SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
√—°…“„®¬“¡ªÉ«¬‰¢â
æ√–æ√À¡§ÿ≥“¿√≥å ( ª.Õ. ª¬ÿμ⁄‚μ )
∏√√¡°∂“ ”À√—∫ºŸâªÉ«¬
∏√√¡°∂“ ”À√—∫≠“μ‘¢ÕߺŸâªÉ«¬
อนุโมทนา
คณะผูมีจิตศรัทธา ไดแจงฉันทเจตนาขอพิมพหนังสือ
รักษาใจยามปวยไข ของพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ
(ป. อ. ปยุตฺโต) เพื่อแจกมอบเปนธรรมทานแกญาติมิตร และ
ผูสนใจทั่วไป
การพิมพหนังสือแจกเปนธรรมทานนั้น นับวาเปนการ
ใหอยางสูงสุด ที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวา เปนทานอันเลิศ
ชนะทานทั้งปวง เปนการแสดงน้ําใจปรารถนาดีอยางแทจริงแก
ประชาชน ดวยการมอบใหซึ่งแสงสวางแหงปญญาและทรัพย
อันล้ําคาคือธรรม ที่จะเปนหลักนําประเทศชาติใหพัฒนาไปใน
วิถีทางที่ถูกตอง และเปนไปเพื่อประโยชนสุขที่แทและยั่งยืนแก
ชีวิตและสังคม
ขออนุโมทนาธรรมทานบุญกิริยาที่ คณะผูมีจิตศรัทธา
ในวาระนี้ ขอกุศลจริยาที่ไดบําเพ็ญ จงเปนปจจัยอํานวย
จตุรพิธพรแกทานผูประกอบจาคธรรม และนํามาซึ่งความเกษม
ศานตสถาพรแหง สังคมประเทศชาติยั่งยืนนานสืบไป
วัดญาณเวศกวัน
๑ มิถุนายน ๒๕๕๒
สารบัญ
อนุโมทนา (๑)
ธรรมกถาสําหรับผูปวย
รักษาใจยามปวยไข ๑
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๑๗
ธรรมกถาสําหรับผูปวย
รักษาใจยามปวยไข∗
เราทั้งหลายที่เปนพุทธศาสนิกชนนั้น นับถือ
พระรัตนตรัยเปนที่เคารพบูชาสูงสุด พระรัตนตรัย
นั้น ก็คือ พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ ถา
ยึดเอาพระพุทธเจาเปนหลัก พระพุทธเจาก็เปนผูที่
ไดตรัสรูคนพบพระธรรม เมื่อคนพบแลวรูความจริง
ก็นําเอาธรรมนั้นมาสั่งสอนแกผูอื่น ผูที่ปฏิบัติตาม
รวมกันเขาก็เรียกวาเปนสงฆ
∗
บันทึกเสียงสําหรับคุณโยมยิ้น จันทรสกุล ในวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๑
เวลา ๒๐.๐๐ น.
๒ รักษาใจยามปวยไข
พระพุทธเจาที่ทรงคนพบพระธรรมนั้น ก็คือ
คนพบความจริงเกี่ยวกับเรื่องโลกและชีวิตวาเปน
อยางไร พระพุทธเจานั้นทรงสนพระทัยเรื่องความสุข
ความทุกขของมนุษย และพระองคก็ใชเวลามากมาย
ในการคนควาเรื่องนี้ เพื่อใหรูชัดวา มนุษยนั้นมี
ความสุขความทุกขเกิดขึ้นอยางไร ถามีปญหาคือ
ความทุกขเกิดขึ้น จะแกไขอยางไร เรียกไดวา
พระองคเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องชีวิต เพราะฉะนั้น
พระองคจึงสามารถในการที่จะแกปญหาชีวิตของ
คนเรา และเราก็นับถือพระองคในแงนี้เปนสําคัญ
ชีวิตของคนเรานั้น ประกอบดวยกาย กับ ใจ
มีสองสวนเทานั้น กายกับใจรวมเขาเปนชีวิตของเรา
กายก็ตาม ใจก็ตาม จะตองใหอยูในสภาพที่ดี ตอง
รักษาไวใหมีสุขภาพดี จึงจะมีความสุข ชีวิตจึงจะ
ดําเนินไปโดยราบรื่น
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๓
แตคนเรานั้น จะใหเปนไปตามที่ปรารถนาทุก
อยาง ก็เปนไปไมได รางกายของเรานี้บางครั้งก็มี
ความเจ็บไขไดปวย ซึ่งอาจจะเปนเพราะสาเหตุ
เนื่องจากการกระทบดวยโรคภัยที่มาจากภายนอก
หรือฤดูกาลผันแปรไป หรือถูกกระทบกระทั่งจาก
วัตถุสิ่งของที่แข็งกระดาง แมแตหนามตําทําใหเกิด
ความเจ็บปวดขึ้น หรือวารางกายนั้นอยูไปนานๆ เขา
ก็ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา รางกายก็เจ็บไขไดปวย
อันเปนไปตามธรรมดา เรียกวาเปนลักษณะของ
สังขาร คือ สิ่งที่เกิดจากปจจัยปรุงแตง ซึ่งไมมีอยู
โดยตัวของมันเอง แตอาศัยสิ่งหลายๆ อยางมา
ประชุมกันเขา มารวมตัวกันเขา
รางกายของเรานี้เกิดจากปจจัยหลายอยาง
มาประกอบกันเขา ภาษาเกาๆ เราเรียกวา เกิดจาก
ธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ มาประชุมกัน ธาตุเหลานี้แตละ
๔ รักษาใจยามปวยไข
อยางก็เปลี่ยนแปลงไป ไมเที่ยงแทแนนอน ตางก็ผัน
แปรไป เมื่อแตละอยางผันแปรไป ก็เปนธรรมดา
ที่วาจะเกิดการแปรปรวนขึ้นแกรางกายที่เปนของ
สวนรวมนั้น ซึ่งเปนที่ประชุมของธาตุทั้งหมด
รางกายแปรปรวนไปก็เกิดการปวยไขไมสบาย นี้ก็
เปนดานหนึ่ง
ทีนี้ รางกายนั้นก็ไมไดอยูลําพัง ตองอยู
รวมกันกับจิตใจ จึงจะเกิดเปนชีวิต จิตใจนั้นก็เชน
เดียวกัน ก็มีความเปลี่ยนแปลงไปตางๆ จิตใจเปลี่ยน
แปลงไป มีความคิดนึกตางๆ นานา บางครั้งเกิดกิเลส
ขึ้นมา เชน มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ใจก็
แปรปรวนไปตามกิเลสเหลานั้น ยามโลภ ก็อยากจะ
ไดโนนไดนี่ ยามมีโทสะเกิดขึ้น ก็โกรธแคนขุนเคือง
ใจหงุดหงิดกระทบกระทั่งตางๆ ยามโมหะเกิดขึ้น ก็
มีความลุมหลง มีความมัวเมาดวยประการ ตางๆ
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๕
ในทางตรงขาม เวลาเกิดกุศลธรรม เกิดความ
ดีงาม จิตใจเปนบุญขึ้นมา ก็คิดนึกเรื่องดีๆ จิตใจก็
งดงาม จิตใจก็ผองใส เบิกบาน สดชื่น เรียกวามี
ความสุข ในเวลานั้นก็จะมีคุณธรรมเชน มีความ
เมตตา มีความกรุณาตอคนอื่นๆ หรือมีศรัทธา เชน
มีศรัทธาในพระรัตนตรัย ศรัทธาในพระศาสนา
ศรัทธาในบุญในกุศลเปนตน จิตใจก็เปลี่ยนแปลง
แปรปรวนไปไดตางๆ
แตที่สัมพันธกันระหวางกายกับใจ ก็คือวา
เมื่อกายเจ็บไขไดปวย ก็มักจะรบกวนทําใหจิตใจ
พลอยไมสบายไปดวย เพราะวารางกายเจ็บปวด
จิตใจก็มีความทุกข หรือวารางกายนั้นไมอยูใน
อํานาจบังคับบัญชา เชนรางกายที่ออนแอเปนตน
จิตใจก็หงุดหงิด เพราะไมไดอยางใจ อันนี้เรียกวา
จิตใจกับรางกายนั้นอาศัยซึ่งกันและกัน เมื่อรางกาย
๖ รักษาใจยามปวยไข
ไมสบาย จิตใจก็พลอยไมสบายไปดวย
อีกดานหนึ่ง เมื่อจิตใจไมสบายมีความทุกข มี
ความหวาดระแวง มีความกลัว มีความกังวลใจ มีหวง
หนาพะวงหลังตางๆ มีความไมสมปรารถนา ผิดหวัง
ทอแทใจตางๆ ก็ทําใหแสดงออกมาทางรางกาย
เชน หนาตาไมสดชื่น ผิวพรรณไมผองใส ยิ้มไมออก
ตลอดจนกระทั่งวา เบื่อหนายอาหารเปนตน ไมมี
เรี่ยวแรง ไมมีกําลัง เพราะวาใจไมมีกําลัง เมื่อไมมี
กําลังใจแลว รางกายก็พลอยไมมีกําลัง ออนแรง
ออนกําลังไปดวย อันนี้ก็เปนเรื่องของกายกับใจที่
ตองอาศัยซึ่งกันและกัน
ในบางคราวนั้น รางกายก็เจ็บปวด ซึ่งเปน
เหตุการณสําคัญที่วา เวลานั้นความเจ็บปวดของ
รางกายอาจจะทําใหจิตใจนี้พลอยไมสบายไปดวย
ซึ่งทางภาษาพระทานบอกวา ถากายไมสบาย เจ็บ
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๗
ไขแลว จิตใจไมสบายไปดวย ก็เรียกวากายปวย ทํา
ใหใจปวยไปดวย
จะทําอยางไรเมื่อรางกายเจ็บปวยแลวจิตใจ
จะไมแปรปรวนไปตาม พระพุทธเจานั้น ไดทรง
คนควาเรื่องของชีวิตไวมากมาย แลวหาทางที่จะ
ชวยใหคนทั้งหลายมีความสุข พระองคเคยพบ ทาน
ที่รางกายไมสบาย เจ็บไขไดปวย พระองคเคยตรัส
สอนวา ใหทําในใจ ตั้งใจไววา “ถึงแมรางกายของ
เราจะปวย แตใจของเราจะไมปวยไปดวย” การ
ตั้งใจอยางนี้ เรียกวา มีสติ ทําใหจิตใจไมตกอยูใน
อํานาจครอบงําของความแปรปรวนในทางรางกาย
นั้น เมื่อมีสติอยูก็รักษาใจไวได
การรักษาใจนั้นเปนเรื่องสําคัญ ในยามเจ็บไข
ไดปวยนี้ กายเปนหนาที่ของแพทย แพทยก็รักษา
ไป เราก็ปลอยใหแพทยทําหนาที่รักษากาย แตใจนั้น
๘ รักษาใจยามปวยไข
เปนของเราเอง เราจะตองรักษาใจของตนเอง
เพราะฉะนั้น ก็แบงหนาที่กัน ตอนนี้ ก็เทากับปลงใจ
บอกวา “เอาละ รางกายของเรามันปวยไปแลว ก็
เปนเรื่องของหมอ เปนเรื่องของนายแพทย
นายแพทยรักษาไป เราไดแตรวมมือ ไมตองเรารอน
กังวล เราจะรักษาแตใจของเราไว”
รักษาใจไวตามคําสอนของพระพุทธเจา อยาง
ที่พระองคตรัสไว ซึ่งไดยกมาอางเมื่อกี้ ใหตั้งใจวา
“ถึงแมรางกายของเราจะปวย แตใจของเราจะไม
ปวยไปดวย”
ถายึดไวอยางนี้ สติอยู ก็ทําใหจิตใจนั้นไม
พลอยหงุดหงิด ไมพลอยออดแอด ไมพลอยแปร
ปรวนไปตามอาการทางรางกาย
จริงอยู ก็เปนธรรมดาที่วา ทุกขเวทนา ความ
เจ็บปวดตางๆ ความออนแรงออนกําลังของรางกาย
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๙
นั้นยอมมีผลตอจิตใจ แตถารักษาจิตใจไวดีแลว
ความเจ็บปวดนั้นก็มีแตนอย พระพุทธเจาจึงตรัสไว
เสมอวา ใหรักษาใจของตนเอง
การที่จะรักษาใจนั้น รักษาดวยอะไร ก็รักษา
ดวยสติ คือมีสติกําหนด อยางนอยดังที่กลาวมาวา
ถามีสติเอาใจยึดไวกับคําสอนของพระพุทธเจาวา
ถึงกายของเราจะปวย แตใจของเราจะไมปวย
เพียงแคนี้ก็ทําใหใจหยุดยั้ง มีหลักมีที่ยึด แลวจิตใจก็
สบายขึ้น อาจจะนํามาเปนคําภาวนาก็ได คือภาวนา
ไวในใจตลอดเวลาบอกวา กายปวย ใจไมปวย ถึง
กายจะปวย แตใจไมปวย ทํานองนี้ ภาวนายึดไว
บอกตัวเองอยูเสมอ ใจก็จะไมเลื่อนลอยเควงควางไป
การรักษาใจดวยสตินั้น ก็คือวา เอาจิตของ
เราไปผูกมัดไวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดีงาม ที่ไมมีการปรุง
แตง จิตของเรานี้ชอบปรุงแตง เมื่อรางกายไม
๑๐ รักษาใจยามปวยไข
สบาย จิตใจก็ปรุงแตงไปตามความไมสบายนั้น ทํา
ใหมีความไมสบายมากขึ้น หรือวาจิตใจไปหวงกังวล
ภายนอก หวงกังวลเรื่องทางดานครอบครัว หวงลูก
หลาน หวงกังวลเรื่องขาวของทรัพยสินอะไรตางๆ
ที่ทานเรียกวาเปนของนอกกาย ไมใชตัวของเรา
โดยเฉพาะลูกหลานนั้นก็มีหลักมีฐานของ
ตนเอง ก็อยูสบายกันแลว ตอนนี้ลูกหลานเหลานั้น
มีหนาที่ที่จะมาเอาใจใสดูแลผูเจ็บไขไดปวย ไมใช
หนาที่ของผูเจ็บปวยที่จะไปหวงกังวลตอผูที่ยังมี
รางกายแข็งแรงดี ทานเหลานั้นสามารถรับผิดชอบ
ตนเอง หรือชวยเหลือกันเองไดดีอยูแลว จึงไมตอง
เปนหวงเปนกังวล
ตัวเองก็ไมตองเปนหวงเชนเดียวกัน เพราะถา
รักษาใจไวไดอยางเดียวแลว ก็เปนการรักษาแกน
ของชีวิตไวได เพราะวาชีวิตของเรานั้นก็เปนดังที่ได
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๑
กลาววา มีกายกับใจสองอยาง โบราณกลาวไววา
ใจเปนนาย กายเปนบาว กายนั้นรับใชใจ ใจเปน
แกนของชีวิต ถารักษาใจไวไดแลวก็นับวาเปนการ
รักษาสวนประเสริฐของชีวิตไวได
เพราะฉะนั้น ตอนนี้ก็รักษาแตใจของตนเอง
อยางเดียว ถารักษาใจไดแลวก็ชื่อวารักษาแกนของ
ชีวิตไวได และดังที่กลาวมาในตอนนี้ ก็ตองปลงใจได
วากายนั้นเปนเรื่องของแพทย เพราะฉะนั้น ไมตอง
ไปกังวลเรื่องกาย มาพิจารณาแตรักษาจิตไว
วิธีรักษาจิตนั้น ก็รักษาดวยสติ ดังกลาวมา
ทานเปรียบวา สตินั้นเปนเหมือนเชือก จะรักษาจิต
ไวใหอยูกับที่ได ก็เอาเชือกนั้นผูกใจไว ใจนั้นมันดิ้นรน
ชอบปรุงแตง คิดวุนวายฟุงซานไปกับอารมณตางๆ
เหมือนกับลิง ลิงที่อยูไมสุข กระโดดไปตามกิ่งไม
จากตนไมนี้ไปตนไมโนนเรื่อยไป พระพุทธเจาก็เลย
๑๒ รักษาใจยามปวยไข
สอนวา ใหจับลิงคือจิตนี้ เอาเชือกผูกไวกับหลัก
หลักคืออะไร หลักก็คือสิ่งที่ดีงาม ที่ไมมีการ
ปรุงแตง หรือถาปรุงแตง ก็ใหเปนการปรุงแตง
แตในทางที่ดี เชน เรื่องหลักธรรมคําสอนของ
พระพุทธเจา เรื่องบุญกุศล เปนตน เมื่อใจไปผูกไว
กับสิ่งนั้นแลว จิตก็อยูกับที่ ก็ไมฟุงซาน ไมเลื่อน
ลอย ไมสับสนวุนวาย ถาจิตไมปรุงแตงเหลวไหล
แลว ก็จะหมดปญหาไป
วิธีการรักษาใจที่จะไมใหปรุงแตง ก็คือ อยูกับ
อารมณที่ดีงาม อยูกับสิ่งที่ใจยึดถือ อยางที่อาตมา
ไดกลาวมา แมแตเอาคําสอนของพระพุทธเจา
เกี่ยวกับเรื่องการเจ็บไขไดปวยมาภาวนาวา ถึงกาย
ของเราจะปวย แตใจของเราจะไมปวยไปดวย หรือ
จะภาวนาสั้นๆ บอกวา เจ็บไขแตกาย แตใจไมเจ็บ
ไขดวย ปวยแตกาย ใจไมปวย ภาวนาแคนี้ จิตก็ไม
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๓
ฟุงซาน ไมมีการปรุงแตง
เมื่อไมมีการปรุงแตง จิตก็ไมติดขัด ไมถูกบีบ
จิตไมถูกบีบคั้น ก็ไมมีความทุกข จะมีความปลอด
โปรงผองใส ไมถูกครอบงําดวยทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น
นอกจากผูกจิตไวกับสิ่งที่ดีงาม หรือคําสอน
ของพระพุทธเจาอยางที่กลาวมาแลว ก็คือการที่วา
ใหจิตนั้นไมมีกังวลกับสิ่งตางๆ ไมปลอยใจให
ลองลอยไปกับความคิดนึกทั้งหลาย หรือความหวง
กังวลภายนอก รักษาใจใหอยูภายใน ถาไมรักษาใจ
ไวกับคําสอนของพระพุทธเจา หรือคําภาวนาอยาง
ที่วาเมื่อกี้ ก็อาจจะเอาคําภาวนาอื่นๆ มาวา เชน
เอาคําวา พุทโธ มา
คําวา “พุทโธ” นี้ เปนคําดีงาม เปนพระนาม
หรือชื่อของพระพุทธเจา เมื่อเอามาเปนอารมณ
สําหรับใหจิตใจยึดเหนี่ยวแลวจิตใจก็จะไดไมฟุงซาน
๑๔ รักษาใจยามปวยไข
เลื่อนลอยไป แลวจิตใจนี้ก็จะเปนจิตใจที่ดีงามผอง
ใส เพราะวาพระนามของพระพุทธเจานั้น เปนพระ
นามของผูบริสุทธิ์ เปนพระนามที่แสดงถึงปญญา
ความรู ความเขาใจ ความตื่น และความเบิกบาน
คําวา “พุทโธ” นั้น แปลวา รู ตื่น เบิกบาน
พระพุทธเจานั้นทรงรูความจริงของสิ่งทั้งหลาย รู
สังขาร รูโลกและชีวิตนี้ตามความเปนจริง มีปญญา
ที่จะแกทุกขใหกับคนทั้งหลาย เมื่อรูแลวพระองคก็
ตื่น ตื่นจากความหลับไหลตางๆ ไมมีความลุมหลง
มัวเมายึดติด ในสิ่งทั้งหลาย เมื่อตื่นขึ้นมาแลวไมมี
ความลุมหลงมัวเมา ก็มีแตความเบิกบาน เมื่อเบิก
บานก็มีความสุข จิตใจปลอดโปรงในความสุข จึง
เปนแบบอยางใหแกเราทั้งหลายวา เราทั้งหลาย
จะตองมีความรูเขาใจสังขารตามความเปนจริง
จะตองมีความตื่น ไมหลงไหลในสิ่งตางๆ ไมยึดติด
ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๕
ถือมั่นในสิ่งทั้งหลาย แลวก็มีความเบิกบานใจ
ปลอดโปรงใจ เอาอันนี้ไวเปนคติเตือนใจ แลวตอ
จากนั้นก็ภาวนาคําวา พุทโธ วา พุท แลวก็วา โธ
ถากําหนดลมหายใจได ก็สามารถที่จะวา
กํากับลงไปกับลมหายใจ เวลาหายใจเขาก็วา พุท
เวลาหายใจออกก็วา โธ หรือไมกํากับอยูกับลม
หายใจก็วาไปเรื่อยๆ นึกในใจวา พุท-โธ เปน
จังหวะๆ ไป
เมื่อจิตผูกรวมอยูในคําวาพุทโธ ก็ไมฟุงซาน
และไมมีการปรุงแตง เมื่อไมฟุงซานปรุงแตง จิตก็
อยูเปนหลัก เมื่อจิตอยูเปนหลัก มีความสงบมั่นคง
แนวแน ก็ไมเปนจิตที่เศราหมอง แตจะมีความเบิก
บาน จะมีความผองใส ก็มีความสุข แลวอยางนี้ก็จะ
ถือไดวาเปนการปฏิบัติตามหลักที่วา จิตใจไมปวย นี้
ก็เปนวิธีการตางๆ ในการที่จะรักษาจิตใจ
๑๖ รักษาใจยามปวยไข
อาตมากลาวไวนี้ก็เปนตัวอยางเรื่องหนึ่ง ใน
การที่จะรักษาจิตดวยสติ โดยเอาสติเปนเชือกผูกจิต
ไวกับอารมณ เชนคําวาพุทโธเปนตน จิตใจจะไดมี
หลัก ไมฟุงซานเลื่อนลอย มีความสงบเบิกบานผอง
ใส ดังที่กลาวมา
อาตมาขอสงเสริมกําลังใจ ใหโยมมีจิตใจที่
สงบ มีจิตใจที่แนวแนผูกรวมอยูกับคําวา ถึงกายจะ
ปวย แตใจไมปวย หรือผูกพันกําหนดแนวแนอยูกับ
คําภาวนาวา พุทโธ แลวก็ใหมีจิตใจเบิกบานผองใส
อยูตลอดเวลา
วันนี้อาตมาก็เอาใจชวย ขอใหโยมมีความเบิก
บานผองใส ตลอดกาล ทุกเวลา เทอญฯ
ธรรมกถา
สําหรับ
ญาติของผูปวย∗
ขออนุโมทนา ในการที่อาจารยไดนิมนต
อาตมาทั้งสองในนามของพระสงฆ มารับสังฆทาน
ซึ่งอาจารยไดจัดถวายรวมกับญาติพี่นอง เปนการ
ทําบุญแทนคุณพอ ในขณะที่ทานเจ็บไขไดปวย โดย
มีความระลึกถึงทาน มีจิตใจที่รักและมีความผูกพัน
ตอทาน หวังจะใหทานหายจากความเจ็บปวยนี้
∗
คําอนุโมทนา ในโอกาสที่ลูกหลานของคุณโยมยิ้น จันทรสกุล ถวาย
สังฆทาน ณ หอง ๘๑๔ ตึก ๘๔ ป โรงพยาบาลศิริราช วันอาทิตยที่
๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๑ เวลา ๑๓.๓๐ น.
๑๘ รักษาใจยามปวยไข
ในฐานะที่เปนพุทธศาสนิกชน สิ่งที่จะเปน
เครื่องบํารุงจิตใจที่สําคัญ ก็คือการทําบุญ การที่
ไดมาใกลชิดพระรัตนตรัย ไดอาศัยอานุภาพบุญกุศล
และอาศัยพุทธคุณ ธรรมคุณ และสังฆคุณ เปน
เครื่องอภิบาลรักษา
ในยามเจ็บไขไดปวย ซึ่งเปนเวลาที่สําคัญนี้
เรื่องของจิตใจก็สําคัญมาก ทั้งจิตใจของผูปวยและ
จิตใจของญาติ ตลอดจนทานที่มีความเคารพนับถือ
ซึ่งพากันหวงใย การรักษานั้นก็ตองรักษาทั้งสอง
อยาง คือทั้งกายและใจ
สวนที่เปนโรคอยางแทจริง ก็คือดานรางกาย
แตในเวลาที่รางกายเปนโรคนั้น จิตใจก็มักพลอย
ปวยไปดวย คือ จิตใจอาจจะออนแอลง หรือ
แปรปรวนไป เพราะทุกขเวทนา หรือความออนแอ
ของรางกายนั้น จึงมีพุทธพจนที่ตรัสสอนไว ใหตั้ง
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๑๙
จิตตั้งใจวา ถึงแมรางกายของเราจะปวย แตใจของ
เราจะไมปวยไปดวย พระพุทธเจาตรัสสอนไวอยางนี้
เพื่อใหสวนหนึ่งแหงชีวิตของเรายังคงความเขมแข็ง
ไวได แลวใจก็จะชวยรางกายดวย
ถาหากวาใจพลอยปวยไปดวยกับกาย ก็จะทํา
ใหความปวยหรือความเจ็บนั้น ทับทวีขึ้นซ้ําเติม
ตัวเอง แตถากายปวยเปนเพียงสวนหนึ่ง ใจไมปวย
ไปดวย ใจนั้นจะกลับมาเปนสวนชวยดึงไว ชวยอุม
ชูค้ําประคับประคองกายไว ยิ่งถามีกําลังใจเขมแข็ง
ก็กลับมาชวยใหรางกายนี้แข็งแรงขึ้น
เราจะเห็นวา ในเวลาที่เจ็บไขไดปวยนี้ คนไข
จะตองการกําลังใจมาก ถาไมสามารถจะมีกําลังใจ
ดวยตนเองก็ตองอาศัยผูอื่นมาชวย ผูที่จะชวยให
กําลังใจไดมากก็คือญาติพี่นอง คนใกลชิดทั้งหลาย
เพราะฉะนั้น ทางพระหรือทางธรรมจึงไดสอนผูที่
๒๐ รักษาใจยามปวยไข
ใกลชิดใหมาใหกําลังใจแกผูที่เจ็บไขไดปวย
ขอสําคัญก็คือวา ผูที่เปนญาติของทานผูที่เจ็บ
ไขไดปวยนั้น มีความรัก มีความหวงใยตอทานผูเจ็บ
ไข เมื่อเปนอยางนี้ จิตใจของผูใกลชิดที่เปนญาตินั้น
บางทีก็พลอยปวยไปดวย พลอยไมสบายไปดวย
เลยไมสามารถจะไปใหกําลังใจแกทานที่เจ็บปวย
อันนี้ก็เปนเรื่องที่สําคัญ จึงจะตองมีวิธีการที่จะทําให
จิตใจเขมแข็ง ใหจิตใจสบาย
เมื่อจิตใจของเรา ที่เปนญาติ เปนผูที่ใกลชิดที่
หวังดีนี้เขมแข็งสบายดี ก็จะไดเปนเครื่องชวยให
ทานผูเจ็บปวยนั้น พลอยมีความเขมแข็งยิ่งขึ้นดวย
ในยามเชนนี้การวางจิตใจจึงเปนเรื่องสําคัญ
เรื่องการรักษาทางดานรางกายนั้นก็เปนภาระ
ของแพทย ที่จะพยายามจัดการแกไขไปตาม
วิชาการตามหลักของการรักษา แตทางดานญาติ
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๑
ของผูปวย ตองถือดานจิตใจนี้เปนเรื่องสําคัญ
นอกจากการที่จะคอยเอื้ออํานวยใหความสะดวก
และการดูแลทั่วๆ ไปแลว สิ่งที่ควรทําก็คือ การ
รักษาทั้งจิตใจของตนเองและจิตใจของผูปวยใหเปน
จิตใจที่เขมแข็ง
ในดานจิตใจของตนเอง ก็ควรใหมีความ
ปลอดโปรง สบายใจ อยางนอยก็มีความสบายใจวา
เมื่อทานผูเปนที่รักของเราปวยไข เราก็ไมไดทอดทิ้ง
ทาน แตเราไดเอาใจใสดูแลรักษาอยางเต็มที่ เมื่อได
ทําหนาที่ของเราอยางเต็มที่แลว ก็สบายใจได
ประการหนึ่งแลววา เราไดทําหนาที่ของตนเองอยาง
ดีที่สุด
เมื่อไดทําหนาที่ของตนเองแลว ก็มีความ
สบายใจขึ้นมา ความเขมแข็งที่เกิดจากความสบาย
ใจนั้น ก็จะมาคอยชวย คอยเสริม คอยใหกําลังใจ
๒๒ รักษาใจยามปวยไข
ไมวาทานผูเจ็บปวยจะรูตัวหรือไมก็ตาม
คนเรานั้น เรื่องจิตใจเราทราบไมได บางทีรู
ในทางประสาทสัมผัสไมได แตมีความซึมซาบอยู
ภายใน แมแตคนที่ไมรูตัวแลวในบางระดับก็ยังมีการ
ฝนบาง ยังมีความรูสึกรับรูเล็กๆ นอยๆ บางทีเปน
ความละเอียดออนในทางการรับสัมผัสตางๆ ในทาง
ประสาท ในทางจิตใจ จึงอาจจะไดรับรัศมีแหง
ความสุขสบายใจ ทําใหมีกําลังใจขึ้นมา อยางนอยก็
ทําใหไมมีหวงมีกังวล ใจก็จะเขมแข็งขึ้น ความ
ปลอดโปรง ความสบายใจ จิตใจที่ผองใสเบิกบาน
นั้น เปนสิ่งที่ดีงาม
คนเรานั้นเรื่องจิตใจเปนสิ่งสําคัญอยางที่ได
กลาวมาแลว การที่ลูกๆ หลานๆ ผูที่ใกลชิดมาคอย
เอาใจใสดูแล ถึงกับไดสละการงาน อะไรตางๆ มา
ก็เพราะจิตใจที่มีความรักกัน มีความหวงใยกันนี่
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๓
แหละ แตในเวลาเดียวกันนั้นเอง เพราะความรัก
และความหวงใยกันนี่แหละ ก็อาจจะทําใหจิตใจของ
เรานี้ กลายเปนจิตใจที่มีความเรารอนกระวน
กระวายไปไดเหมือนกัน สิ่งที่ดีนั้น บางทีก็กลับเปน
ปจจัยใหเกิดความทุกข อยางที่ทางพระทานบอกวา
ความรักทําใหเกิดความทุกข เพราะวาเมื่อรักแลวมี
ความผูกพัน ก็ทําใหมีความกระทบกระเทือนเกิดขึ้น
ไดงาย
ทีนี้ ทําอยางไรจะใหมีความรักดวย และก็ไมมี
ทุกขดวย ก็ตองเปนความรักที่ประคับประคองทําใจ
อยางถูกตอง เมื่อทําไดถูกตองแลวก็จะไดสวนที่ดี
เอาแตสวนที่ดีไว ใหมีแตสวนที่เปนความ ดีงามและ
ความสุข ความรักนั้นก็จะเปนเครื่องชวยใหเกิด
ความผูกพัน แลวก็ทําใหมาเอาใจใสดูแลกัน แลวทีนี้
ความรักที่เราประคับประคองไวดี ก็จะทําใหจิตใจ
๒๔ รักษาใจยามปวยไข
ปลอดโปรงผองใส เปนไปในแงที่ทําใหเกิดกําลังใน
การชวยเหลือซึ่งกันและกัน
ฉะนั้น จึงควรพิจารณาทําใจอยางที่กลาวเมื่อกี้
วา เราไดทําหนาที่ของเราถูกตองหรือไม สํารวจ
ตัวเอง เมื่อทําหนาที่ถูกตองแลวก็พึงสบายใจในขั้น
ที่หนึ่ง
ตอแตนั้นก็มองในแงที่วา การที่จะไมสบายใจ
หรือมีความรูสึกทุกขโศกอะไรนี้ ไมสามารถชวยทาน
ผูที่เจ็บไขนอนปวยอยูได สิ่งที่จะชวยไดก็คือขวัญ
หรือกําลังใจที่ดีและความปลอดโปรงเบิกบานผองใส
แมแตในสวนของตัวเราเอง การที่จะคิดอะไร
ไดปลอดโปรงคลองแคลว ก็ตองมีจิตใจที่สบายสงบ
ดวย ถามีความกระวนกระวาย เชนความกระสับ
กระสายทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม ก็จะทําใหคิด
อะไรไมคลอง และก็จะทําอะไรไมถูกตองดวย ถาจะ
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๕
ทําใหไดผลดีก็ตองมีจิตใจที่สงบและเขมแข็งปลอด
โปรง มีความเบิกบานผองใส จึงจะทําใหเกิดเปนผลดี
เพราะฉะนั้น หลักการสําคัญก็คือ ใหสวนที่ดี
นํามาซึ่งสวนที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป คือความรักที่มีตอคุณพอ
ที่เจ็บไขไดปวยนั้น เปนสวนที่ดีอยูแลว จึงควรใหเกิด
ความเบิกบานผองใสของจิตใจ แลวก็เอาจิตใจที่ดี
งามนี้ มาคิดไตรตรองพิจารณาในการที่จะคิดแกไข
สถานการณ ในการที่จะจัดการดูแลเอาใจใสดําเนิน
การรักษาตางๆ ตลอดจนทําสภาพจิตใจของตนให
เปนจิตใจที่จะชวยเสริมใหจิตของทานผูปวยไดมี
ความสบายใจ
สมมติวา ทานผูปวยไดทราบถึงลูกหลานที่
กําลังหอมลอมเอาใจใสคอยหวงใยทานอยู ทานก็จะ
รูสึกวาลูกหลานรักทาน และทานก็จะมีกําลังใจ
พรอมกับมีความสุขขึ้นมาสวนหนึ่ง ในเวลาเดียวกัน
๒๖ รักษาใจยามปวยไข
ถาลูกหลานทั้งหมดนั้นมีจิตใจที่สบาย ทานก็จะไม
ตองหวงกังวล ก็จะเปนเครื่องชวยใหจิตใจของทาน
สบายดวย เมื่อทานมีจิตใจที่สบาย มีกําลังใจที่
เขมแข็ง ก็จะเปนเครื่องชวยในการรักษารางกาย
ของทานอีกดวย
โดยเฉพาะในตอนนี้ นอกจากจะพยายามทําใจ
หรือคิดพิจารณาไตรตรองใหจิตใจเขมแข็งแลว ก็ยัง
ไดอาศัยอานุภาพของบุญกุศลและพระรัตนตรัย
ชวยเหลืออีกดวย กลาวคือ ในขณะนี้เราไมใชอยู
เฉพาะตัวลําพังจิตใจผูเดียวเทานั้น แตยังมีอานุภาพ
ของบุญกุศลชวยหลอเลี้ยงดวย อาจารยและคุณพี่
และญาติทุกคนมีความหวงใยรักในคุณพอ และก็ได
ทําบุญแทนคุณพอแลว จึงขอใหอานิสงสอานุภาพ
ของบุญกุศลที่ไดทํานี้ จงเปนเครื่องชวยเสริม
กําลังใจของทานดวย โดยเฉพาะขอใหทุกทานตั้งใจ
ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๗
รวมจิตไปที่ตัวคุณพอ ขอใหอานุภาพแหงบุญนี้ เปน
เครื่องบํารุงหลอเลี้ยงรักษาตัวทาน
เมื่อมีการทําบุญ ก็จะมีการที่ไดบูชาเคารพ
พระรัตนตรัย พระรัตนตรัยนั้น เปนสิ่งยึดเหนี่ยวที่
ลึกซึ้งที่สุดในทางจิตใจ เมื่อเราเขาถึงพระรัตนตรัย
แลว จิตใจก็จะมีความเขมแข็ง มีกําลัง มีความสงบ
มีความรมเย็นเกิดขึ้น ก็ขอใหความรมเย็นนี้ เปน
บรรยากาศที่แวดลอมหมูญาติทั้งหมดพรอมทั้งคุณ
พอ ชวยประคับประคองหลอเลี้ยงใหทานฟนขึ้นมา
โดยมีความเขมแข็งทั้งในทางกายและทางจิตใจ
ในโอกาสนี้ อาตมาขออนุโมทนาอาจารย
พรอมทั้งคุณพี่และญาติทั้งปวง ที่ไดทําบุญถวาย
สังฆทานแดพระสงฆ ซึ่งเปนเครื่องที่จะทําใหเกิด
ความดีงามแหงจิตใจ หลอเลี้ยงจิตใจใหเกิดความสด
ชื่นผองใส มีความสุข มีความปลอดโปรงเบิกบาน
๒๘ รักษาใจยามปวยไข
และมีความสงบ ก็ขอใหจิตใจที่เบิกบาน มีความเย็น
มีความสงบนี้ นํามาซึ่งผลอันเปนสิริมงคล คือ
ความสุข และความฟนฟู พรั่งพรอมดวยสุขภาพทั้ง
กายและใจตอไป
ตอแตนี้ไป ขอเชิญรับพรและขอใหเอาใจชวย
คุณพอ ขอใหทานไดอนุโมทนารับทราบ และขอให
ทุกทานไดชวยกันสรางบรรยากาศแหงความสงบ
ความแชมชื่นเบิกบานผองใสยิ่งๆ ขึ้นไป

Contenu connexe

Tendances

โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
Panda Jing
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
guest3650b2
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
duangdee tung
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
 

Tendances (17)

โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
คำนำทำ 4
คำนำทำ 4คำนำทำ 4
คำนำทำ 4
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
บทสวดมนต์ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่
 
ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 

En vedette

Presentacion LíderCAP
Presentacion LíderCAPPresentacion LíderCAP
Presentacion LíderCAP
licercap
 
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsySmith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
Niall Smith
 
pam resume complete
pam resume completepam resume complete
pam resume complete
Pamela Smith
 
Recommendation Letter Dianne Allison
Recommendation Letter Dianne AllisonRecommendation Letter Dianne Allison
Recommendation Letter Dianne Allison
Marjorie A. Wright
 

En vedette (14)

Presentacion LíderCAP
Presentacion LíderCAPPresentacion LíderCAP
Presentacion LíderCAP
 
Teatro9Ano
Teatro9AnoTeatro9Ano
Teatro9Ano
 
2016JeremyResume3
2016JeremyResume32016JeremyResume3
2016JeremyResume3
 
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsySmith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
Smith, Niall - Thesis - The everyday social geographies of living with epilepsy
 
Graficos
GraficosGraficos
Graficos
 
10 Dicembre, Milano. Tavola Rotonda sull'Efficienza Energetica
10 Dicembre, Milano. Tavola Rotonda sull'Efficienza Energetica10 Dicembre, Milano. Tavola Rotonda sull'Efficienza Energetica
10 Dicembre, Milano. Tavola Rotonda sull'Efficienza Energetica
 
pam resume complete
pam resume completepam resume complete
pam resume complete
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 
The Resource Industry by Closed Loop Recycling
The Resource Industry by Closed Loop RecyclingThe Resource Industry by Closed Loop Recycling
The Resource Industry by Closed Loop Recycling
 
FACISMO
FACISMOFACISMO
FACISMO
 
Recommendation Letter Dianne Allison
Recommendation Letter Dianne AllisonRecommendation Letter Dianne Allison
Recommendation Letter Dianne Allison
 
Crime and deviance sociology presentation
Crime and deviance sociology presentationCrime and deviance sociology presentation
Crime and deviance sociology presentation
 
I thought it was a drought too
I thought it was a drought tooI thought it was a drought too
I thought it was a drought too
 
Trauma Simulation Presentation
Trauma Simulation PresentationTrauma Simulation Presentation
Trauma Simulation Presentation
 

Similaire à Heal the mind_while_facing_sickness

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
Phairot Odthon
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
Suradet Sriangkoon
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
nok_bb
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
Maha Duangthip Dhamma
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
Achara Sritavarit
 

Similaire à Heal the mind_while_facing_sickness (20)

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 

Plus de Aimmary

งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
Aimmary
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
Aimmary
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
Aimmary
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
Aimmary
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
Aimmary
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
Aimmary
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
Aimmary
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
Aimmary
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
Aimmary
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
Aimmary
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
Aimmary
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
Aimmary
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
Aimmary
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
Aimmary
 

Plus de Aimmary (20)

Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
 
Ped hiv
Ped  hivPed  hiv
Ped hiv
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
 
Hiv adult
Hiv adultHiv adult
Hiv adult
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 

Heal the mind_while_facing_sickness

  • 1. √—°…“„®¬“¡ªÉ«¬‰¢â æ√–æ√À¡§ÿ≥“¿√≥å ( ª.Õ. ª¬ÿμ⁄‚μ ) ∏√√¡°∂“ ”À√—∫ºŸâªÉ«¬ ∏√√¡°∂“ ”À√—∫≠“μ‘¢ÕߺŸâªÉ«¬
  • 2.
  • 3. อนุโมทนา คณะผูมีจิตศรัทธา ไดแจงฉันทเจตนาขอพิมพหนังสือ รักษาใจยามปวยไข ของพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) เพื่อแจกมอบเปนธรรมทานแกญาติมิตร และ ผูสนใจทั่วไป การพิมพหนังสือแจกเปนธรรมทานนั้น นับวาเปนการ ใหอยางสูงสุด ที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวา เปนทานอันเลิศ ชนะทานทั้งปวง เปนการแสดงน้ําใจปรารถนาดีอยางแทจริงแก ประชาชน ดวยการมอบใหซึ่งแสงสวางแหงปญญาและทรัพย อันล้ําคาคือธรรม ที่จะเปนหลักนําประเทศชาติใหพัฒนาไปใน วิถีทางที่ถูกตอง และเปนไปเพื่อประโยชนสุขที่แทและยั่งยืนแก ชีวิตและสังคม ขออนุโมทนาธรรมทานบุญกิริยาที่ คณะผูมีจิตศรัทธา ในวาระนี้ ขอกุศลจริยาที่ไดบําเพ็ญ จงเปนปจจัยอํานวย จตุรพิธพรแกทานผูประกอบจาคธรรม และนํามาซึ่งความเกษม ศานตสถาพรแหง สังคมประเทศชาติยั่งยืนนานสืบไป วัดญาณเวศกวัน ๑ มิถุนายน ๒๕๕๒
  • 5. ธรรมกถาสําหรับผูปวย รักษาใจยามปวยไข∗ เราทั้งหลายที่เปนพุทธศาสนิกชนนั้น นับถือ พระรัตนตรัยเปนที่เคารพบูชาสูงสุด พระรัตนตรัย นั้น ก็คือ พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ ถา ยึดเอาพระพุทธเจาเปนหลัก พระพุทธเจาก็เปนผูที่ ไดตรัสรูคนพบพระธรรม เมื่อคนพบแลวรูความจริง ก็นําเอาธรรมนั้นมาสั่งสอนแกผูอื่น ผูที่ปฏิบัติตาม รวมกันเขาก็เรียกวาเปนสงฆ ∗ บันทึกเสียงสําหรับคุณโยมยิ้น จันทรสกุล ในวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๑ เวลา ๒๐.๐๐ น.
  • 6. ๒ รักษาใจยามปวยไข พระพุทธเจาที่ทรงคนพบพระธรรมนั้น ก็คือ คนพบความจริงเกี่ยวกับเรื่องโลกและชีวิตวาเปน อยางไร พระพุทธเจานั้นทรงสนพระทัยเรื่องความสุข ความทุกขของมนุษย และพระองคก็ใชเวลามากมาย ในการคนควาเรื่องนี้ เพื่อใหรูชัดวา มนุษยนั้นมี ความสุขความทุกขเกิดขึ้นอยางไร ถามีปญหาคือ ความทุกขเกิดขึ้น จะแกไขอยางไร เรียกไดวา พระองคเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องชีวิต เพราะฉะนั้น พระองคจึงสามารถในการที่จะแกปญหาชีวิตของ คนเรา และเราก็นับถือพระองคในแงนี้เปนสําคัญ ชีวิตของคนเรานั้น ประกอบดวยกาย กับ ใจ มีสองสวนเทานั้น กายกับใจรวมเขาเปนชีวิตของเรา กายก็ตาม ใจก็ตาม จะตองใหอยูในสภาพที่ดี ตอง รักษาไวใหมีสุขภาพดี จึงจะมีความสุข ชีวิตจึงจะ ดําเนินไปโดยราบรื่น
  • 7. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๓ แตคนเรานั้น จะใหเปนไปตามที่ปรารถนาทุก อยาง ก็เปนไปไมได รางกายของเรานี้บางครั้งก็มี ความเจ็บไขไดปวย ซึ่งอาจจะเปนเพราะสาเหตุ เนื่องจากการกระทบดวยโรคภัยที่มาจากภายนอก หรือฤดูกาลผันแปรไป หรือถูกกระทบกระทั่งจาก วัตถุสิ่งของที่แข็งกระดาง แมแตหนามตําทําใหเกิด ความเจ็บปวดขึ้น หรือวารางกายนั้นอยูไปนานๆ เขา ก็ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา รางกายก็เจ็บไขไดปวย อันเปนไปตามธรรมดา เรียกวาเปนลักษณะของ สังขาร คือ สิ่งที่เกิดจากปจจัยปรุงแตง ซึ่งไมมีอยู โดยตัวของมันเอง แตอาศัยสิ่งหลายๆ อยางมา ประชุมกันเขา มารวมตัวกันเขา รางกายของเรานี้เกิดจากปจจัยหลายอยาง มาประกอบกันเขา ภาษาเกาๆ เราเรียกวา เกิดจาก ธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ มาประชุมกัน ธาตุเหลานี้แตละ
  • 8. ๔ รักษาใจยามปวยไข อยางก็เปลี่ยนแปลงไป ไมเที่ยงแทแนนอน ตางก็ผัน แปรไป เมื่อแตละอยางผันแปรไป ก็เปนธรรมดา ที่วาจะเกิดการแปรปรวนขึ้นแกรางกายที่เปนของ สวนรวมนั้น ซึ่งเปนที่ประชุมของธาตุทั้งหมด รางกายแปรปรวนไปก็เกิดการปวยไขไมสบาย นี้ก็ เปนดานหนึ่ง ทีนี้ รางกายนั้นก็ไมไดอยูลําพัง ตองอยู รวมกันกับจิตใจ จึงจะเกิดเปนชีวิต จิตใจนั้นก็เชน เดียวกัน ก็มีความเปลี่ยนแปลงไปตางๆ จิตใจเปลี่ยน แปลงไป มีความคิดนึกตางๆ นานา บางครั้งเกิดกิเลส ขึ้นมา เชน มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ใจก็ แปรปรวนไปตามกิเลสเหลานั้น ยามโลภ ก็อยากจะ ไดโนนไดนี่ ยามมีโทสะเกิดขึ้น ก็โกรธแคนขุนเคือง ใจหงุดหงิดกระทบกระทั่งตางๆ ยามโมหะเกิดขึ้น ก็ มีความลุมหลง มีความมัวเมาดวยประการ ตางๆ
  • 9. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๕ ในทางตรงขาม เวลาเกิดกุศลธรรม เกิดความ ดีงาม จิตใจเปนบุญขึ้นมา ก็คิดนึกเรื่องดีๆ จิตใจก็ งดงาม จิตใจก็ผองใส เบิกบาน สดชื่น เรียกวามี ความสุข ในเวลานั้นก็จะมีคุณธรรมเชน มีความ เมตตา มีความกรุณาตอคนอื่นๆ หรือมีศรัทธา เชน มีศรัทธาในพระรัตนตรัย ศรัทธาในพระศาสนา ศรัทธาในบุญในกุศลเปนตน จิตใจก็เปลี่ยนแปลง แปรปรวนไปไดตางๆ แตที่สัมพันธกันระหวางกายกับใจ ก็คือวา เมื่อกายเจ็บไขไดปวย ก็มักจะรบกวนทําใหจิตใจ พลอยไมสบายไปดวย เพราะวารางกายเจ็บปวด จิตใจก็มีความทุกข หรือวารางกายนั้นไมอยูใน อํานาจบังคับบัญชา เชนรางกายที่ออนแอเปนตน จิตใจก็หงุดหงิด เพราะไมไดอยางใจ อันนี้เรียกวา จิตใจกับรางกายนั้นอาศัยซึ่งกันและกัน เมื่อรางกาย
  • 10. ๖ รักษาใจยามปวยไข ไมสบาย จิตใจก็พลอยไมสบายไปดวย อีกดานหนึ่ง เมื่อจิตใจไมสบายมีความทุกข มี ความหวาดระแวง มีความกลัว มีความกังวลใจ มีหวง หนาพะวงหลังตางๆ มีความไมสมปรารถนา ผิดหวัง ทอแทใจตางๆ ก็ทําใหแสดงออกมาทางรางกาย เชน หนาตาไมสดชื่น ผิวพรรณไมผองใส ยิ้มไมออก ตลอดจนกระทั่งวา เบื่อหนายอาหารเปนตน ไมมี เรี่ยวแรง ไมมีกําลัง เพราะวาใจไมมีกําลัง เมื่อไมมี กําลังใจแลว รางกายก็พลอยไมมีกําลัง ออนแรง ออนกําลังไปดวย อันนี้ก็เปนเรื่องของกายกับใจที่ ตองอาศัยซึ่งกันและกัน ในบางคราวนั้น รางกายก็เจ็บปวด ซึ่งเปน เหตุการณสําคัญที่วา เวลานั้นความเจ็บปวดของ รางกายอาจจะทําใหจิตใจนี้พลอยไมสบายไปดวย ซึ่งทางภาษาพระทานบอกวา ถากายไมสบาย เจ็บ
  • 11. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๗ ไขแลว จิตใจไมสบายไปดวย ก็เรียกวากายปวย ทํา ใหใจปวยไปดวย จะทําอยางไรเมื่อรางกายเจ็บปวยแลวจิตใจ จะไมแปรปรวนไปตาม พระพุทธเจานั้น ไดทรง คนควาเรื่องของชีวิตไวมากมาย แลวหาทางที่จะ ชวยใหคนทั้งหลายมีความสุข พระองคเคยพบ ทาน ที่รางกายไมสบาย เจ็บไขไดปวย พระองคเคยตรัส สอนวา ใหทําในใจ ตั้งใจไววา “ถึงแมรางกายของ เราจะปวย แตใจของเราจะไมปวยไปดวย” การ ตั้งใจอยางนี้ เรียกวา มีสติ ทําใหจิตใจไมตกอยูใน อํานาจครอบงําของความแปรปรวนในทางรางกาย นั้น เมื่อมีสติอยูก็รักษาใจไวได การรักษาใจนั้นเปนเรื่องสําคัญ ในยามเจ็บไข ไดปวยนี้ กายเปนหนาที่ของแพทย แพทยก็รักษา ไป เราก็ปลอยใหแพทยทําหนาที่รักษากาย แตใจนั้น
  • 12. ๘ รักษาใจยามปวยไข เปนของเราเอง เราจะตองรักษาใจของตนเอง เพราะฉะนั้น ก็แบงหนาที่กัน ตอนนี้ ก็เทากับปลงใจ บอกวา “เอาละ รางกายของเรามันปวยไปแลว ก็ เปนเรื่องของหมอ เปนเรื่องของนายแพทย นายแพทยรักษาไป เราไดแตรวมมือ ไมตองเรารอน กังวล เราจะรักษาแตใจของเราไว” รักษาใจไวตามคําสอนของพระพุทธเจา อยาง ที่พระองคตรัสไว ซึ่งไดยกมาอางเมื่อกี้ ใหตั้งใจวา “ถึงแมรางกายของเราจะปวย แตใจของเราจะไม ปวยไปดวย” ถายึดไวอยางนี้ สติอยู ก็ทําใหจิตใจนั้นไม พลอยหงุดหงิด ไมพลอยออดแอด ไมพลอยแปร ปรวนไปตามอาการทางรางกาย จริงอยู ก็เปนธรรมดาที่วา ทุกขเวทนา ความ เจ็บปวดตางๆ ความออนแรงออนกําลังของรางกาย
  • 13. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๙ นั้นยอมมีผลตอจิตใจ แตถารักษาจิตใจไวดีแลว ความเจ็บปวดนั้นก็มีแตนอย พระพุทธเจาจึงตรัสไว เสมอวา ใหรักษาใจของตนเอง การที่จะรักษาใจนั้น รักษาดวยอะไร ก็รักษา ดวยสติ คือมีสติกําหนด อยางนอยดังที่กลาวมาวา ถามีสติเอาใจยึดไวกับคําสอนของพระพุทธเจาวา ถึงกายของเราจะปวย แตใจของเราจะไมปวย เพียงแคนี้ก็ทําใหใจหยุดยั้ง มีหลักมีที่ยึด แลวจิตใจก็ สบายขึ้น อาจจะนํามาเปนคําภาวนาก็ได คือภาวนา ไวในใจตลอดเวลาบอกวา กายปวย ใจไมปวย ถึง กายจะปวย แตใจไมปวย ทํานองนี้ ภาวนายึดไว บอกตัวเองอยูเสมอ ใจก็จะไมเลื่อนลอยเควงควางไป การรักษาใจดวยสตินั้น ก็คือวา เอาจิตของ เราไปผูกมัดไวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ดีงาม ที่ไมมีการปรุง แตง จิตของเรานี้ชอบปรุงแตง เมื่อรางกายไม
  • 14. ๑๐ รักษาใจยามปวยไข สบาย จิตใจก็ปรุงแตงไปตามความไมสบายนั้น ทํา ใหมีความไมสบายมากขึ้น หรือวาจิตใจไปหวงกังวล ภายนอก หวงกังวลเรื่องทางดานครอบครัว หวงลูก หลาน หวงกังวลเรื่องขาวของทรัพยสินอะไรตางๆ ที่ทานเรียกวาเปนของนอกกาย ไมใชตัวของเรา โดยเฉพาะลูกหลานนั้นก็มีหลักมีฐานของ ตนเอง ก็อยูสบายกันแลว ตอนนี้ลูกหลานเหลานั้น มีหนาที่ที่จะมาเอาใจใสดูแลผูเจ็บไขไดปวย ไมใช หนาที่ของผูเจ็บปวยที่จะไปหวงกังวลตอผูที่ยังมี รางกายแข็งแรงดี ทานเหลานั้นสามารถรับผิดชอบ ตนเอง หรือชวยเหลือกันเองไดดีอยูแลว จึงไมตอง เปนหวงเปนกังวล ตัวเองก็ไมตองเปนหวงเชนเดียวกัน เพราะถา รักษาใจไวไดอยางเดียวแลว ก็เปนการรักษาแกน ของชีวิตไวได เพราะวาชีวิตของเรานั้นก็เปนดังที่ได
  • 15. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๑ กลาววา มีกายกับใจสองอยาง โบราณกลาวไววา ใจเปนนาย กายเปนบาว กายนั้นรับใชใจ ใจเปน แกนของชีวิต ถารักษาใจไวไดแลวก็นับวาเปนการ รักษาสวนประเสริฐของชีวิตไวได เพราะฉะนั้น ตอนนี้ก็รักษาแตใจของตนเอง อยางเดียว ถารักษาใจไดแลวก็ชื่อวารักษาแกนของ ชีวิตไวได และดังที่กลาวมาในตอนนี้ ก็ตองปลงใจได วากายนั้นเปนเรื่องของแพทย เพราะฉะนั้น ไมตอง ไปกังวลเรื่องกาย มาพิจารณาแตรักษาจิตไว วิธีรักษาจิตนั้น ก็รักษาดวยสติ ดังกลาวมา ทานเปรียบวา สตินั้นเปนเหมือนเชือก จะรักษาจิต ไวใหอยูกับที่ได ก็เอาเชือกนั้นผูกใจไว ใจนั้นมันดิ้นรน ชอบปรุงแตง คิดวุนวายฟุงซานไปกับอารมณตางๆ เหมือนกับลิง ลิงที่อยูไมสุข กระโดดไปตามกิ่งไม จากตนไมนี้ไปตนไมโนนเรื่อยไป พระพุทธเจาก็เลย
  • 16. ๑๒ รักษาใจยามปวยไข สอนวา ใหจับลิงคือจิตนี้ เอาเชือกผูกไวกับหลัก หลักคืออะไร หลักก็คือสิ่งที่ดีงาม ที่ไมมีการ ปรุงแตง หรือถาปรุงแตง ก็ใหเปนการปรุงแตง แตในทางที่ดี เชน เรื่องหลักธรรมคําสอนของ พระพุทธเจา เรื่องบุญกุศล เปนตน เมื่อใจไปผูกไว กับสิ่งนั้นแลว จิตก็อยูกับที่ ก็ไมฟุงซาน ไมเลื่อน ลอย ไมสับสนวุนวาย ถาจิตไมปรุงแตงเหลวไหล แลว ก็จะหมดปญหาไป วิธีการรักษาใจที่จะไมใหปรุงแตง ก็คือ อยูกับ อารมณที่ดีงาม อยูกับสิ่งที่ใจยึดถือ อยางที่อาตมา ไดกลาวมา แมแตเอาคําสอนของพระพุทธเจา เกี่ยวกับเรื่องการเจ็บไขไดปวยมาภาวนาวา ถึงกาย ของเราจะปวย แตใจของเราจะไมปวยไปดวย หรือ จะภาวนาสั้นๆ บอกวา เจ็บไขแตกาย แตใจไมเจ็บ ไขดวย ปวยแตกาย ใจไมปวย ภาวนาแคนี้ จิตก็ไม
  • 17. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๓ ฟุงซาน ไมมีการปรุงแตง เมื่อไมมีการปรุงแตง จิตก็ไมติดขัด ไมถูกบีบ จิตไมถูกบีบคั้น ก็ไมมีความทุกข จะมีความปลอด โปรงผองใส ไมถูกครอบงําดวยทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น นอกจากผูกจิตไวกับสิ่งที่ดีงาม หรือคําสอน ของพระพุทธเจาอยางที่กลาวมาแลว ก็คือการที่วา ใหจิตนั้นไมมีกังวลกับสิ่งตางๆ ไมปลอยใจให ลองลอยไปกับความคิดนึกทั้งหลาย หรือความหวง กังวลภายนอก รักษาใจใหอยูภายใน ถาไมรักษาใจ ไวกับคําสอนของพระพุทธเจา หรือคําภาวนาอยาง ที่วาเมื่อกี้ ก็อาจจะเอาคําภาวนาอื่นๆ มาวา เชน เอาคําวา พุทโธ มา คําวา “พุทโธ” นี้ เปนคําดีงาม เปนพระนาม หรือชื่อของพระพุทธเจา เมื่อเอามาเปนอารมณ สําหรับใหจิตใจยึดเหนี่ยวแลวจิตใจก็จะไดไมฟุงซาน
  • 18. ๑๔ รักษาใจยามปวยไข เลื่อนลอยไป แลวจิตใจนี้ก็จะเปนจิตใจที่ดีงามผอง ใส เพราะวาพระนามของพระพุทธเจานั้น เปนพระ นามของผูบริสุทธิ์ เปนพระนามที่แสดงถึงปญญา ความรู ความเขาใจ ความตื่น และความเบิกบาน คําวา “พุทโธ” นั้น แปลวา รู ตื่น เบิกบาน พระพุทธเจานั้นทรงรูความจริงของสิ่งทั้งหลาย รู สังขาร รูโลกและชีวิตนี้ตามความเปนจริง มีปญญา ที่จะแกทุกขใหกับคนทั้งหลาย เมื่อรูแลวพระองคก็ ตื่น ตื่นจากความหลับไหลตางๆ ไมมีความลุมหลง มัวเมายึดติด ในสิ่งทั้งหลาย เมื่อตื่นขึ้นมาแลวไมมี ความลุมหลงมัวเมา ก็มีแตความเบิกบาน เมื่อเบิก บานก็มีความสุข จิตใจปลอดโปรงในความสุข จึง เปนแบบอยางใหแกเราทั้งหลายวา เราทั้งหลาย จะตองมีความรูเขาใจสังขารตามความเปนจริง จะตองมีความตื่น ไมหลงไหลในสิ่งตางๆ ไมยึดติด
  • 19. ธรรมกถาสําหรับผูปวย ๑๕ ถือมั่นในสิ่งทั้งหลาย แลวก็มีความเบิกบานใจ ปลอดโปรงใจ เอาอันนี้ไวเปนคติเตือนใจ แลวตอ จากนั้นก็ภาวนาคําวา พุทโธ วา พุท แลวก็วา โธ ถากําหนดลมหายใจได ก็สามารถที่จะวา กํากับลงไปกับลมหายใจ เวลาหายใจเขาก็วา พุท เวลาหายใจออกก็วา โธ หรือไมกํากับอยูกับลม หายใจก็วาไปเรื่อยๆ นึกในใจวา พุท-โธ เปน จังหวะๆ ไป เมื่อจิตผูกรวมอยูในคําวาพุทโธ ก็ไมฟุงซาน และไมมีการปรุงแตง เมื่อไมฟุงซานปรุงแตง จิตก็ อยูเปนหลัก เมื่อจิตอยูเปนหลัก มีความสงบมั่นคง แนวแน ก็ไมเปนจิตที่เศราหมอง แตจะมีความเบิก บาน จะมีความผองใส ก็มีความสุข แลวอยางนี้ก็จะ ถือไดวาเปนการปฏิบัติตามหลักที่วา จิตใจไมปวย นี้ ก็เปนวิธีการตางๆ ในการที่จะรักษาจิตใจ
  • 20. ๑๖ รักษาใจยามปวยไข อาตมากลาวไวนี้ก็เปนตัวอยางเรื่องหนึ่ง ใน การที่จะรักษาจิตดวยสติ โดยเอาสติเปนเชือกผูกจิต ไวกับอารมณ เชนคําวาพุทโธเปนตน จิตใจจะไดมี หลัก ไมฟุงซานเลื่อนลอย มีความสงบเบิกบานผอง ใส ดังที่กลาวมา อาตมาขอสงเสริมกําลังใจ ใหโยมมีจิตใจที่ สงบ มีจิตใจที่แนวแนผูกรวมอยูกับคําวา ถึงกายจะ ปวย แตใจไมปวย หรือผูกพันกําหนดแนวแนอยูกับ คําภาวนาวา พุทโธ แลวก็ใหมีจิตใจเบิกบานผองใส อยูตลอดเวลา วันนี้อาตมาก็เอาใจชวย ขอใหโยมมีความเบิก บานผองใส ตลอดกาล ทุกเวลา เทอญฯ
  • 21. ธรรมกถา สําหรับ ญาติของผูปวย∗ ขออนุโมทนา ในการที่อาจารยไดนิมนต อาตมาทั้งสองในนามของพระสงฆ มารับสังฆทาน ซึ่งอาจารยไดจัดถวายรวมกับญาติพี่นอง เปนการ ทําบุญแทนคุณพอ ในขณะที่ทานเจ็บไขไดปวย โดย มีความระลึกถึงทาน มีจิตใจที่รักและมีความผูกพัน ตอทาน หวังจะใหทานหายจากความเจ็บปวยนี้ ∗ คําอนุโมทนา ในโอกาสที่ลูกหลานของคุณโยมยิ้น จันทรสกุล ถวาย สังฆทาน ณ หอง ๘๑๔ ตึก ๘๔ ป โรงพยาบาลศิริราช วันอาทิตยที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๑ เวลา ๑๓.๓๐ น.
  • 22. ๑๘ รักษาใจยามปวยไข ในฐานะที่เปนพุทธศาสนิกชน สิ่งที่จะเปน เครื่องบํารุงจิตใจที่สําคัญ ก็คือการทําบุญ การที่ ไดมาใกลชิดพระรัตนตรัย ไดอาศัยอานุภาพบุญกุศล และอาศัยพุทธคุณ ธรรมคุณ และสังฆคุณ เปน เครื่องอภิบาลรักษา ในยามเจ็บไขไดปวย ซึ่งเปนเวลาที่สําคัญนี้ เรื่องของจิตใจก็สําคัญมาก ทั้งจิตใจของผูปวยและ จิตใจของญาติ ตลอดจนทานที่มีความเคารพนับถือ ซึ่งพากันหวงใย การรักษานั้นก็ตองรักษาทั้งสอง อยาง คือทั้งกายและใจ สวนที่เปนโรคอยางแทจริง ก็คือดานรางกาย แตในเวลาที่รางกายเปนโรคนั้น จิตใจก็มักพลอย ปวยไปดวย คือ จิตใจอาจจะออนแอลง หรือ แปรปรวนไป เพราะทุกขเวทนา หรือความออนแอ ของรางกายนั้น จึงมีพุทธพจนที่ตรัสสอนไว ใหตั้ง
  • 23. ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๑๙ จิตตั้งใจวา ถึงแมรางกายของเราจะปวย แตใจของ เราจะไมปวยไปดวย พระพุทธเจาตรัสสอนไวอยางนี้ เพื่อใหสวนหนึ่งแหงชีวิตของเรายังคงความเขมแข็ง ไวได แลวใจก็จะชวยรางกายดวย ถาหากวาใจพลอยปวยไปดวยกับกาย ก็จะทํา ใหความปวยหรือความเจ็บนั้น ทับทวีขึ้นซ้ําเติม ตัวเอง แตถากายปวยเปนเพียงสวนหนึ่ง ใจไมปวย ไปดวย ใจนั้นจะกลับมาเปนสวนชวยดึงไว ชวยอุม ชูค้ําประคับประคองกายไว ยิ่งถามีกําลังใจเขมแข็ง ก็กลับมาชวยใหรางกายนี้แข็งแรงขึ้น เราจะเห็นวา ในเวลาที่เจ็บไขไดปวยนี้ คนไข จะตองการกําลังใจมาก ถาไมสามารถจะมีกําลังใจ ดวยตนเองก็ตองอาศัยผูอื่นมาชวย ผูที่จะชวยให กําลังใจไดมากก็คือญาติพี่นอง คนใกลชิดทั้งหลาย เพราะฉะนั้น ทางพระหรือทางธรรมจึงไดสอนผูที่
  • 24. ๒๐ รักษาใจยามปวยไข ใกลชิดใหมาใหกําลังใจแกผูที่เจ็บไขไดปวย ขอสําคัญก็คือวา ผูที่เปนญาติของทานผูที่เจ็บ ไขไดปวยนั้น มีความรัก มีความหวงใยตอทานผูเจ็บ ไข เมื่อเปนอยางนี้ จิตใจของผูใกลชิดที่เปนญาตินั้น บางทีก็พลอยปวยไปดวย พลอยไมสบายไปดวย เลยไมสามารถจะไปใหกําลังใจแกทานที่เจ็บปวย อันนี้ก็เปนเรื่องที่สําคัญ จึงจะตองมีวิธีการที่จะทําให จิตใจเขมแข็ง ใหจิตใจสบาย เมื่อจิตใจของเรา ที่เปนญาติ เปนผูที่ใกลชิดที่ หวังดีนี้เขมแข็งสบายดี ก็จะไดเปนเครื่องชวยให ทานผูเจ็บปวยนั้น พลอยมีความเขมแข็งยิ่งขึ้นดวย ในยามเชนนี้การวางจิตใจจึงเปนเรื่องสําคัญ เรื่องการรักษาทางดานรางกายนั้นก็เปนภาระ ของแพทย ที่จะพยายามจัดการแกไขไปตาม วิชาการตามหลักของการรักษา แตทางดานญาติ
  • 25. ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๑ ของผูปวย ตองถือดานจิตใจนี้เปนเรื่องสําคัญ นอกจากการที่จะคอยเอื้ออํานวยใหความสะดวก และการดูแลทั่วๆ ไปแลว สิ่งที่ควรทําก็คือ การ รักษาทั้งจิตใจของตนเองและจิตใจของผูปวยใหเปน จิตใจที่เขมแข็ง ในดานจิตใจของตนเอง ก็ควรใหมีความ ปลอดโปรง สบายใจ อยางนอยก็มีความสบายใจวา เมื่อทานผูเปนที่รักของเราปวยไข เราก็ไมไดทอดทิ้ง ทาน แตเราไดเอาใจใสดูแลรักษาอยางเต็มที่ เมื่อได ทําหนาที่ของเราอยางเต็มที่แลว ก็สบายใจได ประการหนึ่งแลววา เราไดทําหนาที่ของตนเองอยาง ดีที่สุด เมื่อไดทําหนาที่ของตนเองแลว ก็มีความ สบายใจขึ้นมา ความเขมแข็งที่เกิดจากความสบาย ใจนั้น ก็จะมาคอยชวย คอยเสริม คอยใหกําลังใจ
  • 26. ๒๒ รักษาใจยามปวยไข ไมวาทานผูเจ็บปวยจะรูตัวหรือไมก็ตาม คนเรานั้น เรื่องจิตใจเราทราบไมได บางทีรู ในทางประสาทสัมผัสไมได แตมีความซึมซาบอยู ภายใน แมแตคนที่ไมรูตัวแลวในบางระดับก็ยังมีการ ฝนบาง ยังมีความรูสึกรับรูเล็กๆ นอยๆ บางทีเปน ความละเอียดออนในทางการรับสัมผัสตางๆ ในทาง ประสาท ในทางจิตใจ จึงอาจจะไดรับรัศมีแหง ความสุขสบายใจ ทําใหมีกําลังใจขึ้นมา อยางนอยก็ ทําใหไมมีหวงมีกังวล ใจก็จะเขมแข็งขึ้น ความ ปลอดโปรง ความสบายใจ จิตใจที่ผองใสเบิกบาน นั้น เปนสิ่งที่ดีงาม คนเรานั้นเรื่องจิตใจเปนสิ่งสําคัญอยางที่ได กลาวมาแลว การที่ลูกๆ หลานๆ ผูที่ใกลชิดมาคอย เอาใจใสดูแล ถึงกับไดสละการงาน อะไรตางๆ มา ก็เพราะจิตใจที่มีความรักกัน มีความหวงใยกันนี่
  • 27. ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๓ แหละ แตในเวลาเดียวกันนั้นเอง เพราะความรัก และความหวงใยกันนี่แหละ ก็อาจจะทําใหจิตใจของ เรานี้ กลายเปนจิตใจที่มีความเรารอนกระวน กระวายไปไดเหมือนกัน สิ่งที่ดีนั้น บางทีก็กลับเปน ปจจัยใหเกิดความทุกข อยางที่ทางพระทานบอกวา ความรักทําใหเกิดความทุกข เพราะวาเมื่อรักแลวมี ความผูกพัน ก็ทําใหมีความกระทบกระเทือนเกิดขึ้น ไดงาย ทีนี้ ทําอยางไรจะใหมีความรักดวย และก็ไมมี ทุกขดวย ก็ตองเปนความรักที่ประคับประคองทําใจ อยางถูกตอง เมื่อทําไดถูกตองแลวก็จะไดสวนที่ดี เอาแตสวนที่ดีไว ใหมีแตสวนที่เปนความ ดีงามและ ความสุข ความรักนั้นก็จะเปนเครื่องชวยใหเกิด ความผูกพัน แลวก็ทําใหมาเอาใจใสดูแลกัน แลวทีนี้ ความรักที่เราประคับประคองไวดี ก็จะทําใหจิตใจ
  • 28. ๒๔ รักษาใจยามปวยไข ปลอดโปรงผองใส เปนไปในแงที่ทําใหเกิดกําลังใน การชวยเหลือซึ่งกันและกัน ฉะนั้น จึงควรพิจารณาทําใจอยางที่กลาวเมื่อกี้ วา เราไดทําหนาที่ของเราถูกตองหรือไม สํารวจ ตัวเอง เมื่อทําหนาที่ถูกตองแลวก็พึงสบายใจในขั้น ที่หนึ่ง ตอแตนั้นก็มองในแงที่วา การที่จะไมสบายใจ หรือมีความรูสึกทุกขโศกอะไรนี้ ไมสามารถชวยทาน ผูที่เจ็บไขนอนปวยอยูได สิ่งที่จะชวยไดก็คือขวัญ หรือกําลังใจที่ดีและความปลอดโปรงเบิกบานผองใส แมแตในสวนของตัวเราเอง การที่จะคิดอะไร ไดปลอดโปรงคลองแคลว ก็ตองมีจิตใจที่สบายสงบ ดวย ถามีความกระวนกระวาย เชนความกระสับ กระสายทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม ก็จะทําใหคิด อะไรไมคลอง และก็จะทําอะไรไมถูกตองดวย ถาจะ
  • 29. ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๕ ทําใหไดผลดีก็ตองมีจิตใจที่สงบและเขมแข็งปลอด โปรง มีความเบิกบานผองใส จึงจะทําใหเกิดเปนผลดี เพราะฉะนั้น หลักการสําคัญก็คือ ใหสวนที่ดี นํามาซึ่งสวนที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป คือความรักที่มีตอคุณพอ ที่เจ็บไขไดปวยนั้น เปนสวนที่ดีอยูแลว จึงควรใหเกิด ความเบิกบานผองใสของจิตใจ แลวก็เอาจิตใจที่ดี งามนี้ มาคิดไตรตรองพิจารณาในการที่จะคิดแกไข สถานการณ ในการที่จะจัดการดูแลเอาใจใสดําเนิน การรักษาตางๆ ตลอดจนทําสภาพจิตใจของตนให เปนจิตใจที่จะชวยเสริมใหจิตของทานผูปวยไดมี ความสบายใจ สมมติวา ทานผูปวยไดทราบถึงลูกหลานที่ กําลังหอมลอมเอาใจใสคอยหวงใยทานอยู ทานก็จะ รูสึกวาลูกหลานรักทาน และทานก็จะมีกําลังใจ พรอมกับมีความสุขขึ้นมาสวนหนึ่ง ในเวลาเดียวกัน
  • 30. ๒๖ รักษาใจยามปวยไข ถาลูกหลานทั้งหมดนั้นมีจิตใจที่สบาย ทานก็จะไม ตองหวงกังวล ก็จะเปนเครื่องชวยใหจิตใจของทาน สบายดวย เมื่อทานมีจิตใจที่สบาย มีกําลังใจที่ เขมแข็ง ก็จะเปนเครื่องชวยในการรักษารางกาย ของทานอีกดวย โดยเฉพาะในตอนนี้ นอกจากจะพยายามทําใจ หรือคิดพิจารณาไตรตรองใหจิตใจเขมแข็งแลว ก็ยัง ไดอาศัยอานุภาพของบุญกุศลและพระรัตนตรัย ชวยเหลืออีกดวย กลาวคือ ในขณะนี้เราไมใชอยู เฉพาะตัวลําพังจิตใจผูเดียวเทานั้น แตยังมีอานุภาพ ของบุญกุศลชวยหลอเลี้ยงดวย อาจารยและคุณพี่ และญาติทุกคนมีความหวงใยรักในคุณพอ และก็ได ทําบุญแทนคุณพอแลว จึงขอใหอานิสงสอานุภาพ ของบุญกุศลที่ไดทํานี้ จงเปนเครื่องชวยเสริม กําลังใจของทานดวย โดยเฉพาะขอใหทุกทานตั้งใจ
  • 31. ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย ๒๗ รวมจิตไปที่ตัวคุณพอ ขอใหอานุภาพแหงบุญนี้ เปน เครื่องบํารุงหลอเลี้ยงรักษาตัวทาน เมื่อมีการทําบุญ ก็จะมีการที่ไดบูชาเคารพ พระรัตนตรัย พระรัตนตรัยนั้น เปนสิ่งยึดเหนี่ยวที่ ลึกซึ้งที่สุดในทางจิตใจ เมื่อเราเขาถึงพระรัตนตรัย แลว จิตใจก็จะมีความเขมแข็ง มีกําลัง มีความสงบ มีความรมเย็นเกิดขึ้น ก็ขอใหความรมเย็นนี้ เปน บรรยากาศที่แวดลอมหมูญาติทั้งหมดพรอมทั้งคุณ พอ ชวยประคับประคองหลอเลี้ยงใหทานฟนขึ้นมา โดยมีความเขมแข็งทั้งในทางกายและทางจิตใจ ในโอกาสนี้ อาตมาขออนุโมทนาอาจารย พรอมทั้งคุณพี่และญาติทั้งปวง ที่ไดทําบุญถวาย สังฆทานแดพระสงฆ ซึ่งเปนเครื่องที่จะทําใหเกิด ความดีงามแหงจิตใจ หลอเลี้ยงจิตใจใหเกิดความสด ชื่นผองใส มีความสุข มีความปลอดโปรงเบิกบาน
  • 32. ๒๘ รักษาใจยามปวยไข และมีความสงบ ก็ขอใหจิตใจที่เบิกบาน มีความเย็น มีความสงบนี้ นํามาซึ่งผลอันเปนสิริมงคล คือ ความสุข และความฟนฟู พรั่งพรอมดวยสุขภาพทั้ง กายและใจตอไป ตอแตนี้ไป ขอเชิญรับพรและขอใหเอาใจชวย คุณพอ ขอใหทานไดอนุโมทนารับทราบ และขอให ทุกทานไดชวยกันสรางบรรยากาศแหงความสงบ ความแชมชื่นเบิกบานผองใสยิ่งๆ ขึ้นไป