะเช่นเดียวกับในตอนต้น เรื่อง ผู้นำา ทัง้
ความสำาคัญของตำาแหน่งนี้ที่จำาเป็นต่อการทำางานเป็นทีม และ
คุณสมบัติของผู้นำาที่ดี ทำาให้ทราบถึงคุณสมบัติสำาคัญที่ leader จำา
เป็นต้องมี เช่น มีความรับผิดชอบสูง กระตือรือร้น มั่นใจในตนเอง
ยืดหยุ่นได้ มีวินย มีวิสัยทัศน์ มีความอดทน ฯลฯ เพื่อทำาให้ทีมมี
                  ั
การตำาเนินงานไปได้อย่างราบรื่น สำาเร็จบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันที่ตั้ง
เอาไว้ได้

ข้อบกพร่องและเสนอแนะ
    - ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ที่ดีมากมาย และข้อคิดหลายอย่าง
        สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้จริงในหลายสถานการณ์ น่าจะมี
        การเพิ่มเวลามากกว่านี้อีก 1 ชั่วโมง เพราะคิดว่าน่าจะได้อะไร
        เพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์อีกมาก
    - เวลาแบ่งกลุ่มเล่นเกมน่าจะมีการกระจายคนจากประเทศเดียว
        กันให้กระจายๆกันไปในหลายๆกลุ่ม ไม่อยู่กลุ่มเดียวกันหลาย
        คนเกินไป เพราะมีโอกาสที่จะเผลอสื่อสารกันด้วยภาษาของ
        ตนเองมาก ไม่ใช้ภาษาอังกฤษ ทำาให้สมาชิกคนอื่นๆในกลุ่ม
        ไม่เข้าใจและอาจจะรู้สึกไม่ดีกับการกระทำาเช่นนั้น เนื่องจาก
        ไม่มีโอกาสเสนอความคิดเห็น เป็นส่วนหนึ่งของทีมเลย
หลังจากนั้นก็เริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยมี trainer เป็นผู้สอนและให้
สมาชิกได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น brainstorm เป็นระยะๆ พอ
ถึงการสอนเรื่อง teamwork ก็ได้มีการให้เล่นเกมที่จะสื่อให้เห็นถึง
การทำางานเป็นทีม แล้วก็ต่อด้วย lecture จนจบ
สิ่งที่ได้รบั
- ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆมากมาย
- เข้าใจความหมายของ TEAM ซึ่งก็คือ Together Everyone
  Achieve More และ characteristic ของมันก็คือ จะต้องมีเป้า
  หมาย(goal) ,มีจำานวนคน (สมาชิก ) มากกว่า 1,มี
  structure,position,interaction, และ cohesiveness
- ตระหนักถึงสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ teamwork คือ การ recognize
  และ respect ความแตกต่างของแต่ละคนที่ทำางานด้วย นอก
  จากนี้ก็คือ จะต้องให้ความเชื่อใจและไว้วางใจแก่ทุกๆคนที่เรา
  ได้ร่วมงานด้วย
- ทราบถึงข้อเสียของการทำางานเป็นทีม ได้แก่ สิ้นเปลืองเวลา,
  ความรับผิดชอบไม่เท่ากัน,การที่มีความคิดเห็นต่างกันอาจนำา
  ไปสู่ความขัดแย้ง,ต้องมีการเสียสละเวลาว่างเพื่อมาทำางานให้
  แก่ทีม,ปัญหาทางด้านการติดต่อสือสาร เช่น language
                                     ่
  barrier, cultural difference
- รู้วาองค์ประกอบของการทำางานเป็นทีมต้องประกอบด้วยกลุ่ม
      ่
  คนที่มีบทบาทต่างๆกันดังนี้ 1.leader 2. members
  3.activists 4.passive
- เข้าใจวิธีการสร้างความเป็นทีม (teambuilding) โดยการที่จะ
  รวบรวมคนจำานวนหนึ่งให้เป็น group แล้วเปลี่ยนแปลงให้เป็น
  ทีม ได้ จะต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันโดยมี
  กิจกรรมทำาร่วมกัน มีการพบปะพูดคุยกันใน social gathering
  ต่างๆ ได้แก่ Regular meeting, Christmas party,
  Dinner/Coffee, Music concert/club ฯลฯ
- ทราบถึงคุณสมบัติที่ leader จำาเป็นจะต้องมี เช่น มีความรับ
  ผิดชอบสูง กระตือรือร้น มั่นใจในตนเอง ยืดหยุ่นได้ มีวินัย มี
  วิสัยทัศน์ มีความอดทน ฯลฯ
การนำาเสนอผลงานเป็นทักษะหนึ่งที่มีความสำาคัญต่อการ
   ดำาเนินงานในด้านต่าง ๆ ทังนี้การนำาเสนอที่ดีย่อมเสริมให้ผลงาน
                              ้
  เป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในระดับนานาชาติ การนำาเสนอ
  ผลงานเป็นภาษาอังกฤษเป็นสิ่งที่ผู้นำาเสนอจำาเป็นต้องมีการเตรียม
 ความพร้อม ทังทางด้านข้อมูล นำ้าเสียง การใช้คำาพูด การวางท่าทาง
                 ้
 เป็นต้น ซึ่งทักษะดังกล่าวนี้เป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลสามารถฝึกฝนและ
                         พัฒนาตนเองให้ดีขึ้นได้
       สำาหรับใน Training session นี้ มีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วม
กิจกรรมมีความพร้อมที่จะนำาเสนอผลงานด้วยความเชื่อมั่น รวมถึง
ช่วยลดความประหม่าในขณะนำาเสนอผลงานต่อหน้าสาธารณชน
       กิจกรรมภายใน Training session ซึ่งนำาโดย Training
Director: Louise Hammer Pettersen ประกอบด้วย
        Ice Breaking Game
        Lecture :
               Communication
              สามารถแบ่งออกได้เป็น
          1. Verbal Communication อันได้แก่ Speaking, Writing,
              Reading and Listening
          2. Non-verbal Communication อันได้แก่ Eye contact,
              Body language, General appearance
          โดยในการสื่อสารทั่วไปนั้น ใช้ Body language ถึง 58 %,
35% ผ่านทาง tone of voice และสำาหรับ Words นั้นใช้เพียง 7%
ของทั้งหมด
          นอกจากนี้ ยังมีการแนะนำาถึงสิ่งที่ควรทำาและไม่ควรทำา ทัง   ้
ในฐานะของผู้นำาเสนอ และผู้ฟัง รวมถึงให้มีการสนทนาแลก
เปลียนความคิดเห็นของตนกับเพื่อนข้างเคียง
     ่
               Presentation Skills
          ในการนำาเสนอผลงานที่ดีนั้น นอกเหนือจากการเตรียม
ข้อมูลให้พร้อมแล้ว สิ่งที่ควรให้ความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน คือ
Appearances ของผูนำาเสนอ ซึ่งประกอบด้วย
                       ้
          1. Grounding and Hand Movement
          ผู้นำาเสนอต้องยืนในท่าที่มั่นคง โดยมีการถ่ายเทนำ้าหนักตัว
ลงสู่เท้าทั้งสองข้างอย่างเท่าเทียมกัน สำาหรับ Hand movement นั้น
ขึ้นกับความถนัดของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตามผู้นำาเสนอไม่ควร
วางมือในท่าที่เกร็ง หรือขยับมากเกินไป เนื่องจากเป็นการแสดง
ออกถึงความประหม่าของตนเอง


          2. Voice
          ผู้นำาเสนอต้องเลือกใช้เสียงให้เหมาะสมกับสถานที่และ
จำานวนผู้ฟัง ไม่ใช้เสียงที่ราบเรียบเกินไปในการบรรยาย การเน้น
เสียงในจังหวะที่เหมาะสม จะช่วยดึงความสนใจของผู้ฟังได้มากขึ้น
          3. Breaks
          ผู้นำาเสนอควรมีการเว้นจังหวะการพูดเป็นระยะ ทังนี้เพื่อให้
                                                         ้
ผู้ฟังได้มีเวลาในการทำาความเข้าใจ และคิดตามได้ทัน
          4. Walk- Stop-Talk- Walk
          เป็นหนึ่งในวิธีที่ช่วยดึงความสนใจของผู้ฟัง ทังนี้ควร
                                                       ้
พิจารณาความเหมาะสมของสถานที่บรรยายร่วมด้วย
          5. Eye Contact
          ผู้นำาเสนอควรมี Eye contact กับผู้ฟง ไม่ควรจ้องมองจุด
                                              ั
ใดจุดหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพียงคนเดียว สำาหรับการ
บรรยายที่มีจำานวนผู้ฟังมาก ผูนำาเสนออาจใช้การเลือกบุคคล 3 คน
                                  ้
ในตำาแหน่งที่ต่างกัน เพื่อเป็นตัวแทนของผู้ฟังทั้งหมดได้
           Practice within small groups
          ผู้ร่วมกิจกรรมถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อย โดยในแต่ละกลุ่มมี
สมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ประมาณ 5 คน โดยทุกคนจะผลัดกันขึ้น
มานำาเสนอหัวข้อที่ตนเองเลือก คนละประมาณ 5 นาที สมาชิกใน
กลุ่มที่เหลือจะเป็นผู้ให้ Feedback เกี่ยวกับ presentation skills ทัง
                                                                   ้
5 อย่างตามที่กล่าวไว้ข้างต้น
          ในการ Feedback นั้น เราได้เรียนรู้ว่าการ Feedback ทีดีนั้น
                                                                ่
ควรเป็นการให้ความเห็นในสิ่งที่ผู้นำาเสนอสามารถปรับปรุงและ
เปลียนแปลงตนเองได้ นอกจากนี้ ควรให้การ Feedback ใน
      ่
ลักษณะที่เป็น PNP sandwich คือเริ่มและจบด้วยการให้คำาชมเชย
ส่วนสิ่งควรได้รับการแก้ไขนั้น ให้นำามาพูดในตอนกลาง
          สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนอกเหนือจากเนื้อหาที่กล่าวมา
ข้างต้น ได้แก่ วิธีการในการควบคุมความประหม่าของตนเองใน
การนำาเสนอผลงานเพื่อให้นำาเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ฝึกตนเองในการให้ Feedback แก่ผู้อื่น รวมถึงเป็น
ฝ่ายรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นด้วยใจที่เปิดกว้าง เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาตนเองต่อไป นอกจากนี้ยังได้นำาทักษะและความรู้ที่ได้ไปใช้
ในการนำาเสนอผลงานของประเทศไทยใน Standing Committee
Session รวมถึงต่อไปในภายภาคหน้า
        ข้อเสนอแนะและปรับปรุง
        เวลาที่ใช้ใน Training session มีน้อยไป โดยเฉพาะในช่วง
practice within small group น่าจะมีเวลาใช้ training director ได้
ให้คำาแนะนำาแก่ผู้นำาเสนอผลงานด้วย




    วัตถุประสงค์ : เรียนรู้การเริ่มต้นสร้าง project และการนำา
  ทรัพยากรรวมทั้งบุคคลากรที่มีอยู่        มาใช้ให้เกิดประโยชน์
    - วางแผนและเรียนรู้วิธีการเสนอโครงงาน

     -   รูปแบบของ IFMSA project

     - การหาทีม การสร้างทีม
เราจะเริ่มต้นสร้าง project อย่างไร?




               Group VS Team
Group ต่างกับ Team อย่างไร?
  Group

-   เราสร้าง Group ก่อนสร้าง Team

-   Group คือ กลุ่มคนที่มีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันมา
    รวมตัวกัน มาแลกเปลี่ยนกัน

เช่น คนยืนรอแถวรถเมย์ ก็เรียกว่า Group ได้
- สมาชิกใน Group อาจไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากนัก




    Team
-   Team มีความร่วมมือร่วมแรงมากกว่า มีความสัมพันธ์กัน
         มากกว่า มีการลงมือทำามากกว่า

     -   เมื่อเป็น Team เราทำางานไปด้วยกัน


                    How to make a Group?
     Why is gathering?
     เรารวมกลุ่มกันเพื่ออะไร?
          o เพื่อรู้จักคนอื่นๆ ที่มีความคิดไปในทางเดียวกัน

           o เพื่อระดมความคิดใหม่ๆ

           o เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำางาน เพราะแต่ละคน
             ถนัดต่างกัน

           o เพื่อรับรู้ว่าเราไม่ได้โดดเดี่ยวในการพยายามสร้าง
             ความแตกต่าง หรือทำาบางอย่าง

     How can you gather?
     จะรวมกลุ่มกันอย่างไร?
         o รู้ความสามารถของตัวเอง

           o หาผู้คนที่สนใจ

           o หาคนที่มีความสามารถในด้านที่คุณขาด

                     “ควรแน่ใจตั้งแต่ต้น ว่าทุกคนมีเป้าหมาย
                เดียวกัน”

                   How to make a Team?
      Team พัฒนาเติบโตมาจาก Group ทีมีความร่วมมือในการลง
                                        ่
มือทำาอะไรบางอย่างร่วมกันอย่างจริงจัง ไปในทิศทางเดียวกัน ต้อง
มีการประสานงานกัน เข้าใจกัน ทำางานไปด้วยกัน
      4 ขั้นตอนในการพัฒนาไปสู่ Team
            Formimg แบ่งหน้าที่
            Storming ระดมความคิด
Norming รับรู้ว่าวัฒนธรรมองค์กรเราเป็นอย่างไร เรามี
     ความคิดพื้นฐานอะไรร่วมกันบ้าง
         Performing ลงมือทำา

    วิธีการในการช่วยวางแผน project และ ช่วยแก้ปัญหา
                     SWOT analysis
     Strength             Weakness

    Opportunity                   Threat


เขียนสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับ project เราลงไป เพื่อมองเห็นภาพโดยรวม
     - Strength และ Weakness เป็นองค์ประกอบภายในที่เกิด

         จากคน

     -   Opportunity และ Threat เป็นองค์ประกอบภายนอก

         ประโยชน์ที่ได้รับ

     -   ได้เรียนรู้วิธีการสร้าง project และการทำาให้ project เกิด
         ขึ้นจริง

     - การสร้างแรงบันดาลใจ เป็นการกระตุ้นตัวเองให้มีความคิดริ
       เริ่มสร้างสรรค์

     - การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

     - การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม
Check in: Say your name, your country and ‘check in’
Brainstorming about the most important quality of the leader,
work in group and group presentation.
Activity: motivation, work in group about how to
motivate/manage someone to do something.
Time management: work out about what you should do next.
Check out: Say your name, your country, tell others about
what you got from the activity and ‘check out’
สิ่งที่ได้รบ
           ั
    - ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆมากมาย
    - ทราบถึงคุณสมบัติที่ leader จำาเป็นจะต้องมี เช่น มีความรับ
        ผิดชอบสูง กระตือรือร้น ยืดหยุ่นได้ มีวินัย มีวิสัยทัศน์ มีความ
        อดทน รับฟังความคิดเห็น
    - เข้าใจวิธีการบริหารจัดการคนการทำางานอย่างมีประสิทธิภาพ
    - เข้าใจวิธีการแบ่งเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ

ความคิดเห็น โดยนางสาวสาธิตา                อิ่มประสิทธิชัย, นายสิขริณญ์          อุปะ
ละ
         เป็ น กิจ กรรมที่ ฝึ กให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มมี ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งของการเป็ น
ผู้นำา ซึ่งมีการบอกถึงคุณลักษณะที่ดีของการเป็นผู้นำา ที่พึงมี ดังนี้
ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความขยันหมั่นเพียร เป็นต้น
รวมทั้ ง การปฏิ บั ติ ต นต่ า งๆเมื่ อ ได้ เ ป็ น ผู้ นำา นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ
ความรู้เกี่ยวกับ
         แรงจู ง ใจของตนเอง โดยที่ คนเราควรสร้ า งจุ ดมุ่ ง หมายใน
ชีวิตเพื่อดำาเนินไปสู่เป้าหมายนั้นๆ
         การจัดการเวลา โดยการทำาตารางเขียนหัวข้อถึงสิ่งที่ต้องทำา
โดยมีการจัดลำาดับความสำาคัญก่อนหลังด้วย
         การจั ดการกับ ความเครี ย ด เมื่ อ เกิ ดความเครี ย ด ควรหาวิ ธี
แก้ปัญหาที่เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด
         ทักษะในการสื่อสาร ผู้นำา ที่ดีนั้นต้องสามารถสื่อสารให้กับผู้
อื่นรู้เรื่องและถูกต้อง
         วิธีการเรียน
โดยกิ จ กรรมนั้ น มี ผู้ ม าบรรยาย ประกอบกั บ การระดมความ
คิ ด ของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ สอดแทรกเกมต่ า งๆทำา ให้ กิ จ กรรมดั ง
กล่ า วเกิ ด ประโยชน์ แ ก่ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มมาก โดยที่ ไ ม่ น่ า เบื่ อ จนเกิ น ไป
ซึ่งสิ่งที่ได้รับนั้นมีค่ามากและสามารถนำา ไปปรับใช้ในชีวิตประจำา
วันได้
Strategic Planning
What is strategic planning?
     เป็นหลักการวางแผนงานต่างๆ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหา
และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
 ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้
Step A: the plan!
     เลือกวิธีการจัดการและตั้งเป้าหมายสำาหรับกระบวนการวางแผน
Step B: the vision statement!
     กำาหนดนิยามของการบรรลุเป้าหมายให้ชัดเจน
Step C: the mission statement!
purpose
วางแนวทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
Step D: the SWOT-analysis
S Strenghts
W Weaknesses
O Opportunities
T Threats

พิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ทังภายนอกและภายใน ทีอาจมีผลต่อการ
                        ้                 ่
บรรลุเป้าหมาย

      Internal       Strength           Weakness

      External     Opportunity            Threat


Step E: the objectives!
การวางจุดประสงค์ต้องเป็นไปตามหลัก SMART:
S   Specific
M   Measureable
A   Achievable
R   Reasonable
T   Timebound
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007
Report Aprm 2007

Contenu connexe

Tendances

Polycarbonate ใส
Polycarbonate ใสPolycarbonate ใส
Polycarbonate ใสWrought Thai
 
Cmls(20080117)
Cmls(20080117)Cmls(20080117)
Cmls(20080117)真 岡本
 
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010SELVAM PERUMAL
 
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统itspanther
 
IE-015 全球供應鏈管理
IE-015 全球供應鏈管理IE-015 全球供應鏈管理
IE-015 全球供應鏈管理handbook
 
Sep 2020 Newsletter
Sep 2020 NewsletterSep 2020 Newsletter
Sep 2020 NewsletterRDPRSOCIAL
 
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章John Dye ( dyejo, inc. )
 
摩爾門經; 摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26
摩爾門經;  摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26摩爾門經;  摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26
摩爾門經; 摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26John Dye ( dyejo, inc. )
 
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...Namtarn Natthida
 
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010Raja Segaran
 

Tendances (20)

Alma 10 / 阿爾瑪書第十章
Alma 10 / 阿爾瑪書第十章Alma 10 / 阿爾瑪書第十章
Alma 10 / 阿爾瑪書第十章
 
Alma 17 / 阿爾瑪書
Alma 17 / 阿爾瑪書Alma 17 / 阿爾瑪書
Alma 17 / 阿爾瑪書
 
Polycarbonate ใส
Polycarbonate ใสPolycarbonate ใส
Polycarbonate ใส
 
Cmls(20080117)
Cmls(20080117)Cmls(20080117)
Cmls(20080117)
 
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
Upsr b.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
 
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统
从生态学的视角分析Diigo&Nbsp;网络学习生态系统
 
ICT and e-Learning (Thai)
ICT and e-Learning (Thai)ICT and e-Learning (Thai)
ICT and e-Learning (Thai)
 
IE-015 全球供應鏈管理
IE-015 全球供應鏈管理IE-015 全球供應鏈管理
IE-015 全球供應鏈管理
 
摩賽亞書第二十七章 Mosiah 27
摩賽亞書第二十七章 Mosiah 27摩賽亞書第二十七章 Mosiah 27
摩賽亞書第二十七章 Mosiah 27
 
Alma 7
Alma 7Alma 7
Alma 7
 
Sep 2020 Newsletter
Sep 2020 NewsletterSep 2020 Newsletter
Sep 2020 Newsletter
 
红花
红花红花
红花
 
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章
摩爾門經 / Alma 5 / 阿爾瑪書第五章
 
Alma 18 / 阿爾瑪書第十八章
Alma 18 / 阿爾瑪書第十八章Alma 18 / 阿爾瑪書第十八章
Alma 18 / 阿爾瑪書第十八章
 
Alma 12
Alma 12Alma 12
Alma 12
 
Alma 15 / 阿爾瑪書
Alma 15 / 阿爾瑪書Alma 15 / 阿爾瑪書
Alma 15 / 阿爾瑪書
 
摩爾門經; 摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26
摩爾門經;  摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26摩爾門經;  摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26
摩爾門經; 摩賽亞書第二十六章 Mosiah 26
 
山药粉
山药粉山药粉
山药粉
 
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...
ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานออฟฟิศทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และเป็นโรคคอมพิวเ...
 
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
B.tamil kertas 1 gerak gempur 2010
 

Plus de IFMSA - Thailand (17)

Project Update
Project UpdateProject Update
Project Update
 
Visa Application Form
Visa Application FormVisa Application Form
Visa Application Form
 
Visa Requirement
Visa RequirementVisa Requirement
Visa Requirement
 
Visa Exemption
Visa ExemptionVisa Exemption
Visa Exemption
 
Motivation Letter
Motivation LetterMotivation Letter
Motivation Letter
 
About Thailand
About ThailandAbout Thailand
About Thailand
 
Facilities Details
Facilities DetailsFacilities Details
Facilities Details
 
MM2010 Thailand Candidate
MM2010 Thailand CandidateMM2010 Thailand Candidate
MM2010 Thailand Candidate
 
Mm 2009 In Tunisia
Mm 2009 In TunisiaMm 2009 In Tunisia
Mm 2009 In Tunisia
 
IFMSA - General
IFMSA - GeneralIFMSA - General
IFMSA - General
 
Scome Projects In Thailand
Scome Projects In ThailandScome Projects In Thailand
Scome Projects In Thailand
 
GA_poster
GA_posterGA_poster
GA_poster
 
LCC Contact List
LCC Contact ListLCC Contact List
LCC Contact List
 
Introduction to SCOPE
Introduction to SCOPEIntroduction to SCOPE
Introduction to SCOPE
 
Introduction to SCOPH
Introduction to SCOPHIntroduction to SCOPH
Introduction to SCOPH
 
Evagus July 08
Evagus July 08Evagus July 08
Evagus July 08
 
IFMSA-Meeting
IFMSA-MeetingIFMSA-Meeting
IFMSA-Meeting
 

Report Aprm 2007

  • 1.
  • 2. Introduction Standing Committee Session  President session  The Standing Committee on Medical Education (SCOME)  The Standing Committee on Professional Exchange And Research Exchange (SCOPE / SCORE)  The Standing Committee on human Rights and Peace (SCORP)  The Standing Committee on Reproductive Health including AIDS (SCORA)  The Standing Committee on Public Health (SCOPH) Training and Resources Development  Group Dynamics/Exploring own leadership skills  Presentation Skills  Project management training  Leadership  Strategic Planning Field Work  Clownication  Addiction to drugs  Adolescent and mental health  Hospice and Terminal care ********************
  • 3. The 5th IFMSA Asia Pacific Regional Meeting ปัจจุบันนี้สมาพันธ์นักศึกษาแพทย์นานาชาติ (International Federation of Medical Students Associations-IFMSA) มีนักศึกษาจากภูมิภาคต่าง ๆ รวม 5 ภูมิภาคทั่วโลกเข้าร่วมเป็นสมาชิก การจัดการประชุมในแต่ละ ภูมิภาคมีจุดประสงค์หลักเพื่อเป็นการเปิดโอกาสในสมาชิกในแต่ ละภูมิภาคได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำางาน สร้าง เสริมความสัมพันธ์ รวมถึงเรียนรูวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ้ สำาหรับปี 2550 ได้มีการจัดประชุม APRM (Asia-Pacific Regional Meeting) ขึ้นที่เมืองโอซากา ประเทศญี่ปุ่น โดยนับเป็นครั้งที่ 5 ของภูมิภาคนี้ ซึ่งหัวข้อ (theme) หลักของการประชุมครั้งนี้คือ Mental Health กิจกรรมที่จัดขึ้นประกอบด้วย  Work Shop ประกอบด้วยการจัดฟังคำาบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ Mental Health ร่วมกับทำากิจกรรมในกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยน ความเห็นของสมาชิกในแต่ละประเทศ การจัดบรรยายประกอบด้วย 2 หัวข้อ คือ 1. “Mental health in Asia and the Pacific Region” โดย Dr. Naotaka Shinfuku of Seinan Gakuin University เป็น การให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันของ mental health ในแต่ละประเทศ รวมถึงกฎหมายและมาตรการในการรับมือ ปัญหาเหล่านี้ในประเทศต่าง ๆ จุดมุ่งหมายหลักคือเน้นในผู้ฟัง ซึ่งก็คือนักศึกษาแพทย์เกิดความตื่นตัวและตระหนักถึงความ สำาคัญของ mental health problem 2. “Stress and its Management among medical students and doctors” โดย Keiko Abe MA,RMN และ Dr. kazuhiko fujisaki of Gifu University มีจุดประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ฟังได้มีโอกาสคิดถึง ปัญหาและความเครียดที่ตนจะต้องเผชิญจากการทำางาน รวมถึง ได้แลกเปลี่ยนแนวทางในการจัดการและแก้ไขปัญหาเหล่านั้น  Standing Committee Session ประกอบด้วย SCORE SCOME The Sanding Committee on Medical Education (SCOME) is a forum for active discussion for medical
  • 4. students interested in developing medical education. Our overall goal is the implementation of an optimal learning environment for all medical students around the world. SCOPE SCORE The Standing Committee on Professional Exchange (SCOPE) and Standing Committee on Research Exchange are the largest committee within IFMSA. More than 6000 students worldwide participate in our programme each year SCORP The Standing Committee on human Rights and Peace (SCORP) deals with the problems faced by displaced people and participates in relief efforts. SCORP also works for the prevention of conflicts and human rights abuses. SCORA The Standing Committee on Reproductive Health including AIDS (SCORA) aims to raise awareness among medical students about Reproductive Health including sexual education, gender equity, sexual violence, as well as Sexually Transmitted Infections. SCOPH The Standing Committee on Public Health (SCOPH) emphasizes the importance of public health issues in medical education and the community. The promotion of a healthy lifestyle through the eradication of smoking, improvement in diet and increasing physical activity is our goal. โดยเป็นช่วงเวลาสำาหรับการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวม ถึงประสบการณ์ทำางานของสมาชิกในแต่ละประเทศ เกี่ยวกับ session ที่ตนทำางานอยู่  Training Session Training and Resources Development
  • 5. เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมทักษะต่าง ๆ ทีจำาเป็นต่อการทำา ่ งาน ทังต่อ IFMSA และด้านอื่น ๆ โดยครังนี้ได้มีการจัดฝึกอบรม ้ ้ ทักษะในหลาย ๆ ด้าน อาทิเช่น Project management, Leadership, Fund Raising, Conflict Resolution เป็นต้น  Project Time กิจกรรมนี้มีเป้าหมายหลักคือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มี ประสบการณ์ในการจัดการ “Project”ของตน โดยมี Project Working Committee of IFMSA APRO (Asia-Pacific Regional Office) เป็นผูให้คำาแนะนำา ้  Field Work ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ Adolescent Mental Health, Addiction of Drugs, Occupational Mental Health, Terminal care and Hospice และ Clownication รูปแบบกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ช่วง คือวันแรกเป็นการเชิญวิทยาการมาให้คำาบรรยายในแต่ละ หัวข้อ วันต่อมาจึงเป็นการลงสถานที่จริง ซึงมีรายละเอียดแตก ่ ต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม
  • 6. President session Chartchai Savetsila Ekkamol Phaibulvatanapong SCOME Yada Manomaiphan Maynart Sukharomana Saetawu Lertlukpreecha Satita Aimprasittichai SCOPE SCORE Natdanai Punnanithi Bhurinud Salakij Chatsuda Mongkoltanatas SCORP Patsaree Patanasuwana Pennapa Kaweewongprasert SCORA Chutikarn Thaisriwong SCOPH Nitcha Wongtim
  • 7. The session is about how to improve you to become the officials by teach and give information about Asia Pacific Regional Office (APRO), IFMSA and NMO management, MSI and eVagus, IFHHRO , IFMSA godfathering system, The IFMSA Constitution and Bylaws and teach about problem analysis, strategic planning , fundriasing, motivation and how to adapt in your NMO. What we learn in this session? 1.how to solve the problem and improve our NMO by using SWOT analysis, fundraising, motivation , recruitment and communicate with our university. 2.the management system in IFMSA
  • 8. เนื่องจากระบบการศึกษาของแพทย์ มีส่วนสำาคัญในการ กำาหนดคุณภาพของแพทย์ในอนาคต และเป็นตัวกำาหนด คุณภาพของการบริการทางการแพทย์ด้วยเช่นกัน แต่ละ ประเทศต่างมีระบบการศึกษาที่ค่อนข้างแตกต่างกันทำาให้ คุณภาพที่แตกต่างกัน จุดประสงค์หลักสำาคัญของ SCOME มี 2 ประการหลักๆ คือ 1.การที่นักศึกษาแพทย์มีส่วนในการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรการ ศึกษาของสถาบันการศึกษาของตัวเอง 2.การจัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น Workshops , Seminar โดยเน้นประโยชน์ให้เกิดแก่นักศึกษาแพทย์เพื่อให้มีทัศนะคติที่ดี ในการเรียนแพทย์ SCOME Session in APRM 2007 Facilitated by Maja Basnow ,IFMSA SCOME Director Fandi Ahmad ,SCOME-Regional Assistant of SCOME Day 1 (19/03/07, 18.00 – 21.00) 1.Introduction of SCOME แนะนำาให้สมาชิกใหม่ได้รู้จัก SCOME มากขึ้น ทั้งในระดับ โลก ระดับเอเชียแปซิฟิก และกล่าวนำาโครงการร่วมระหว่าง ประเทศที่กำาลังจะดำาเนินการในปี 2007 นี้ 2.Country presentation / Activity report การนำาเสนอประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ระบบการศึกษา ของแต่ละประเทศ และ กิจกรรมของ NMO-SCOME ประเทศไทย นำาเสนอโดยนางสาวญาดา มโนมัยพันธุ์ , นางสาวเมนาท สุขารมณ์ สำาหรับประเทศไทยมีระบบการศึกษาที่แตกต่างกันไปใน แต่ละสถาบันการศึกษา แต่ โดยรวมแล้วใช้เวลาเรียนทั้งหมด เป็นเวลา 6 ปี โดยหลังจากจบปีที่ 6 นักศึกษาจะกระจายไปเป็น แพทย์ตามจังหวัดต่างๆของประเทศไทย เพื่อเพิ่มพูนทักษะ และ เป็นการชดใช้ทุนที่รัฐบาลสนับสนุนการเรียน
  • 9. สำาหรับ SCOME ของประเทศไทย เริ่มจัดตั้งขึ้นได้ไม่นาน มากนัก และมีจำานวน Active Members น้อยมาก และมีปัญหาใน การขาดช่วงในการดำาเนินงานระหว่างปี ปัญหาสำาคัญที่ทำาให้ SCOME ไม่พัฒนาเท่าที่ควร เพราะ สำาหรับประเทศไทยแล้วนอกจากที่แต่ละสถาบันจะมีระบบการ ศึกษาที่แตกต่างกันแล้ว บทบาทของนักศึกษาแพทย์ไม่ได้มี สิทธ์อย่างเต็มที่ในการเสนอเพื่อขอปรับปรุงทางด้านระบบการ ศึกษา ประเทศไต้หวัน ใช้ระบบ Problem-Based Learning (PBL) โดยใช้ระยะ เวลาทั้งหมด 7 ปี ในการเรียนแพทย์ ซึง 2 ปีแรกเป็นเนื้อหา ่ General Intelligence สำาหรับ กิจกรรมของ SCOME ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมาก และมีจำานวน active members ไม่มาก เนื่องจากระบบการศึกษา ของประเทศไต้หวัน เหมือนกับประเทศไทยที่นักศึกษาไม่ได้มี บทบาทในการวางระบบการศึกษา ในส่วนของกิจกรรมก็มีองค์ กรณ์อื่นที่จัดกิจกรรมเพื่อนักศึกษาอยู่แล้ว จากปัญหาดังกล่าว NMO-SCOME จึงแก้ปัญหาโดยในปีนี้ ได้วางแผนจัดกิจกรรมเพิ่มขึ้นโดยเป็นความร่วมมือระหว่าง SCOME กับองค์กรเดิมที่จัดกิจกรรมอยู่แล้ว ประเทศอินโดนีเซีย ในส่วนของระบบการศึกษา ระบบ Problem-Based Learning (PBL) โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมด 6 ในการเรียนแพทย์ เป็นเนื้อหา General Intelligence เพียง 1 ปี ในด้านกิจกรรมของ NMO-SCOME ค่อนข้างมั่นคง มีจำานวน Active Members ค่อนข้างมาก และมี กิจกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้น ตลอดเวลา เช่น - Seminar “Medical Laws and Abortion Legality,2005” - Scientific Fair - Medical Curriculum Database เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ระบบการศึกษาของประเทศต่างๆ - Book Aids มีจุดประสงค์หลักๆ เพื่อช่วยเหลือนักศึกษา แพทย์ที่ประสบภัยธรรมชาติและมีปัญหาด้านเศรษฐกิจการ เงิน ปัญหาของประเทศอินโดนีเซีย เนื่องจากเปลี่ยนระบบการ ศึกษาเป็น PBL ได้ไม่นาน ยังอยู่ในช่วงทดลอง ทำาให้การ
  • 10. จัดระบบยังไม่มั่นคง นักศึกษายังไม่สามารถปรับตัวกับ ระบบใหม่ได้ ประเทศญี่ปุ่น ในส่วนของ SCOME-Japan ยังไม่ได้จัดตั้งอย่างเป็นทางการ จึงเรียกว่า Pre-COME การประชุมครั้งนี้จึงเป็นการสังเกตการณ์ เพื่อนำาไปพัฒนาต่อไป สรุปปัญหาจากทุกประเทศ ปัญหาสำาคัญของประเทศในภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิก ทีมี ่ ส่วนสำาคัญให้ SCOME มีจำานวนสมาชิกที่สนใจน้อย เพราะ นักศึกษาแพทย์ไม่ได้มีบทบาทอย่างจริงจังในการมีส่วนแสดง ความคิดเห็นในการวางระบบการศึกษา ซึงแตกต่างจากประเทศ ่ ทางตะวันตก ที่นักศึกษา สามารถเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรรมการ วางแผนระบบการศึกษา ทำาให้ขอบข่ายการทำางานของ SCOME จำากัดอยู่ในวงแคบ ส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงการจัดกิจกรรมแต่ละ ครั้งจึงทำาได้ยากและมีผู้สนใจเข้าร่วมจำานวนไม่มากเท่าที่ควร Day 2 (20/03/07, 15.30 – 18.00) Small Working Group I : “How to plan a trans-NMO project” ในการวางแผนการจัดกิจกรรมต้องมีการวางแผนก่อนตาม หัวข้อนี้ Background ความเป็นมาและแรงบันดาลใจในการคิด กิจกรรม Goals เป้าหมายของการจัดกิจกรรม Objective จุดประสงค์ของการจัดกิจกรรม Expected Outcome ผลที่คาดว่าจะได้รับเมื่อจัดกิจกรรม Small Working Group II : “Implementation and preparation for Transnational Project” หลังจากวางโครงและเป้าหมายของกิจกรรมแล้ว ก่อนเริ่ม ลงมือปฏิบัติให้วิเคราะห์ตาม หลัก SWOT-Analysis (Strategic Planning) Day 3 (21/03/07, 15.30 – 18.00)
  • 11. Medical Education Issues Update วิธีการเรียนรู้มีหลายแนวทางดังนี้ 1. PBL 2. OSCE 3. Portfolio 4. Different types of short answer 5. MCQ in a new perspective Training : “How to advocate the stakeholder in improving Medical Education in your faculty” ได้แนะนำาถึงวิธีการยืนข้อ เสนอในการปรับปรุงระบบการศึกษารวมทั้ง facility ของแต่ละ มหาลัย โดยให้ผู้เข้าร่วมประชุมแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ อภิปราย ปัญหาร่วมกันแล้วเขียนโครงการ อธิบายรายละเอียดข้อเสียที่ ควรปรับปรุง พร้อมแนะนำาวิธีการแก้ปัญหา เพื่อปรับปรุงสถาบัน การศึกษาของแต่ละประเทศ สรุป เนื่องจาก SCOME สำาหรับประเทศแถบเอเชีย เป็น session ที่มจำานวนสมาชิกไม่มาก และมีข้อจำากัดในการจัดกิจกรรมใน ี ด้านการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา ส่วนมากจึงเน้นการจัด กิจกรรมเกี่ยวกับส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษาแพทย์แทน ความคิดเห็นของนางสาวสาธิตา อิ่มประสิทธิชัย, นายสิขริณญ์ อุปะละ เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ Medical Education โดยที่ ไ ด้ มี ก ารนำา เสนอถึ ง ลั ก ษณะรู ป แบบการเรี ย นแพทย์ ข องแต่ ล ะประเทศ โครงการหรื อ กิ จ กรรมต่ า งๆที่ จั ด ขึ้ น ภายในสถาบั น การศึ ก ษา ลั ก ษณะของการเรี ยนแพทย์ทั่ วโลก และมี ก ารระดมความคิด ใน การเสนอโครงการใหม่ๆต่างๆที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาระบบการ ศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง ยั ง มี การวิเคราะห์ถึงข้อดี ข้อเสีย ของรูปแบบการเรียนการสอนในวิชา ชีพแพทย์ลักษณะต่างๆเพื่อนำา ไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป ในการเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมครั้ ง นี้ ได้ มี ตั ว แทนของ IFMSA มาบรรยายเกี่ ย วกั บ ด้า นนี้ โ ดยเฉพาะ เป็ น การเปิ ดมุ ม มองภาพรวมของการเรี ยนวิ ช า ชีพแพทย์อีกด้วย
  • 12. สิ่ ง ที่ ไ ด้รับ จากการเข้ าร่ ว มกิ จ กรรมครั้ ง นี้ เป็ น เรื่ อ งเกี่ ยวกั บ โครงการกิ จ กรรมต่ า งๆที่ จั ด ขึ้ น เช่ น โครงการยื ม ตำา ราแพทย์ โครงการค่ า ยวิ จั ย เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การทำา วิ จั ย วิ ช าชี พ แพทย์ โครงการฝึกงานสำาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นพรีคลินิก เป็นต้น ส่วน ในเรื่องของการแก้ไขหลักสูตรการเรียนการสอนนั้นสามารถทำา ได้ เพียงบางประเทศเท่านั้น โดยการแก้ไขหลักสูตรเพื่อเป็นการให้ เกิดประสิทธิภาพในการเรียนแพทย์มากที่สุด นอกจากนี้ลักษณะ รูปแบบของการเรียนแพทย์ในประเทศแถบภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกก็ มีรู ปแบบที่ คล้ ายคลึ ง กัน ส่ ว นใหญ่ เ รี ย น 6 ถึง 7 ปี โดยแบ่ ง เป็ น สามส่วนหลัก คือ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน พรีคลินิก และคลินิก ซึ่ง ในการประชุ ม นั้ น ทำา ให้ ท ราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาวิ ช าชี พ แพทย์ในมุมมองที่ต่างออกไปจากที่เคยได้รับมา
  • 13. SCOME Group Presentation “Transnational Projects” Country Presentation “Thailand” Group Presentation “Medical Maja Sidelmann Basnov Education & Problems” SCOME Director “SCOMEdian”
  • 14. กิจกรรมในส่วนของ SCOPE และ SCORE แบ่งเป็นทั้งหมด 3 วัน โดยในวันแรกเป็นการแนะนำา session ทังสองแก่ผู้เข้าร่วม ้ ประชุม ซึงในส่วนของ SCOPE นั้นนำาเสนอโดย July Rahardja ่ ตำาแหน่ง Regional assistant of Asia-Pacific จากประเทศ อินโดนีเซียและ SCORE นำาเสนอโดย Arnet (Guan-Rong Wu) ตำาแหน่ง LEO (Local Exchange Officer)จากประเทศไต้หวัน โดยนำาเสนอตั้งแต่ประวัติความเป็นมาของ standing committee โครงสร้างขององค์กรในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับ international ลงมาถึงระดับ local ขั้นตอนดำาเนินการในการแลกเปลี่ยน เริ่ม ตั้งแต่การทำาสัญญาระหว่างประทศที่จะแลกเปลี่ยนนักเรียนกันที่ การประชุม IFMSA ในเดือนสิงหาคม การคัดเลือกนักเรียน การ โอนเงิน การแลกเปลี่ยนข้อมูล CA (Card of Acceptance)และ CC (Card of Confirmation) แผนการดำาเนินงานประจำาปี และ การสรุปผลงานในปีที่ผ่านมา Thailand นำา เสนอโดย นศพ.ณั ฐ ดนั ย ปุ ณ ณะนิ ธิ ตำา แหน่ ง NEO (National Exchange Officer)โ ด ย ใ น ปี นี้ มี ก า ร ทำา สั ญ ญ า 49 bilateral contracts 5 unilateral contracts แ ล ะ LC (Local Committee) ที่ เ ข้ า ร่ ว มมี ทั้ ง หมด 7 สถาบั น กิ จ กรรมประจำา ปี ประกอบด้วย Open your eyes with international relation club, july party สำาหรับนักเรียนแลกเปลี่ยน Indonesia นำา เสน อโ ดย Elizabeth Niken Sasanti ตำา แ หน่ ง LORE โดยกิจกรรมประจำา ปีประกอบด้วย Welcome party, Talk show , Medical box office(fundraise) Advance LORE training, Annual re meeting แ ล ะ ใ น ส่ ว น ข อ ง SCOPE Indonesia นำา เสนอโดย Oen Budi Gunawan ตำา แหน่ ง LEO โดยในปี นี้ มี ก าร ทำา สัญญา 75 contracts และ LC ที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 10 สถาบัน กิ จ กรรมประจำา ปี ป ระกอบด้ ว ย Summer school 2007 provides students information to deal with disaster Taiwan นำาเสนอโดย Arnet (Guan-Rong Wu) ตำาแหน่ง LEO
  • 15. LC ที่เข้าร่วมมีทั้งหมด 10 สถาบัน นักเรียนแลกเปลี่ยน 43 outgoing and 42 incoming 76 newly updated and confirmed projects กิจกรรมประจำาปี ประกอบด้วย SCORE webpage constructing in Chinese and English version : provide useful information,United social program : SCOPE and SCORE in Mid- Jul and Mid-Aug ใน ส่วนของ SCOPE-Taiwan นำาเสนอโดย Hebe (Yu Yu Chou) มี นักเรียนแลกเปลี่ยน 80 outgoing & 96 incoming และ LC ที่ เข้าร่วมมีทั้งหมด 13 สถาบัน Japan นำาเสนอโดย Michiko Fujieda ตำาแหน่ง NORE (National officer of Research exchange)โดยในปีที่ผ่านมีโครงการวิจัย ทั้งหมด 98 projects : preclinical and clinical <with or without lab work> กิจกรรมประจำาปีประกอบด้วย LTP <LEO/LORE training program> in Mar&Oct นอกจากนั้นในช่วงสุดท้ายของวันยังมีกิจกรรมสัมมนากลุ่ม ย่อยตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 1.Fund raising ดำาเนินการสัมมนาโดย Oen Budi Gunawan 2.Improving academic quality ดำาเนินการสัมมนาโดย นศพ. ณัฐดนัย ปุณณะนิธิ 3.Regional project ดำาเนินการสัมมนาโดย Michiko Fujieda และ นศพ.ภูรินุช ศาลากิจ ตำาแหน่ง LCC (Local committee coordinator) 4.Strengthen SCORE & SCOPE ดำาเนินการสัมมนาโดย Charlene (Chau Yee Ng) ตำาแหน่ง LORE 5. Project research & maintaining ดำาเนินการสัมมนาโดย Arnet (Guan-Rong Wu) ในวันที่ 2 มีการจัดอบรมในหัวข้อ Motivation โดย Louise Hammer Pettersen ตำาแหน่ง Training director โดยมีจุด ประสงค์เพื่อผู้เข้าร่วมประชุมได้ค้นหาสิ่งที่เป็นแรงจูงใจของตนใน การที่จะทำาสิ่งต่างๆให้ประสบความสำาเร็จ และในวันสุดท้ายเป็นการนำาเสนอผลงานของกลุ่มสัมมนา ย่อยทั้ง 5 กลุมโดยมีเนื้อหาดังนี้ ่ Group1 How to strengthen our SCOPE & SCORE + face problems
  • 16. 1. publicity of SCOPE&SCORE - Indonesia : posters - Japan : homepage - Taiwan : lectures 2. total exchangers per year is considered to be low - Indonesia : 5-6 ppl/school - Japan : 2-3 ppl/school - Taiwan : 10 ppl/school 3. how to increase the interest in exchanges between Asian region’s countries - tourist attraction - publicity - cooperate with international companies - the sharing experience by previous exchanges - through e-mail/website - modifying project’s content Group2 SCORE How to find new & maintain old Maintain project Find new Fund raising Multicenter research <international> make activity to invite professors - Let the students who have joint the exchanging - make questionnaire to ask Program to promote the program to attract medical students about the new comers research and professor - keep good relationship with the professors - recommendation by officials - guarantee the exchanging students so that - make good relation with professors don’t have to worry about their lives professor - sign the copyright contract with professors - provide new ideas to professor
  • 17. - recommendation by official - make new activities and ask - make questionnaire to ask medical students professor to join about research & professor - provide new idea to professor - make new activities and ask professors to join - contact person to take care of the lives of The exchange students Group3 Academic qualities Database 1. research exchange academic information 2. method e.g. paper research data each NMO builds up group to collect academic information from exchanged students and universities, and public all the data online, all the members can use it for free&all the users can improve it < like Wikipedia> by suggesting some ideas Discussing among universities 1. reason : now there are few opportunities for universities to communicate with each other & they persist in their own way of teaching and learning according to their own universities 2. methods: Japan is a very conservative country ,particularly in medical world. But, like IFMSA students have the right to say freely, compared to doctors. So,we can choose the representatives of universities & hold the conference by students.It can change the situation Professor exchange 1. reason : teacher in each country has knowledge & methods about how to set up the curriculum and good environment. We can improve the education system 2. methods : find suitable teacher who’s willing to participate from every universities in every countries &
  • 18. connect with other countries by the help of IFMSA, then exchange professor. After coming back, the professor has to write the evaluation form about the difference and advantages, also how we can adapt & make it practical in our country Group4 Fund raising Definition: find sponsors to support SCOPE & SCORE activities not only money but other things e.g. advertisement,food,etc. Taiwan : cooperation between medical student & the company advertisement Thailand : Drugs&equipment company Health promoting campaign from government STEPS 1. budget identification 2. source 3. approach the sponsors 4. present our project details 5. negotiation 6. sign contract 7. follow up Problems 1. companies don’t have money solution: make a phone call,face to face meeting or find someone related to this company 2. oompanies in recessions solution : ask for materials orfind other companies Group 5 Regional project Goal : 1. strengthen relationship 2.exchange culture 3. broaden view 4. promote world peace How to improve relationship - keep connection online - exhibition about culture
  • 19. - talk to each other - make the traditional food and eat - quiz about culture - exchange knowledge and experience about violence ,war or disasters Summary : We want to make an “ACTIVE” Yahoogroup and if we grow strong enough , we want to set yup a summer school and make some training programs
  • 20. ได้จัดการประชุมในช่วงเวลา 3 วันสามวันของการประชุม APRM ซึ่งมีตารางกิจกรรมดังต่อไปนี้ วันที่ 1 : 19 มีนาคม 2550  ช่วงที่ 1 แนะนำาสมาชิกเกี่ยวกับ SCORP/ SCORP Asia- Pacific Standing Committee on human rights and peace (SCORP) เป็นคณะกรรมการที่มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิด ความเท่าเทียมกันของสิทธิของมนุษยชน ทั้งทางด้านสังคม สุข ภาพ และเศรษฐกิจ โดยมีกลุมเป้าหมายสำาคัญคือผู้ที่ด้อย ่ โอกาสทางสังคม และผู้ลี้ภัย นอกจากนี้ยังเน้นในด้านการมีส่วน ร่วมในการรณรงค์ให้เเกิดสันติภาพขึ้นในโลก  ช่วงที่ 2 เป็นการนำาเสนอกิจกรรมที่ SCORP ทีทำาโดยแต่ ่ ละประเทศ ภายในปี 2006 โดยมีประเทศเข้าร่วมทั้งหมด 4 ประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย ไต้หวัน และไทย อินโดนีเซีย : มีโครงการทังหมด 3 โครงการ คือ ้ 1. Medicare Action in Tsunami ACEH 2. Medicare Action in flood disaster Jember 3. Medicare Action in Earthquake disaster in Jogja โดยทังสามโครงการเน้นไปทางการให้ความช่วยเหลือ ้ ทางด้านการแพทย์แก่ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติซึ่งเป็นปัญหา สำาคัญของประเทศอินโดนีเซีย เช่น สึนามิ นำ้าท่วม และแผ่น ดินไหว ผ่านทางการจัดกิจกรรมให้ความรู้ทั้งทางด้านสุขภาพ และจิตใจ ซึ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาในเด็ก พร้อมกันนี้ยงได้จัด ั เตรียมสาธารณูปโภคไปให้แก่ผู้ประสบภัยด้วย ไต้หวัน : มีโครงการทังหมด 2 โครงการ คือ ้ 1. Get in to Blind’s shoes เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อ ให้นักศึกษาแพทย์ได้ตระหนักถึงความรู้สึกของคนตาบอด ผ่าน กิจกรรมที่สนุกสนาน 2. Christmas at Pediatric ward เป็นโครงการที่จัดขึ้น เพื่อให้ความสุขแก่เด็ก ๆ ทีพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลในวัน คริสต์มาส โดยมีกิจกรรมหลากหลาย เช่น เล่มเกมส์ เล่นดนตรี ร้องเพลงให้กับเด็ก ๆ
  • 21. ญี่ปุ่น : มีโครงการอยู่หลายโครงการ แต่โครงการที่สำาคัญ โครงการหนึ่งคือ Hiroshima Summer School ซึ่งเป็นโครงการ ที่จัดขึ้นเพื่อให้คนรุ่นหลังตระหนักถึงผลกระทบของสงคราม โดย เป็นการเรียนรู้จากเหตุการณ์ในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึง ่ Hiroshima เป็นหนึงในสองจังหวัดของญี่ปุ่นที่ถูกระเบิดปรมาณู ่ ไทย : ได้แก่โครงการ Health as human rights ซึ่งเป็นโครงการที่ เกิดขึ้นจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงานของ IFMSA-Thailand ได้แก่ SCOPH SCORA และ SCORP โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือผู้ที่ ด้อยโอกาสทางสังคม โดยจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เป็นหลัก โดยเน้นทั้งทางด้านการให้การรักษาโรคเบื้องต้น และ การให้ความรู้เพื่อป้องกันโรค ทังนี้มีนักศึกษาแพทย์ และแพทย์ ้ เข้าร่วมโครงการเป็นจำานวนประมาณ 150 คน และมีประชาชนใน ชุมชนเข้าร่วมประมาณ 110 คน  ช่วงที่ 3 Farid Abdul Hadi ซึ่งเป็น IFMSA Regional Coordinator for Asia-Pacific 2006-2007 ได้เน้นถึง ความสำาคัญของปัญหาสิทธิมนุษยชนภายในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิค พร้อมทั้งสนับสนุนประเทศสมาชิกให้ริเริ่ม โครงการใหม่ ๆ มากขึ้น วันที่ 2 : 20 มีนาคม 2550  MDGs in Asia-Pacific region and reflections from SCORP Asia-Pacific ในช่วงนี้ Project Time Coordinator: Taketo Tanaka ได้กล่าวแนะนำาเกี่ยวกับ MDGs (Millennium Development Goals) ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำาหนดขึ้นโดย United Nations (UN) เพื่อการพัฒนาของแต่ละประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค โดย ให้ความสำาคัญแก่ปัญหาในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น ปัญหาความยาก จน การขาดอาหาร ปัญหาโรคระบาด ทีอยู่อาศัย และสิ่งแวดล้อม ่ เป็นต้น โดยมุ่งหวังว่าเป้าหมายดังกล่าวจะสำาเร็จลุล่วงได้ภายในปี 2015 MDGs ประกอบด้วยเป้าหมาย 8 ประการ คือ
  • 22. Goal 1 - Eradicate extreme poverty and hunger Goal 2 - Achieve universal primary education Goal 3 - Promote gender equality and empower women Goal 4 - Reduce child mortality Goal 5 - Improve maternal health Goal 6 - Combat HIV/AIDS, malaria and other diseases Goal 7 - Ensure environmental sustainability Goal 8 – Develop a global partnership for development วันที่ 3 : 21 มีนาคม 2550  ช่วงที่ 1 : Small working group : How to support the achievement of MDGs as SCORPions? เป็นการแบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อยทั้งหมดจำานวน 7 กลุ่ม โดยให้ภายในกลุ่มรวบรวมความคิดจากแต่ละประเทศ เพื่อสร้างโครงการ (Project ) ขึ้นตามเป้าหมายของแต่ละหัว ข้อของ MDGs หลังจากนั้นจึงนำามาเสนอและอภิปรายร่วมกัน  ช่วงที่ 2 : Setting plan of action for each country สมาชิกแต่ละประเทศร่วมกันระดมความคิดเพื่อสร้าง โครงการ (Project) ทีตรงตามเป้าหมายที่เป็นปัญหาสำาคัญภาย ่ ในประเทศ พร้อมทังนำาเสนอแก่เพื่อนประเทศสมาชิก ้ จากการเข้าร่วม Session SCORP นี้ ทำาให้ได้ทราบถึง สถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนปัจจุบันของแต่ละประเทศ รวมถึงการดำาเนินงานของ SCORPions จากประเทศอื่น ๆ นอก จากนี้ยังได้ตระหนักถึงปัญหาทางด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นภาย ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค พร้อมทั้งได้เรียนรู้ถึงการมีส่วนร่วมต่อ ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะขั้นตอนการริเริ่มสร้างโครงการใหม่ ๆ รวมถึงการจัดการบริหาร ทังด้านการหาเงินทุน และการจัดการ ้ งบประมาณ เป็นต้น ข้อเสนอแนะและปรับปรุง โดยรวมแล้วกิจกรรมดำาเนินไปด้วยดี อย่างไรก็ตาม น่าจะมี การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมประชุมให้มาก ยิ่งขึ้น ทังนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ้ ระหว่างประเทศต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
  • 23.
  • 24. SCORP กิจกรรม SCORP ของประเทศอินโดนิเซีย กิจกรรม SCORP ของประเทศไต้หวัน กิจกรรม SCORP ของประเทศญี่ปุ่น
  • 26. SCORA session เป็น 1 ใน 6 session ของสมาพันธ์ นักศึกษาแพทย์นานาชาติ (IFMSA) ทีจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุ ่ ประสงค์เพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพใน ด้าน reproductive health และเฝ้าระวังปัญหาโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเอดส์ ซึ่งถือว่าเป็นปัญหา ทางสาธารณสุขที่สำาคัญในระดับโลก นอกเหนือไปจากการจัด กิจกรรมภายในประเทศแล้ว ในการประชุมนี้ยังเปิดโอกาสให้ตัว แทนจากแต่ละประเทศนำาเสนอผลงานประจำาปี มีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างสมาชิกจากต่างประเทศ และนำาไปสู่การนำา รูปแบบการจัดกิจกรรมของประเทศอื่น ไปปรับใช้ในประเทศของ ตนเอง ตลอดจนมีการริเริ่มโครงการในอนาคตสืบต่อไป กิจกรรมที่จัดขึ้นภายใน SCORA session ได้แก่ Day 1 (19 March ,2007) ช่วงแรก Introduction  กิจกรรม Ice breaking และแนะนำาสมาชิกจากแต่ละประเทศ  การแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อให้สมาชิกร่วมกันร่างข้อตกลงเกี่ยว กับข้อควรปฏิบัติขณะทำากิจกรรมอยู่ใน session รวมถึงสิ่ง ที่คาดหวังจากการเข้าร่วม session  Vienna Rossimarina (Regional Assistant of SCORA ) แนะนำา SCORA Asia Pacific ช่วงที่สอง Presentation  ตัวแทนจากแต่ละประเทศนำาเสนอผลงานประจำาปี 2006 ประเทศไทย - International Condom Exhibition (ICE) เป็นการจัดนิทรรศการให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับสถานการณ์ เอดส์ในปัจจุบัน และจัดสาธิตเกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อ ป้องกันการติดโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ - Peer education
  • 27. เป็นการจัดอบรมนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยให้มีความรู้เกี่ยวกับ เพศศึกษา และนำาความรู้นั้นไปเผยแพร่แก่นักเรียนระดับมัธยม ศึกษาตอนปลายตามโรงเรียนต่างๆ - AIDS film festival จัดการฉายภาพยนตร์เรื่อง Philadelphia ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการ อยู่รวมกันในสังคมระหว่างคนปกติและผู้ติดเชื้อเอดส์ ่ - AIDS concert จัดการประกวดวงดนตรี และเวทีให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ - Health as a Human Right project (a project with SCORP and SCOPH) กิจกรรมออกตรวจสุขภาพชุมชน และจัดนิทรรศการให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคที่เป็นปัญหาสำาคัญทางสาธารณสุข โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะโรคเอดส์ การวางแผนครอบครัว จัด สาธิตการแปรงฟัน การใส่ถุงยางอนามัย และการแพทย์แผนไทย ประเทศอินโดนีเซีย - Health campaign for teenagers by Islamic relief-CIMSA รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในด้านต่างๆ รวมถึงการให้ความรู้เกี่ยวกับ เพศศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นมุสลิม - World AIDS Day’s activities - Preventive HIV/AIDS for earthquake victims จัดการอบรมความรู้ด้านเพศศึกษา การป้องกันและเฝ้าระวัง ปัญหาโรคเอดส์ในกลุ่มผู้ประสบภัยธรรมชาติ ประเทศญี่ปุ่น - Peer education in high school students การจัดอบรมความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา และรักในวัยเรียนในกลุ่ม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย - Exchange cigarettes for a condom on the street (a project with SCOPH) โครงการนำาบุหรี่มาแลกถุงยางอนามัย Day 2 (20 March ,2007) ช่วงแรก Coordinating session with SCOPH  กิจกรรม Ice breaking  Small group discussion on “ TB&HIV situation in each country”  ประเทศไทย
  • 28. - สาเหตุหลักของการติดเชื้อเอดส์มาจากทางเพศสัมพันธ์ โดยมาในรูปแบบของการค้าบริการทางเพศทั้งแบบโดยตรงและ แอบแฝง รวมถึงการเพิ่มจำานวนของชายรักร่วมเพศ  ประเทศอินโดนีเซีย - มีอุบัติการณ์เกิดโรควัณโรคในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์สูงเป็น อันดับสามของโลก - 70% ของผู้ติดเชื้อเอดส์มีสาเหตุมาจากการใช้ยาเสพติด ชนิดฉีดเข้าเส้น  ประเทศญี่ปุ่น - มีการเพิ่มจำานวนของประชากรผู้ติดเชื้อเอดส์ ในขณะที่ จำานวนผู้เป็นวัณโรคยังไม่สูงมากนัก - รัฐบาลจัดบริการ HIV screening ให้แก่ประชาชนโดย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ช่วงที่สอง Specific issues discussion of SCORA in small working group  HIV&TB  Peer education +Having sex before marriage  Female cervical cancer Day 3 (21 March ,2007)  กิจกรรม Ice breaking  Presentation about next activities in each country  ประเทศไทย - ขยายผลกิจกรรม Peer education - AIDS tour เป็นการจัดทัศนศึกษาและหารายได้สมทบทุน กองทุนวัดพระบาทนำ้าพุ - Anti-TB project เป็นการจัดรณรงค์ให้ความรู้ และ/หรือ นิทรรศการเกี่ยวกับวัณโรคและโรคเอดส์  ประเทศอินโดนีเซีย - HIV-TB transnational project - Peer education in outreach people - Contraceptive screening in outreach people - Exhibition about reproductive health  ประเทศญี่ปุ่น - สร้างเวปไซด์เพื่อรวบรวมเนื้อหาและกิจกรรมเกี่ยวกับการ ป้องกันโรคเอดส์ - ขยายผลกิจกรรม Peer education
  • 29. - Training program - Summer school (study tour) สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วม SCORA session - เป็นการสร้าง connection ของนักศึกษาแพทย์ผู้ทำา กิจกรรมในด้าน reproductive health ในแต่ละประเทศ - เรียนรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมในแต่ละประเทศที่มี ส่วนกำาหนดนโยบายสาธารณสุขเกี่ยวกับด้านการให้ความรู้ การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - แลกเปลียนประสบการณ์ทำางาน และความคิดเห็นเกี่ยวกับ ่ ปัญหาทางสาธารณสุขในด้าน reproductive health ใน แต่ละประเทศสมาชิก - นำาแนวคิดหรือรูปแบบการทำากิจกรรมของประเทศสมาชิก ไปปรับใช้ในการทำากิจกรรมของประเทศไทยต่อไป สิ่งที่ควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะ - การจั ด สรรเวลาสำา หรั บ กิ จ กรรมในแต่ ล ะช่ ว งยั ง ไม่ ค่ อ ย เหมาะสม บางครั้งปล่อยให้ประชุมแสดงความคิดเห็นภาย ในกลุ่มย่อยนานเกินไป ทำาให้เหลือเวลาน้อยสำาหรับการนำา เสนอข้อสรุปในวงประชุมใหญ่ จึงควรจัดสรรเวลาให้เหมาะ สมกว่านี้ - กิ จ กรรม Ice breaking ยั ง ช่ ว ยให้ เ กิ ด การสานสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งสมาชิ ก จากแต่ ล ะประเทศได้ ไ ม่ ดี นั ก อี ก ทั้ ง รู ป แบบการทำา กิจ กรรมมั ก จะเน้ น การประชุ ม เป็ น ประเทศ ทำา ให้ไม่ค่อยสนิทกับสมาชิกจากประเทศอื่นเท่าที่ควร
  • 30. SCORA ร่างข้อควรปฎิบัติขณะอยู่ใน session ร่วมกัน โปสเตอร์แสดงผลงาน ของแต่ละประเทศ Project presentation SCORA-SCOPH coordinating session Next project
  • 31. Agenda Day1 : Welcome to SCOPH (3 Hours) 18.00-18.20 :: Ice-Breaking เป็นกิจกรรมแนะนำาตัว ให้สมาชิก ตื่นตัว 18.20-18.40 :: Welcome briefing from the Regional Assistant-SCOPH (Kevin) 18.40-19.50 :: Presentations from each NMOs” 19.50-20.00 :: Coffee Break 20.00-21.00 :: Some of the most critical health issues in Asia-Pacific? วันแรกเป็นการแนะนำาเกี่ยวกับ SCOPH และให้แนะนำาตัวทำาความ รู้จักกัน โดยวิทยากร คือ Aamir Abbas (Regional Coordinator for Asia Pacific for Public Health) และ Kevin (Regional Assistant of SCOPH) โดยสมาชิก SCOPH ซึ่งเรียกกันในนามของ SCOPHians นั้น ร่วมเข้าฟังการบรรยายแนะนำา และรายงาน project ต่างๆ ที่SCOPH จัดขึ้น และยังมีการนำาเสนอ project ของแต่ละประเทศ ซึ่งประเทศไทยก็ได้นำาเสนอ project ทีนักศึกษาแพทย์ศิริราช ่ ชั้นปีที่3 ออกชุมชน และตอนท้ายของ session ก็มีการอภิปราย เรื่องปัญหาสุขภาพของประชากรในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก สิ่งที่ได้รบ :: มีความรู้เกี่ยวกับ SCOPH มากขึ้น และได้รู้ถึงปัญหา ั สุขภาพของคนในกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิกทั้งจากที่อภิปราย และจากการนำาเสนอโครงงานของแต่ละประเทศ ซึ่งได้ประโยชน์ และจะนำามาซึ่งแนวคิดที่จะทำาโครงงานใหม่ๆต่อไป Day2 : 15.30-15.50 :: The Name Game 15.50-16.30 :: TB/AIDS session (SCOPH-SCORA joint session) 16.30-17.10 :: Small Working Group formation and presentation
  • 32. 17.10-18.00 :: Small Working Groups Discussion ช่วงแรกของ session จะเป็น session ร่วมกันกับ SCORA เพื่อ discuss กันเรื่องของโรค เอดส์ และวัณโรค ว่ามีความเกี่ยว ข้องกันอย่างไรในแต่ละประเทศในกลุ่มเอเชีย แปซิฟิก ซึ่งก็จะ แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ(Small Working Groups:SWGs) ให้แต่ละ กลุ่มมีสมาชิกหลากหลายประเทศคละกันไป หลังจากนั้น เป็น session SCOPH เหมือนปกติ โดยวันนี้มีการแบ่งเป็น SWGs ทั้งหมดสามกลุ่ม เพื่อศึกษาในสามหัวข้อ คือ Disaster management Anti-tobacco Maternal and child health โดยให้ออกแบบโครงงานว่าจะแก้ปัญหาในสามหัวข้อนี้อย่างไร โดยแบ่งเป็นวัตถุประสงค์โครงงาน เป้าหมาย วิธีปฏิบัติ และงบ ประมาณที่ต้องใช้ สิ่งที่ได้รบ :: ข้าพเจ้าได้เลือกหัวข้อ Anti-tobacco เพราะว่าเคย ั ได้มีส่วนร่วมของโครงการนี้มาก่อนแล้ว ประโยชน์ที่ได้ก็คือ ได้ ความคิดของคนในกลุ่มว่ามีความคิดเห็นอย่างไร ซึ่งบางความคิด เป็นมุมมองที่ข้าพเจ้ามองไม่เห็น ทำาให้เปิดโลกทัศน์ของตัวเอง ให้กว้างขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นการฝึกทำางานกลุ่ม และได้ความรู้ เกี่ยวกับสถิติการสูบบุหรี่ของประชากรในแต่ละประเทศในภูมิภาคนี้ อีกด้วย Day3 : 15.30-15.40 :: Game 15.40-16.20 :: Obesity session 16.30-17.15 :: SWGs session 17.15-17.45 :: Suggestions to make SCOPH more effective in the region 17.45-18.00 :: Evaluation and SCOPH picture สิ่งที่ได้รบ :: ช่วงแรก Kevin วิทยากร ก็ได้นำาเสนอถึงปัญหาโรค ั อ้วนซึ่งเป็นปัญหาที่สำาคัญมากในสังคมปัจจุบัน และประเทศ อินโดนีเซียก็ได้มีโครงงานมานำาเสนอเกี่ยวกับเรื่องนี้ ทำาให้ได้
  • 33. ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วนมากขึ้น เพื่อจะได้นำาไปเผยแพร่โดยการ สร้างโครงการรณรงค์การป้องกันโรคอ้วน ในประเทศไทย ต่อมาก็มีการแบ่ง SWGs ต่อจากเมื่อวานนี้ และนำาเสนอโครงงาน ของแต่ละกลุ่มย่อย และตอนสุดท้ายก็มีการวิเคราะห์กันว่าความ รูที่ได้รับในการประชุมครั้งนี้ จะนำาไปทำาอย่างไรเพื่อพัฒนา ้ ประเทศของตน ข้อคิดเห็น :: มีปัญหาเรื่องภาษาในบางคน ทำาให้การสื่อสารเป็น ไปด้วยความยากลำาบาก แต่ก็มีการแก้ปัญหาด้วยการ เปิด dictionary ควบคู่กันไป รวมถึงการใช้ภาษาท่าทางต่างๆ
  • 34. Group Dynamics/Exploring own Leadership skills Chatsuda Mongkoltanatas Presentation Skills Chutikarn Thaisriwong Patsaree Patanasuwana Project management training Nattagan Tanwong Leadership Bhurinud Salakij Nitcha Wongtim Saetawu Lertlukpreecha Satita Aimprasittichai Sikarin Upala Strategic Planning Yada Manomaiphan Pennapa Kaweewongprasert Maynart Sukharomana Natdanai Punnanithi Ekkamol Phaibulvatanapong Chartchai Savetsila
  • 35. กิจกรรมมี 1 วัน คือ วันที่ 19 มีนาคม 2550 เวลา 9.00 -11.00 น. มี Trainer ชื่อ Zuzka เวลา 9.00-9.15 น. Introducing game เริ่มแรกให้มีการจับคู่กับเพื่อนที่ไม่เคยคุยกันแล้วแนะนำาตนเอง ให้อีกคนฟัง จากนั้นทุกคนก็มายืนเรียงกันเป็นวงกลมแล้วให้แต่ละ คนแนะนำา partner ของตนเองสลับกันไปจนครบ เวลา 9.15-10.00 น. Interactive lecture of Team มีการสอนของ trainer ซึ่งจะมีการให้แสดงความคิดเห็นและ brainstorm อยู่ตลอด ทำาให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมและรู้สึกสนุกไปกับบท เรียน เป็นการทำาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ทำาให้เข้าใจความหมายของ TEAM ซึ่งก็คือ Together Everyone Achieve More และ characteristic ของมันก็คือ จะต้องมีเป้าหมาย(goal) ,มีจำานวนคน (สมาชิก ) มากกว่า 1,มี structure,position,interaction, และ cohesiveness ตระหนักถึงสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ teamwork คือ การ recognize และ respect ความแตกต่างของแต่ละคนที่ทำางานด้วย นอกจากนี้ก็คือ จะต้องให้ความเชื่อใจและไว้วางใจแก่ทุกๆคนที่เรา ได้ร่วมงานด้วย ทำาให้ทราบถึงข้อเสียของการทำางานเป็นทีม ได้แก่ สิ้นเปลืองเวลา,ความรับผิดชอบไม่เท่ากัน,การที่มีความคิดเห็นต่าง กันอาจนำาไปสู่ความขัดแย้ง,ต้องมีการเสียสละเวลาว่างเพื่อมาทำา งานให้แก่ทีม,ปัญหาทางด้านการติดต่อสือสาร เช่น language ่ barrier, cultural difference และรู้ว่าองค์ประกอบของการทำางาน เป็นทีมต้องประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีบทบาทต่างๆกันดังนี้ 1.leader 2. members 3.activists 4.passive นอกเหนือไปจากนี้ยังทำาให้ เข้าใจวิธีการสร้างความเป็นทีม (teambuilding) โดยการที่จะรวบ รวมคนจำานวนหนึ่งให้เป็น group แล้วเปลี่ยนแปลงให้เป็นทีม ได้ จะต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันโดยมีกิจกรรมทำาร่วมกัน มี การพบปะพูดคุยกันใน social gathering ต่างๆ ได้แก่ Regular meeting, Christmas party, Dinner/Coffee, Music concert/club ฯลฯ เวลา 10.00-10.10 น. Break
  • 36. เวลา 10.10-10.30 น. Game แบ่งผู้เข้าร่วมออกเป็น 3 กลุมใหญ่ โดยให้สมาชิกทุกคนยืน ่ บนแผ่นกระดาษแผ่นใหญ่ที่มีรูปคนไข้วาดอยู่ทั้ง 2 ด้าน ด้านที่เริ่ม ต้นเป็นภาพที่คนไข้มาหาหมอคือมีการได้รับบาดเจ็บมายังห้อง ฉุกเฉิน สิ่งที่ต้องทำาคือช่วยกันรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้หายซึ่งก็คือ พลิกกระดาษไปยังอีกด้านหนึ่งที่มีรูปหน้าคนไข้ยิ้มแสดงถึงการหาย จากการบาดเจ็บให้ได้ โดยเท้าของสมาชิกในกลุ่มห้ามแตะพื้น และแต่ละกลุ่มจะมีผู้สังเกตการณ์ 1 คนคอยดูอยู่ห่างๆ เมื่อทุกกลุ่ม สามารถพลิกกลับได้แล้วก็จะมีการประเมินความเสียหายของกระดาษ และขอคำาวิจารณ์การทำางานของแต่ละกลุ่มจากผู้สังเกตการณ์ว่ามี การทำางานเป็นทีมหรือไม่ ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร เวลา 10.30-11.00 น. Interactive lecture of Leadership มีการ lecture ลักษณะเช่นเดียวกับในตอนต้น เรื่อง ผู้นำา ทัง้ ความสำาคัญของตำาแหน่งนี้ที่จำาเป็นต่อการทำางานเป็นทีม และ คุณสมบัติของผู้นำาที่ดี ทำาให้ทราบถึงคุณสมบัติสำาคัญที่ leader จำา เป็นต้องมี เช่น มีความรับผิดชอบสูง กระตือรือร้น มั่นใจในตนเอง ยืดหยุ่นได้ มีวินย มีวิสัยทัศน์ มีความอดทน ฯลฯ เพื่อทำาให้ทีมมี ั การตำาเนินงานไปได้อย่างราบรื่น สำาเร็จบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันที่ตั้ง เอาไว้ได้ ข้อบกพร่องและเสนอแนะ - ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ที่ดีมากมาย และข้อคิดหลายอย่าง สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้จริงในหลายสถานการณ์ น่าจะมี การเพิ่มเวลามากกว่านี้อีก 1 ชั่วโมง เพราะคิดว่าน่าจะได้อะไร เพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์อีกมาก - เวลาแบ่งกลุ่มเล่นเกมน่าจะมีการกระจายคนจากประเทศเดียว กันให้กระจายๆกันไปในหลายๆกลุ่ม ไม่อยู่กลุ่มเดียวกันหลาย คนเกินไป เพราะมีโอกาสที่จะเผลอสื่อสารกันด้วยภาษาของ ตนเองมาก ไม่ใช้ภาษาอังกฤษ ทำาให้สมาชิกคนอื่นๆในกลุ่ม ไม่เข้าใจและอาจจะรู้สึกไม่ดีกับการกระทำาเช่นนั้น เนื่องจาก ไม่มีโอกาสเสนอความคิดเห็น เป็นส่วนหนึ่งของทีมเลย หลังจากนั้นก็เริ่มเข้าสู่บทเรียนโดยมี trainer เป็นผู้สอนและให้ สมาชิกได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น brainstorm เป็นระยะๆ พอ ถึงการสอนเรื่อง teamwork ก็ได้มีการให้เล่นเกมที่จะสื่อให้เห็นถึง การทำางานเป็นทีม แล้วก็ต่อด้วย lecture จนจบ สิ่งที่ได้รบั
  • 37. - ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆมากมาย - เข้าใจความหมายของ TEAM ซึ่งก็คือ Together Everyone Achieve More และ characteristic ของมันก็คือ จะต้องมีเป้า หมาย(goal) ,มีจำานวนคน (สมาชิก ) มากกว่า 1,มี structure,position,interaction, และ cohesiveness - ตระหนักถึงสิ่งที่สำาคัญที่สุดของ teamwork คือ การ recognize และ respect ความแตกต่างของแต่ละคนที่ทำางานด้วย นอก จากนี้ก็คือ จะต้องให้ความเชื่อใจและไว้วางใจแก่ทุกๆคนที่เรา ได้ร่วมงานด้วย - ทราบถึงข้อเสียของการทำางานเป็นทีม ได้แก่ สิ้นเปลืองเวลา, ความรับผิดชอบไม่เท่ากัน,การที่มีความคิดเห็นต่างกันอาจนำา ไปสู่ความขัดแย้ง,ต้องมีการเสียสละเวลาว่างเพื่อมาทำางานให้ แก่ทีม,ปัญหาทางด้านการติดต่อสือสาร เช่น language ่ barrier, cultural difference - รู้วาองค์ประกอบของการทำางานเป็นทีมต้องประกอบด้วยกลุ่ม ่ คนที่มีบทบาทต่างๆกันดังนี้ 1.leader 2. members 3.activists 4.passive - เข้าใจวิธีการสร้างความเป็นทีม (teambuilding) โดยการที่จะ รวบรวมคนจำานวนหนึ่งให้เป็น group แล้วเปลี่ยนแปลงให้เป็น ทีม ได้ จะต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันโดยมี กิจกรรมทำาร่วมกัน มีการพบปะพูดคุยกันใน social gathering ต่างๆ ได้แก่ Regular meeting, Christmas party, Dinner/Coffee, Music concert/club ฯลฯ - ทราบถึงคุณสมบัติที่ leader จำาเป็นจะต้องมี เช่น มีความรับ ผิดชอบสูง กระตือรือร้น มั่นใจในตนเอง ยืดหยุ่นได้ มีวินัย มี วิสัยทัศน์ มีความอดทน ฯลฯ
  • 38. การนำาเสนอผลงานเป็นทักษะหนึ่งที่มีความสำาคัญต่อการ ดำาเนินงานในด้านต่าง ๆ ทังนี้การนำาเสนอที่ดีย่อมเสริมให้ผลงาน ้ เป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในระดับนานาชาติ การนำาเสนอ ผลงานเป็นภาษาอังกฤษเป็นสิ่งที่ผู้นำาเสนอจำาเป็นต้องมีการเตรียม ความพร้อม ทังทางด้านข้อมูล นำ้าเสียง การใช้คำาพูด การวางท่าทาง ้ เป็นต้น ซึ่งทักษะดังกล่าวนี้เป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลสามารถฝึกฝนและ พัฒนาตนเองให้ดีขึ้นได้ สำาหรับใน Training session นี้ มีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมมีความพร้อมที่จะนำาเสนอผลงานด้วยความเชื่อมั่น รวมถึง ช่วยลดความประหม่าในขณะนำาเสนอผลงานต่อหน้าสาธารณชน กิจกรรมภายใน Training session ซึ่งนำาโดย Training Director: Louise Hammer Pettersen ประกอบด้วย  Ice Breaking Game  Lecture :  Communication สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. Verbal Communication อันได้แก่ Speaking, Writing, Reading and Listening 2. Non-verbal Communication อันได้แก่ Eye contact, Body language, General appearance โดยในการสื่อสารทั่วไปนั้น ใช้ Body language ถึง 58 %, 35% ผ่านทาง tone of voice และสำาหรับ Words นั้นใช้เพียง 7% ของทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีการแนะนำาถึงสิ่งที่ควรทำาและไม่ควรทำา ทัง ้ ในฐานะของผู้นำาเสนอ และผู้ฟัง รวมถึงให้มีการสนทนาแลก เปลียนความคิดเห็นของตนกับเพื่อนข้างเคียง ่  Presentation Skills ในการนำาเสนอผลงานที่ดีนั้น นอกเหนือจากการเตรียม ข้อมูลให้พร้อมแล้ว สิ่งที่ควรให้ความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน คือ Appearances ของผูนำาเสนอ ซึ่งประกอบด้วย ้ 1. Grounding and Hand Movement ผู้นำาเสนอต้องยืนในท่าที่มั่นคง โดยมีการถ่ายเทนำ้าหนักตัว ลงสู่เท้าทั้งสองข้างอย่างเท่าเทียมกัน สำาหรับ Hand movement นั้น
  • 39. ขึ้นกับความถนัดของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตามผู้นำาเสนอไม่ควร วางมือในท่าที่เกร็ง หรือขยับมากเกินไป เนื่องจากเป็นการแสดง ออกถึงความประหม่าของตนเอง 2. Voice ผู้นำาเสนอต้องเลือกใช้เสียงให้เหมาะสมกับสถานที่และ จำานวนผู้ฟัง ไม่ใช้เสียงที่ราบเรียบเกินไปในการบรรยาย การเน้น เสียงในจังหวะที่เหมาะสม จะช่วยดึงความสนใจของผู้ฟังได้มากขึ้น 3. Breaks ผู้นำาเสนอควรมีการเว้นจังหวะการพูดเป็นระยะ ทังนี้เพื่อให้ ้ ผู้ฟังได้มีเวลาในการทำาความเข้าใจ และคิดตามได้ทัน 4. Walk- Stop-Talk- Walk เป็นหนึ่งในวิธีที่ช่วยดึงความสนใจของผู้ฟัง ทังนี้ควร ้ พิจารณาความเหมาะสมของสถานที่บรรยายร่วมด้วย 5. Eye Contact ผู้นำาเสนอควรมี Eye contact กับผู้ฟง ไม่ควรจ้องมองจุด ั ใดจุดหนึ่ง หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพียงคนเดียว สำาหรับการ บรรยายที่มีจำานวนผู้ฟังมาก ผูนำาเสนออาจใช้การเลือกบุคคล 3 คน ้ ในตำาแหน่งที่ต่างกัน เพื่อเป็นตัวแทนของผู้ฟังทั้งหมดได้  Practice within small groups ผู้ร่วมกิจกรรมถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อย โดยในแต่ละกลุ่มมี สมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ประมาณ 5 คน โดยทุกคนจะผลัดกันขึ้น มานำาเสนอหัวข้อที่ตนเองเลือก คนละประมาณ 5 นาที สมาชิกใน กลุ่มที่เหลือจะเป็นผู้ให้ Feedback เกี่ยวกับ presentation skills ทัง ้ 5 อย่างตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ในการ Feedback นั้น เราได้เรียนรู้ว่าการ Feedback ทีดีนั้น ่ ควรเป็นการให้ความเห็นในสิ่งที่ผู้นำาเสนอสามารถปรับปรุงและ เปลียนแปลงตนเองได้ นอกจากนี้ ควรให้การ Feedback ใน ่ ลักษณะที่เป็น PNP sandwich คือเริ่มและจบด้วยการให้คำาชมเชย ส่วนสิ่งควรได้รับการแก้ไขนั้น ให้นำามาพูดในตอนกลาง สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนอกเหนือจากเนื้อหาที่กล่าวมา ข้างต้น ได้แก่ วิธีการในการควบคุมความประหม่าของตนเองใน การนำาเสนอผลงานเพื่อให้นำาเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ฝึกตนเองในการให้ Feedback แก่ผู้อื่น รวมถึงเป็น ฝ่ายรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นด้วยใจที่เปิดกว้าง เพื่อให้เกิดการ
  • 40. พัฒนาตนเองต่อไป นอกจากนี้ยังได้นำาทักษะและความรู้ที่ได้ไปใช้ ในการนำาเสนอผลงานของประเทศไทยใน Standing Committee Session รวมถึงต่อไปในภายภาคหน้า ข้อเสนอแนะและปรับปรุง เวลาที่ใช้ใน Training session มีน้อยไป โดยเฉพาะในช่วง practice within small group น่าจะมีเวลาใช้ training director ได้ ให้คำาแนะนำาแก่ผู้นำาเสนอผลงานด้วย วัตถุประสงค์ : เรียนรู้การเริ่มต้นสร้าง project และการนำา ทรัพยากรรวมทั้งบุคคลากรที่มีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ - วางแผนและเรียนรู้วิธีการเสนอโครงงาน - รูปแบบของ IFMSA project - การหาทีม การสร้างทีม
  • 41. เราจะเริ่มต้นสร้าง project อย่างไร? Group VS Team Group ต่างกับ Team อย่างไร? Group - เราสร้าง Group ก่อนสร้าง Team - Group คือ กลุ่มคนที่มีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันมา รวมตัวกัน มาแลกเปลี่ยนกัน เช่น คนยืนรอแถวรถเมย์ ก็เรียกว่า Group ได้ - สมาชิกใน Group อาจไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากนัก Team
  • 42. - Team มีความร่วมมือร่วมแรงมากกว่า มีความสัมพันธ์กัน มากกว่า มีการลงมือทำามากกว่า - เมื่อเป็น Team เราทำางานไปด้วยกัน How to make a Group? Why is gathering? เรารวมกลุ่มกันเพื่ออะไร? o เพื่อรู้จักคนอื่นๆ ที่มีความคิดไปในทางเดียวกัน o เพื่อระดมความคิดใหม่ๆ o เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำางาน เพราะแต่ละคน ถนัดต่างกัน o เพื่อรับรู้ว่าเราไม่ได้โดดเดี่ยวในการพยายามสร้าง ความแตกต่าง หรือทำาบางอย่าง How can you gather? จะรวมกลุ่มกันอย่างไร? o รู้ความสามารถของตัวเอง o หาผู้คนที่สนใจ o หาคนที่มีความสามารถในด้านที่คุณขาด “ควรแน่ใจตั้งแต่ต้น ว่าทุกคนมีเป้าหมาย เดียวกัน” How to make a Team? Team พัฒนาเติบโตมาจาก Group ทีมีความร่วมมือในการลง ่ มือทำาอะไรบางอย่างร่วมกันอย่างจริงจัง ไปในทิศทางเดียวกัน ต้อง มีการประสานงานกัน เข้าใจกัน ทำางานไปด้วยกัน 4 ขั้นตอนในการพัฒนาไปสู่ Team Formimg แบ่งหน้าที่ Storming ระดมความคิด
  • 43. Norming รับรู้ว่าวัฒนธรรมองค์กรเราเป็นอย่างไร เรามี ความคิดพื้นฐานอะไรร่วมกันบ้าง Performing ลงมือทำา วิธีการในการช่วยวางแผน project และ ช่วยแก้ปัญหา SWOT analysis Strength Weakness Opportunity Threat เขียนสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับ project เราลงไป เพื่อมองเห็นภาพโดยรวม - Strength และ Weakness เป็นองค์ประกอบภายในที่เกิด จากคน - Opportunity และ Threat เป็นองค์ประกอบภายนอก ประโยชน์ที่ได้รับ - ได้เรียนรู้วิธีการสร้าง project และการทำาให้ project เกิด ขึ้นจริง - การสร้างแรงบันดาลใจ เป็นการกระตุ้นตัวเองให้มีความคิดริ เริ่มสร้างสรรค์ - การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น - การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
  • 44. กิจกรรม Check in: Say your name, your country and ‘check in’ Brainstorming about the most important quality of the leader, work in group and group presentation. Activity: motivation, work in group about how to motivate/manage someone to do something. Time management: work out about what you should do next. Check out: Say your name, your country, tell others about what you got from the activity and ‘check out’ สิ่งที่ได้รบ ั - ได้รู้จักเพื่อนใหม่ๆมากมาย - ทราบถึงคุณสมบัติที่ leader จำาเป็นจะต้องมี เช่น มีความรับ ผิดชอบสูง กระตือรือร้น ยืดหยุ่นได้ มีวินัย มีวิสัยทัศน์ มีความ อดทน รับฟังความคิดเห็น - เข้าใจวิธีการบริหารจัดการคนการทำางานอย่างมีประสิทธิภาพ - เข้าใจวิธีการแบ่งเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ ความคิดเห็น โดยนางสาวสาธิตา อิ่มประสิทธิชัย, นายสิขริณญ์ อุปะ ละ เป็ น กิจ กรรมที่ ฝึ กให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มมี ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งของการเป็ น ผู้นำา ซึ่งมีการบอกถึงคุณลักษณะที่ดีของการเป็นผู้นำา ที่พึงมี ดังนี้ ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความขยันหมั่นเพียร เป็นต้น รวมทั้ ง การปฏิ บั ติ ต นต่ า งๆเมื่ อ ได้ เ ป็ น ผู้ นำา นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ ความรู้เกี่ยวกับ แรงจู ง ใจของตนเอง โดยที่ คนเราควรสร้ า งจุ ดมุ่ ง หมายใน ชีวิตเพื่อดำาเนินไปสู่เป้าหมายนั้นๆ การจัดการเวลา โดยการทำาตารางเขียนหัวข้อถึงสิ่งที่ต้องทำา โดยมีการจัดลำาดับความสำาคัญก่อนหลังด้วย การจั ดการกับ ความเครี ย ด เมื่ อ เกิ ดความเครี ย ด ควรหาวิ ธี แก้ปัญหาที่เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด ทักษะในการสื่อสาร ผู้นำา ที่ดีนั้นต้องสามารถสื่อสารให้กับผู้ อื่นรู้เรื่องและถูกต้อง วิธีการเรียน
  • 45. โดยกิ จ กรรมนั้ น มี ผู้ ม าบรรยาย ประกอบกั บ การระดมความ คิ ด ของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ สอดแทรกเกมต่ า งๆทำา ให้ กิ จ กรรมดั ง กล่ า วเกิ ด ประโยชน์ แ ก่ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มมาก โดยที่ ไ ม่ น่ า เบื่ อ จนเกิ น ไป ซึ่งสิ่งที่ได้รับนั้นมีค่ามากและสามารถนำา ไปปรับใช้ในชีวิตประจำา วันได้
  • 46. Strategic Planning What is strategic planning? เป็นหลักการวางแผนงานต่างๆ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหา และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้ Step A: the plan! เลือกวิธีการจัดการและตั้งเป้าหมายสำาหรับกระบวนการวางแผน Step B: the vision statement! กำาหนดนิยามของการบรรลุเป้าหมายให้ชัดเจน Step C: the mission statement! purpose วางแนวทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย Step D: the SWOT-analysis S Strenghts W Weaknesses O Opportunities T Threats พิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ทังภายนอกและภายใน ทีอาจมีผลต่อการ ้ ่ บรรลุเป้าหมาย Internal Strength Weakness External Opportunity Threat Step E: the objectives! การวางจุดประสงค์ต้องเป็นไปตามหลัก SMART: S Specific M Measureable A Achievable R Reasonable T Timebound