SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 3 การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต
บทที่ 4 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 (ว 32243)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
 สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร
ของพืช
 สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอธิบายและอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่
ของราก ลาต้น และใบ
 สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของราก ลาต้น และใบ
 ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับตาแหน่งและจานวนของใบในพืชแต่ละชนิดและ
เปรียบเทียบความหนาแน่นของปากใบในพืชต่างชนิดกัน
 สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าของพืช
 สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการลาเลียงน้า สารอาหารและอาหาร
ของพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
http://www.slideshare.net/patpataranutaporn/plant-tissue-16714416?related=3
 เนื้อเยื่อพืช
 รากและโครงสร้างของราก
 ลาต้น
 ใบ การเจริญเติบโตของใบ และโครงสร้างของใบ
 การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช
 การลาเลียงน้าของพืช
 การลาเลียงสารอาหารของพืช
 การลาเลียงอาหารของพืช
เนื้อหา (CONTENT)
เรื่อง เนื้อเยื่อพืช
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
เซลล์พืช (PLANT CELL)
ผนังเซลล์ของเซลล์พืช
 ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall) เซลลูโลส (Cellulose)
 ผนังเซลล์ปฐมภูมิของเซลล์ที่อยู่ติดกันมีมิดเดิลลาเมลลา (Middle lamella) 
เพกทิน (Pectin)
 เซลล์บางชนิดมีผนังเซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell wall)ลิกนิน (lignin)
 เมื่อมีผนังเซลล์ทุติยภูมิหนาขึ้นจนสมบูรณ์เซลล์พืชตาย
 เรียงลาดับชั้นของเซลล์พืชจากเยื่อหุ้มเซลล์ออกมานอกสุดระหว่างเซลล์พืช 2 เซลล์ที่อยู่
ติดกัน
 เซลล์พืชชนิดเดียวกันหลายๆ เซลล์ทาหน้าที่ร่วมกันเรียกว่าเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue)
เซลล์พืช (PLANT CELL)
เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ทุติยภูมิ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
มิดเดิลลาเมลลาผนังเซลล์ปฐมภูมิผนังเซลล์ทุติยภูมิ
เยื่อหุ้มเซลล์
เนื้อเยื่อพืช (PLANT TISSUE)
กลุ่มของเซลล์พืชที่อยู่รวมกันเพื่อทาหน้าที่ร่วมกัน
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue)
 Meristematic cell = เซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได้ตลอดเวลา
 Meristem = บริเวณที่ Meristematic cell อยู่
 เซลล์เบียดแน่น ไม่มี intercellular space
 มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ตลอดชีวิต
 ไม่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ
 เซลล์สี่เหลี่ยม นิวเคลียสใหญ่ ผนังบางสม่าเสมอ
 มี 3 ชนิด
 เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด/ราก (apical meristem)
 เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)
 เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem)
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
 ทาให้โครงสร้างส่วนต่างๆ ของพืชยืดยาวขึ้น
 พบได้ที่ ปลายยอด ตา ปลายกิ่ง และปลายราก
 เจริญเติบโตในแนวดิ่ง
 ทาหน้าที่สร้างเนื้อเยื่อ 3 กลุ่ม
 Protodermเจริญเป็น epidermis
 Ground meristemเจริญเป็น Ground tissue
(cortex)
 Pro cambiumเจริญเป็น vascular tissue (stele)
 พบที่ (พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่)
 ปลายยอด/ตา : shoot apical meristem เจริญเป็น
ยอด, left primordia เจริญเป็นใบ, axillary buds
เจริญเป็นกิ่ง
 Root tip: root apical meristem เจริญเป็นปลายราก
เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด/ราก (APICAL MERISTEM)
 อยู่เหนือข้อ (node)
 เพิ่มความยาวปล้อง (internode)
 เจริญเติบโตในแนวดิ่ง
 พบเฉพาะในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (INTERCALARY MERISTEM)
 จาเป็นต่อการเจริญขั้นที่ 2 (2° growth)
 แบ่งเป็น : vascular cambium, cork
cambium และ pericycle
 vascular cambium
 อยู่ระหว่าง 1° xylem กับ 1°phloem
ในรากพืชใบเลี้ยงคู่ ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ แต่
ไม่พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 สร้าง 2° xylem ทางด้านใน และ
2°phloem ทางด้านนอก
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL
MERISTEM)
 cork cambium (phellogen):
 อยู่ในชั้น cortex ใต้ epidermis
 เปลี่ยนแปลงมาจาก parenchyma ใต้
epidermis: สร้าง periderm, สร้าง
cork ทางด้านนอก และสร้าง
phelloderm ทางด้านใน
 Pericycle:
 อยู่ใต้ชั้น endodermis
 สร้าง periderm ในรากพืชใบเลี้ยงคู่
 สร้างรากแขนง
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL
MERISTEM)
 พบที่
 รากพืชใบเลี้ยงคู่
 ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
 พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว ปาล์ม
หมากผู้หมากเมีย จันทน์ผา จันทน์แดง ป่าน
ศรนารายณ์
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL MERISTEM)
 กลุ่มเซลล์ที่เจริญเต็มที่
 ไม่การแบ่งเซลล์อีกต่อไป
 เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ
 แบ่งได้ 2 ชนิด
 เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple
permanent tissue)
 เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน
(complex permanent
tissue)
เนื้อเยื่อถาวร (PERMANENT TISSUE)
 ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดี่ยวกัน ทาหน้าที่ร่วมกัน
 เอพิเดอร์มิส (epidermis)
 พาเรงคิมา (parenchyma)
 คอลเลงคิมา (collenchyma)
 สเกลอเลงคิมา (sclerenchyma)
 เอนโดเดอร์มิส (endodermis)
 คอร์ก (cork/phellem)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (SIMPLE PERMANENT TISSUE)
 ล้อมรอบ vascular tissueแยกระหว่าง cortex กับ
stele
 ผนังบาง เรียงแถวเดียวอัดแน่น
 น้าสามารถผ่านเข้าออกเซลล์ได้บริเวณ passage cell
 รอยต่อระหว่างเซลล์ยึดแน่นด้วย suberin/ cellulose/
lignin=casparian strip=ไม่เกิด apoplast
 บริเวณราก: บางเซลล์เปลี่ยนเป็นเซลล์ขนราก (root
hair cell)
 casparian strip
 suberin + cellulose + lignin (พืชใบเลี้ยงเดี่ยว)
 suberin (พืชใบเลี้ยงคู่)
 พบที่ : รากพืชทุกชนิด แต่เห็นชัดในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 หน้าที่ : ควบคุมการเข้าออกของน้าระหว่าง cortex
และ xylem
เอพิเดอร์มิส (EPIDERMIS)
 รูปร่างหลายเหลี่ยม
 ผนังเซลล์เป็น 1° cell wall
 มี central vacuole ขนาดใหญ่ ดัน cytoplasm
ไปอยู่ริมเซลล์
 มี intercellular space เยอะ
 หน้าที่
 สะสมน้า น้าตาล กรดอะมิโน ผลิตสารพิษ
sap vacuole
 สะสมอาหาร (แป้ง ไขมัน โปรตีน)มี
leucoplast
 สังเคราะห์ด้วยแสงมี chloroplast เรียก
chlorenchyma
 สามารถ re differentiation เป็น
meristematic cell ได้อีก
พาเรงคิมา (PARENCHYMA)
 หน้าที่
 สะสม pigment ใน vacuole เพื่อดึงดูดแมลง
anthocyanin
 พืชน้าจะมี air space ที่โดดเด่นช่วยในการ
ลอยตัว (aerenchyma)
 พบที่
 ราก/ลาต้น: cortex, stele
 ใบ: palisade mesophyll, spongy
mesophyll
พาเรงคิมา (PARENCHYMA)
 รูปร่างหลายเหลี่ยม
 ผนังเซลล์เป็น 1°cell wall แต่มี cellulose
และ pectin สะสมตามมุม
 ระหว่างเซลล์มี intercellular space น้อย
หรือไม่มีเลย
 อาหารและน้ายังสามารถแพร่ผ่านเซลล์ได้
 ไม่สามารถ re differentiation เป็น
meristematic cell ได้อีก
คอลเลงคิมา (COLLENCHYMA)
 พบที่ :
 ใต้ชั้น epidermis ของลาต้น หรือตาม
มุมของลาต้นที่เป็นเหลี่ยม
 ก้านใบและเส้นกลางใบ
 หน้าที่ :
 สร้างความแข็งแรงและยืดหยุ่นให้กับ
เนื้อเยื่อของลาต้นที่ยังโตไม่เต็มที่
(supporting)
 สร้างความแข็งแรงแก่ก้านใบ
คอลเลงคิมา (COLLENCHYMA)
 Sclereid/stone cell
 เซลล์ที่ตายแล้ว รูปร่างไม่แน่นอน แต่จะ
มีความกว้างและยาวใกล้เคียงกัน
 ผนังหนาเป็น lignified 2° wall
 Lumen=ช่องว่างตรงกลางเซลล์
 Pit canal=ส่วนที่ไม่เกิดการสะสมของ
lignin ใช้ติดต่อกับเซลล์ข้างเคียง
 พบที่: cortex ของลาต้นและราก, เปลือกไม้,
เปลือกผลไม้, เนื้อผลสาลี่, กะลามะพร้าว
 หน้าที่: ให้ความแข็งแรงแก่โครงสร้าง
สเกลอเลงคิมา (SCLERENCHYMA)
 fiber
 เซลล์ที่ตายแล้ว รูปร่างยาว แหลม
หัวแหลมท้าย
 ผนังหนาเป็น lignified 2° wall
 ผนังหนามากจน Lumen เกือบจะหายไป
หมด
 พบที่: cortex ของรากและลาต้น/ xylem/
phloem
 หน้าที่: ให้ความแข็งแรงแก่โครงสร้าง ทาให้
พืชมีความยืดหยุ่น สามารถโค้งงอและรับ
น้าหนักได้
สเกลอเลงคิมา (SCLERENCHYMA)
 ล้อมรอบ vascular tissueแยก
ระหว่าง cortex กับ stele
 ผนังบาง เรียงแถวเดียวอัดแน่น
 น้าสามารถผ่านเข้าออกเซลล์ได้บริเวณ
passage cell
 รอยต่อระหว่างเซลล์ยึดแน่นด้วย
suberin/ cellulose/ lignin=casparian
strip=ไม่เกิด apoplast
 พบที่ : รากพืชทุกชนิด แต่เห็นชัดในพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว
 หน้าที่ : ควบคุมการเข้าออกของน้า
ระหว่าง cortex กับ xylem
เอนโดเดอร์มิส (ENDODERMIS)
 เซลล์หลายชั้น ทรงสี่เหลี่ยม ผนังหนา เรียงชิด
กันตามยาว
 มีการสะสมของ suberin (fatty acid,
wax)น้า, O2 ผ่านเข้าออกไม่ได้ = เซลล์
ตาย
 พบที่ : ราก/ลาต้นที่มีอายุมาก เรียงตัวอยู่
ชั้นนอกสุดของลาต้น แทนที่ชั้น epidermis
อยู่ด้านนอกต่อกับ cork cambium
 หน้าที่ : ป้องกันอันตรายจาก เชื้อโรค แมลง
สภาพแวดล้อมที่เย็นหรือร้อนเกินไป ไฟป่า
lenticel ที่เกิดจากการดันของ cork ช่วย
แลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้า
คอร์ก (CORK/PHELLEM)
 เซลล์หลายชั้น ทรงกลม ผนังบาง มี
ช่องว่างระหว่างเซลล์ ≈ parenchyma
(มีชีวิต)
 รวมเป็นส่วนหนึ่งของชั้น cortex
 พบที่ : อยู่ด้านในต่อกับ cork cambium
 หน้าที่ : สะสมสารอาหารและแร่ธาตุ
PHELLODERM
 เนื้อเยื่อ Xylem
 Tracheid
 Vessel
 Xylem parenchyma
 Xylem fiber
 เนื้อเยื่อ Phloem
 Sieve tube member
 Companion cell
 Phloem parenchyma
 Phloem fiber
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (COMPLEX PERMANENT TISSUE)
 เซลล์ที่ตายแล้ว
 เซลล์ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ขนาดเล็ก
 ผนังเซลล์มี lignin มาเกาะ
 ช่องเปิดรอบเซลล์จะไม่มีการสะสมของ lignin
 Pit จะอยู่เป็นคู่กับเซลล์ข้างเคียง ใช้ติดต่อสื่อสาร
ระหว่างเซลล์
 พบในพืชมีท่อลาเลียงทุกชนิด (หวายทะนอยจะ
ถึงพืชดอก)
 หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุจากรากสู่ใบ
(transduction)
XYLEM : TRACHEID
 เซลล์ที่ตายแล้ว
 เซลล์ป้อมสั้น หัวท้ายป้าน ขนาดใหญ่ ต่อกันเป็น
ท่อยาว
 ผนังเซลล์มี lignin มาเกาะ
 ช่องเปิดด้านปลาย = perforation plate
 ความหนาจากการสะสมของ lignin ไม่เท่ากันทา
ให้เห็นเป็นรูปร่างต่างๆ
 Pit = ช่องเปิดรอบเซลล์
 พบในพืชชั้นสูง
 หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
XYLEM : VESSEL
 เซลล์ที่มีชีวิตเหมือน parenchyma
 เรียงตัวในแนวรัศมี
 หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ =
Xylem ray
XYLEM : XYLEM PARENCHYMA
 เซลล์ที่ตายแล้ว
 เกิดจากการสะสมของ lignin
 หน้าที่
 สร้างความแข็งแรงให้แก่โครงสร้าง
XYLEM : XYLEM FIBER
 เซลล์ที่มีชีวิต
 เซลล์ป้อมสั้น หัวท้ายป้าน ขนาดใหญ่ ต่อกัน
เป็นท่อยาว
 ช่องเปิดด้านปลายเหมือนรูตะแกรง = sieve
plate
 มี plasmodesmata เป็นจานวนมาก เพื่อ
การไหลเวียนของ cytoplasm กับเซลล์
ข้างเคียง
 ไม่มีการสะสมของ lignin และ suberin
 อายุมากขึ้น นิวเคลียสและออร์แกเนลล์ต่างๆ
จะสลาย
 พบในพืชมีท่อลาเลียงทุกชนิด
 หน้าที่ลาเลียงอาหารในรูปของน้าตาลซูโครส
จากแหล่งผลิตสู่แหล่งสะสมอาหาร
PHLOEM : SIEVE TUBE MEMBER
 เซลล์ที่มีชีวิต
 เซลล์ผอม ผนังบาง ประกบติดกับ sieve
tube member
 มี plasmodesmata มาก เพื่อใช้ในการ
ไหลเวียนของไซโทพลาซึมกับ sieve
tube member
 พบในพืชดอกและมะเมื่อย
 หน้าที่ : เซลล์ผู้ช่วยของ sieve tube
member ช่วยขนย้ายน้าตาลจากเซลล์
ต้นทางเข้าสู่ sieve tube member
PHLOEM : COMPANION CELL
 เซลล์ที่มีชีวิต
 เรียงตัวแบบรัศมี
 หน้าที่ลาเลียงน้าด้านข้าง = phloem
ray
PHLOEM : PHLOEM PARENCHYMA
PHLOEM : PHLOEM FIBER
 เซลล์ตายแล้ว
 เกิดจากการสะสมของ lignin
 หน้าที่สร้างความแข็งแรงให้แก่โครงสร้าง
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)

Contenu connexe

Tendances

13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
พัน พัน
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 

Tendances (20)

เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
Tissue oui
Tissue ouiTissue oui
Tissue oui
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

En vedette (6)

เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

Similaire à เนื้อเยื่อพืช (T)

เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
Oui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
พัน พัน
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
Looktal Love
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
Kang ZenEasy
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
Nokko Bio
 

Similaire à เนื้อเยื่อพืช (T) (20)

เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 

Plus de Thitaree Samphao

Plus de Thitaree Samphao (6)

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

เนื้อเยื่อพืช (T)

  • 1. บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก บทที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง บทที่ 3 การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต บทที่ 4 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 (ว 32243) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
  • 2. บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 3.  สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร ของพืช  สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอธิบายและอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ ของราก ลาต้น และใบ  สืบค้นข้อมูล ทดลอง และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของราก ลาต้น และใบ  ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับตาแหน่งและจานวนของใบในพืชแต่ละชนิดและ เปรียบเทียบความหนาแน่นของปากใบในพืชต่างชนิดกัน  สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าของพืช  สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการลาเลียงน้า สารอาหารและอาหาร ของพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ http://www.slideshare.net/patpataranutaporn/plant-tissue-16714416?related=3
  • 4.  เนื้อเยื่อพืช  รากและโครงสร้างของราก  ลาต้น  ใบ การเจริญเติบโตของใบ และโครงสร้างของใบ  การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช  การลาเลียงน้าของพืช  การลาเลียงสารอาหารของพืช  การลาเลียงอาหารของพืช เนื้อหา (CONTENT)
  • 5. เรื่อง เนื้อเยื่อพืช รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 6. เซลล์พืช (PLANT CELL) ผนังเซลล์ของเซลล์พืช  ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall) เซลลูโลส (Cellulose)  ผนังเซลล์ปฐมภูมิของเซลล์ที่อยู่ติดกันมีมิดเดิลลาเมลลา (Middle lamella)  เพกทิน (Pectin)  เซลล์บางชนิดมีผนังเซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell wall)ลิกนิน (lignin)
  • 7.  เมื่อมีผนังเซลล์ทุติยภูมิหนาขึ้นจนสมบูรณ์เซลล์พืชตาย  เรียงลาดับชั้นของเซลล์พืชจากเยื่อหุ้มเซลล์ออกมานอกสุดระหว่างเซลล์พืช 2 เซลล์ที่อยู่ ติดกัน  เซลล์พืชชนิดเดียวกันหลายๆ เซลล์ทาหน้าที่ร่วมกันเรียกว่าเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue) เซลล์พืช (PLANT CELL) เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์ทุติยภูมิ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ มิดเดิลลาเมลลาผนังเซลล์ปฐมภูมิผนังเซลล์ทุติยภูมิ เยื่อหุ้มเซลล์
  • 9.  Meristematic cell = เซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได้ตลอดเวลา  Meristem = บริเวณที่ Meristematic cell อยู่  เซลล์เบียดแน่น ไม่มี intercellular space  มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ตลอดชีวิต  ไม่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะ  เซลล์สี่เหลี่ยม นิวเคลียสใหญ่ ผนังบางสม่าเสมอ  มี 3 ชนิด  เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด/ราก (apical meristem)  เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary meristem)  เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem) เนื้อเยื่อเจริญ (MERISTEMATIC TISSUE)
  • 11.  ทาให้โครงสร้างส่วนต่างๆ ของพืชยืดยาวขึ้น  พบได้ที่ ปลายยอด ตา ปลายกิ่ง และปลายราก  เจริญเติบโตในแนวดิ่ง  ทาหน้าที่สร้างเนื้อเยื่อ 3 กลุ่ม  Protodermเจริญเป็น epidermis  Ground meristemเจริญเป็น Ground tissue (cortex)  Pro cambiumเจริญเป็น vascular tissue (stele)  พบที่ (พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่)  ปลายยอด/ตา : shoot apical meristem เจริญเป็น ยอด, left primordia เจริญเป็นใบ, axillary buds เจริญเป็นกิ่ง  Root tip: root apical meristem เจริญเป็นปลายราก เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด/ราก (APICAL MERISTEM)
  • 12.  อยู่เหนือข้อ (node)  เพิ่มความยาวปล้อง (internode)  เจริญเติบโตในแนวดิ่ง  พบเฉพาะในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (INTERCALARY MERISTEM)
  • 13.  จาเป็นต่อการเจริญขั้นที่ 2 (2° growth)  แบ่งเป็น : vascular cambium, cork cambium และ pericycle  vascular cambium  อยู่ระหว่าง 1° xylem กับ 1°phloem ในรากพืชใบเลี้ยงคู่ ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ ไม่พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว  สร้าง 2° xylem ทางด้านใน และ 2°phloem ทางด้านนอก เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL MERISTEM)
  • 14.  cork cambium (phellogen):  อยู่ในชั้น cortex ใต้ epidermis  เปลี่ยนแปลงมาจาก parenchyma ใต้ epidermis: สร้าง periderm, สร้าง cork ทางด้านนอก และสร้าง phelloderm ทางด้านใน  Pericycle:  อยู่ใต้ชั้น endodermis  สร้าง periderm ในรากพืชใบเลี้ยงคู่  สร้างรากแขนง เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL MERISTEM)
  • 15.  พบที่  รากพืชใบเลี้ยงคู่  ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่  พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว ปาล์ม หมากผู้หมากเมีย จันทน์ผา จันทน์แดง ป่าน ศรนารายณ์ เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (LATERAL MERISTEM)
  • 16.  กลุ่มเซลล์ที่เจริญเต็มที่  ไม่การแบ่งเซลล์อีกต่อไป  เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ  แบ่งได้ 2 ชนิด  เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue)  เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (complex permanent tissue) เนื้อเยื่อถาวร (PERMANENT TISSUE)
  • 17.  ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดี่ยวกัน ทาหน้าที่ร่วมกัน  เอพิเดอร์มิส (epidermis)  พาเรงคิมา (parenchyma)  คอลเลงคิมา (collenchyma)  สเกลอเลงคิมา (sclerenchyma)  เอนโดเดอร์มิส (endodermis)  คอร์ก (cork/phellem) เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (SIMPLE PERMANENT TISSUE)
  • 18.  ล้อมรอบ vascular tissueแยกระหว่าง cortex กับ stele  ผนังบาง เรียงแถวเดียวอัดแน่น  น้าสามารถผ่านเข้าออกเซลล์ได้บริเวณ passage cell  รอยต่อระหว่างเซลล์ยึดแน่นด้วย suberin/ cellulose/ lignin=casparian strip=ไม่เกิด apoplast  บริเวณราก: บางเซลล์เปลี่ยนเป็นเซลล์ขนราก (root hair cell)  casparian strip  suberin + cellulose + lignin (พืชใบเลี้ยงเดี่ยว)  suberin (พืชใบเลี้ยงคู่)  พบที่ : รากพืชทุกชนิด แต่เห็นชัดในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว  หน้าที่ : ควบคุมการเข้าออกของน้าระหว่าง cortex และ xylem เอพิเดอร์มิส (EPIDERMIS)
  • 19.  รูปร่างหลายเหลี่ยม  ผนังเซลล์เป็น 1° cell wall  มี central vacuole ขนาดใหญ่ ดัน cytoplasm ไปอยู่ริมเซลล์  มี intercellular space เยอะ  หน้าที่  สะสมน้า น้าตาล กรดอะมิโน ผลิตสารพิษ sap vacuole  สะสมอาหาร (แป้ง ไขมัน โปรตีน)มี leucoplast  สังเคราะห์ด้วยแสงมี chloroplast เรียก chlorenchyma  สามารถ re differentiation เป็น meristematic cell ได้อีก พาเรงคิมา (PARENCHYMA)
  • 20.  หน้าที่  สะสม pigment ใน vacuole เพื่อดึงดูดแมลง anthocyanin  พืชน้าจะมี air space ที่โดดเด่นช่วยในการ ลอยตัว (aerenchyma)  พบที่  ราก/ลาต้น: cortex, stele  ใบ: palisade mesophyll, spongy mesophyll พาเรงคิมา (PARENCHYMA)
  • 21.  รูปร่างหลายเหลี่ยม  ผนังเซลล์เป็น 1°cell wall แต่มี cellulose และ pectin สะสมตามมุม  ระหว่างเซลล์มี intercellular space น้อย หรือไม่มีเลย  อาหารและน้ายังสามารถแพร่ผ่านเซลล์ได้  ไม่สามารถ re differentiation เป็น meristematic cell ได้อีก คอลเลงคิมา (COLLENCHYMA)
  • 22.  พบที่ :  ใต้ชั้น epidermis ของลาต้น หรือตาม มุมของลาต้นที่เป็นเหลี่ยม  ก้านใบและเส้นกลางใบ  หน้าที่ :  สร้างความแข็งแรงและยืดหยุ่นให้กับ เนื้อเยื่อของลาต้นที่ยังโตไม่เต็มที่ (supporting)  สร้างความแข็งแรงแก่ก้านใบ คอลเลงคิมา (COLLENCHYMA)
  • 23.  Sclereid/stone cell  เซลล์ที่ตายแล้ว รูปร่างไม่แน่นอน แต่จะ มีความกว้างและยาวใกล้เคียงกัน  ผนังหนาเป็น lignified 2° wall  Lumen=ช่องว่างตรงกลางเซลล์  Pit canal=ส่วนที่ไม่เกิดการสะสมของ lignin ใช้ติดต่อกับเซลล์ข้างเคียง  พบที่: cortex ของลาต้นและราก, เปลือกไม้, เปลือกผลไม้, เนื้อผลสาลี่, กะลามะพร้าว  หน้าที่: ให้ความแข็งแรงแก่โครงสร้าง สเกลอเลงคิมา (SCLERENCHYMA)
  • 24.  fiber  เซลล์ที่ตายแล้ว รูปร่างยาว แหลม หัวแหลมท้าย  ผนังหนาเป็น lignified 2° wall  ผนังหนามากจน Lumen เกือบจะหายไป หมด  พบที่: cortex ของรากและลาต้น/ xylem/ phloem  หน้าที่: ให้ความแข็งแรงแก่โครงสร้าง ทาให้ พืชมีความยืดหยุ่น สามารถโค้งงอและรับ น้าหนักได้ สเกลอเลงคิมา (SCLERENCHYMA)
  • 25.  ล้อมรอบ vascular tissueแยก ระหว่าง cortex กับ stele  ผนังบาง เรียงแถวเดียวอัดแน่น  น้าสามารถผ่านเข้าออกเซลล์ได้บริเวณ passage cell  รอยต่อระหว่างเซลล์ยึดแน่นด้วย suberin/ cellulose/ lignin=casparian strip=ไม่เกิด apoplast  พบที่ : รากพืชทุกชนิด แต่เห็นชัดในพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว  หน้าที่ : ควบคุมการเข้าออกของน้า ระหว่าง cortex กับ xylem เอนโดเดอร์มิส (ENDODERMIS)
  • 26.  เซลล์หลายชั้น ทรงสี่เหลี่ยม ผนังหนา เรียงชิด กันตามยาว  มีการสะสมของ suberin (fatty acid, wax)น้า, O2 ผ่านเข้าออกไม่ได้ = เซลล์ ตาย  พบที่ : ราก/ลาต้นที่มีอายุมาก เรียงตัวอยู่ ชั้นนอกสุดของลาต้น แทนที่ชั้น epidermis อยู่ด้านนอกต่อกับ cork cambium  หน้าที่ : ป้องกันอันตรายจาก เชื้อโรค แมลง สภาพแวดล้อมที่เย็นหรือร้อนเกินไป ไฟป่า lenticel ที่เกิดจากการดันของ cork ช่วย แลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้า คอร์ก (CORK/PHELLEM)
  • 27.  เซลล์หลายชั้น ทรงกลม ผนังบาง มี ช่องว่างระหว่างเซลล์ ≈ parenchyma (มีชีวิต)  รวมเป็นส่วนหนึ่งของชั้น cortex  พบที่ : อยู่ด้านในต่อกับ cork cambium  หน้าที่ : สะสมสารอาหารและแร่ธาตุ PHELLODERM
  • 28.  เนื้อเยื่อ Xylem  Tracheid  Vessel  Xylem parenchyma  Xylem fiber  เนื้อเยื่อ Phloem  Sieve tube member  Companion cell  Phloem parenchyma  Phloem fiber เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (COMPLEX PERMANENT TISSUE)
  • 29.  เซลล์ที่ตายแล้ว  เซลล์ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ขนาดเล็ก  ผนังเซลล์มี lignin มาเกาะ  ช่องเปิดรอบเซลล์จะไม่มีการสะสมของ lignin  Pit จะอยู่เป็นคู่กับเซลล์ข้างเคียง ใช้ติดต่อสื่อสาร ระหว่างเซลล์  พบในพืชมีท่อลาเลียงทุกชนิด (หวายทะนอยจะ ถึงพืชดอก)  หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุจากรากสู่ใบ (transduction) XYLEM : TRACHEID
  • 30.  เซลล์ที่ตายแล้ว  เซลล์ป้อมสั้น หัวท้ายป้าน ขนาดใหญ่ ต่อกันเป็น ท่อยาว  ผนังเซลล์มี lignin มาเกาะ  ช่องเปิดด้านปลาย = perforation plate  ความหนาจากการสะสมของ lignin ไม่เท่ากันทา ให้เห็นเป็นรูปร่างต่างๆ  Pit = ช่องเปิดรอบเซลล์  พบในพืชชั้นสูง  หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ XYLEM : VESSEL
  • 31.  เซลล์ที่มีชีวิตเหมือน parenchyma  เรียงตัวในแนวรัศมี  หน้าที่ : ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ = Xylem ray XYLEM : XYLEM PARENCHYMA
  • 32.  เซลล์ที่ตายแล้ว  เกิดจากการสะสมของ lignin  หน้าที่  สร้างความแข็งแรงให้แก่โครงสร้าง XYLEM : XYLEM FIBER
  • 33.  เซลล์ที่มีชีวิต  เซลล์ป้อมสั้น หัวท้ายป้าน ขนาดใหญ่ ต่อกัน เป็นท่อยาว  ช่องเปิดด้านปลายเหมือนรูตะแกรง = sieve plate  มี plasmodesmata เป็นจานวนมาก เพื่อ การไหลเวียนของ cytoplasm กับเซลล์ ข้างเคียง  ไม่มีการสะสมของ lignin และ suberin  อายุมากขึ้น นิวเคลียสและออร์แกเนลล์ต่างๆ จะสลาย  พบในพืชมีท่อลาเลียงทุกชนิด  หน้าที่ลาเลียงอาหารในรูปของน้าตาลซูโครส จากแหล่งผลิตสู่แหล่งสะสมอาหาร PHLOEM : SIEVE TUBE MEMBER
  • 34.  เซลล์ที่มีชีวิต  เซลล์ผอม ผนังบาง ประกบติดกับ sieve tube member  มี plasmodesmata มาก เพื่อใช้ในการ ไหลเวียนของไซโทพลาซึมกับ sieve tube member  พบในพืชดอกและมะเมื่อย  หน้าที่ : เซลล์ผู้ช่วยของ sieve tube member ช่วยขนย้ายน้าตาลจากเซลล์ ต้นทางเข้าสู่ sieve tube member PHLOEM : COMPANION CELL
  • 35.  เซลล์ที่มีชีวิต  เรียงตัวแบบรัศมี  หน้าที่ลาเลียงน้าด้านข้าง = phloem ray PHLOEM : PHLOEM PARENCHYMA PHLOEM : PHLOEM FIBER  เซลล์ตายแล้ว  เกิดจากการสะสมของ lignin  หน้าที่สร้างความแข็งแรงให้แก่โครงสร้าง