SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
ทรัพยากรสัตว์ปา
              ่
สัตว์ป่า (Wildlife) ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง
สัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ได้ให้คานิยามไว้ว่า สัตว์ทุกชนิดไม่ว่า
สัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลงหรือแมง ซึ่งตามสภาพ
ธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้า และให้
หมายความรวมถึง ไข่ของสัตว์ป่าเหล่านั้นทุกชนิดด้วย แต่
ไม่หมายความรวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้จดทะเบียนทาตั๋ว
รูปพรรณตามกฏหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะแล้ว และสัตว์
พาหนะที่ได้มาจากการสืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะดังกล่าว
ประเภทของสัตว์ปา
               ่
   พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 จาแนกสัตว์ป่าไว้
ดังต่อไปนี้
        1.สัตว์ป่าสงวน
        2. สัตว์ป่าคุ้มครอง
        3. สัตว์ป่านอกประเภท
1.สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าหายากหรือกาลังจะสูญพันธุ์ จึง
ห้ามล่าหรือมีไว้ครอบครองทั้งสัตว์ที่ยังมีชีวิตหรือซากสัตว์ เว้น
แต่กระทาเพื่อการศึกษาวิจัยทางวิชาการหรือเพื่อกิจการ
สวนสาธารณะโดยได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมป่าไม้เป็นกรณี
พิเศษ สัตว์ป่าสงวนมี 15 ชนิด คือ
1.1 แรด หรือแรดชวา (Javan rhinoceros : Rhinoceros sondaicus) มี
หนังหนา เล็บมี 3 กีบ ตัวผู้มีนอยาวไม่เกิน 25 เซนติเมตร สูง 1.60-1.75
เมตร หนักประมาณ 1,500-2,000 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 16 เดือน ตกลูกครั้ง
ละ 1 ตัว ชอบอยู่ตามป่าดิบชื้น น้าอุดมสมบูรณ์ เคยพบที่เทือกเขาตะนาว
ศรี จังหวัดระนอง พังงา และสุราษฎ์ธานี แต่เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว
1.2 กระซู่ (Sumatran rhinoceros : Didermocerus sumatraensis)
คล้ายแรดแต่เล็กกว่า คือ สูง 1.0-1.4 เมตร หนัก 900-1,000 กิโลกรัม
หนังหนา มี 2 นอ ชอบอยู่ตามป่าเขาสูงทึบมีหนามรก พบตามป่า
รอยต่อระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย แต่เหลืออยู่น้อยมาก
1.3 สมเสร็จหรือผสมเสร็จ (Malayan tapir : Tapirus indicus) จมูกและริม
ฝีปากยื่นคล้ายงวงสั้น ๆ ตาเล็ก ท่อนลาตัวมีสีขาว เท้าหน้ามี 4 กีบ ส่วนเท้าหลัง
มี 3 กีบ หนัก 250-300 กิโลกรัม ออกหากินตอนกลางคืน ชอบอยู่ตามป่าดงดิบที่
รกใกล้ลาน้า ยังพบบนเทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาตะนาวศรี เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และป่าดิบชื้นทางภาคใต้
1.4 เลียงผา หรือเยือง หรือกูรา
หรือโครา (Serow : Capricornis
sumatraensis) เป็นสัตว์จาพวก
แพะ สูงประมาณ 1 เมตร ขนสี
ดาค่อนข้างยาว ออกหากินตอน
เย็นและเช้ามืด ยังพบตามภูเขา
หินปูนในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
และอุทยานแห่งชาติบางแห่ง
เท่านั้น
1.5 กูปรี หรือโคไพร (Kouprey : Bos sauveli) เป็นวัวที่สูง 1.7-1.9 เมตร
หนัก 700-900 กิโลกรัม ปลายขาทั้งสี่ข้างมีสีขาว ปลายเขาแตกเป็นพูแข็ง ส่วน
                                                                   ่
ปลายสุดโค้งบิดเวียนชี้ขึ้นทางด้านหน้า ตั้งท้องนาน 9 เดือน พรานพื้นบ้าน
พบครั้งสุดท้ายที่เทือกเขาพนมดงรัก อาเภอขุขันธุ์ จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปี
พ.ศ. 2525 คาดว่าอพยพกลับไปในเขตแดนกัมพูชาแล้ว
1.6 ควายป่า หรือมหิงสา (Wild
water buffalo : Bubalus
bubalis) สูง 1.6-1.9 เมตร (ควาย
บ้านสูง 1.2-1.4 เมตร) หนัก 800-
1,200 กิโลกรัม บริเวณอกระหว่าง
ขาคู่หน้ามีสีขาวรูปตัววี (V) อาศัย
อยู่รวมกันเป็นฝูง ตั้งท้องนาน 15
เดือน เมื่อ พ.ศ. 2536 พบเหลือ
เพียงแห่งเดียวในเขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน
ประมาณ 40 ตัว
1.7 สมัน หรือเนื้อสมัน (Schomburgk's
deer : Cervus schomburgki) เป็นกวาง
ที่มีเขาแตกเป็นหลายกิ่งสวยงามที่สุดใน
โลกและพบในประเทศไทยเท่านั้น เคย
พบมากตามลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาแถบ
จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และ
พระนครศรีอยุธยา สมันตัวสุดท้ายซึ่งมี
ผู้เลี้ยงปล่อยที่วัดมหาชัย จังหวัด
สมุทรสาคร ตายไปเมื่อปี พ.ศ. 2481 แต่
ที่ยังกาหนดให้เป็นสัตว์ป่าสงวน เพราะ
ไม่ต้องการให้เคลื่อนย้ายซากหรือเขา
ออกนอกราชอาณาจักร
1.8 ละอง หรือละมั่ง (Eld's deer : Cervus eldi) เป็นกวางที่สูง 1.2-1.3
เมตร หนัก 95-150 กิโลกรัม เขาโค้งเป็นวงออกทางด้านข้าง ปลายเขา
บิดเข้าด้านใน โคนเขาด้านหน้าแตกกิ่งยื่น และตั้งขึ้น คาดว่ายังมีอยู่
บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ชายแดนไทย-กัมพูชา
1.9 กวางผา (Goral : Naemorhedus
griseus) ลักษณะคล้ายแพะ เล็กกว่า
เลียงผา สูงราว 50-70 เซนติเมตร
หนักประมาณ 22-32 กิโลกรัม ขนสี
น้าตาล ขนกลางหลังเป็นริ้วสีดา เขา
สีดา ออกลูกคราวละ 1-2 ตัว ยังมีพบ
ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อยและ
แม่ตื่น พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ติดต่อ
จังหวัดตาก และเขตรักษาพันธุ์สัตว์
ป่าดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
1.10 เก้งหม้อ หรือเก้งดา หรือเก้งดง (Fea's barking deer :
Muntiacus feai) บริเวณหลังมีสีคล้ากว่าเก้งธรรมดา คอสีขาว หนัก
ประมาณ 22 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 6 เดือน หากินตอนกลางคืน มีพบ
อยู่ตามป่าจังหวัดตาก ราชบุรี ลงไปจนถึงสุราษฎร์ธานี
1.11 แมวลายหินอ่อน (Marble
cat : Pardofelis marmorata)
เป็นแมวขนาดกลาง หนัก 2-5
กิโลกรัม หูเล็กมน ลาตัวลายสี
น้าตาลอมเหลือง หางยาว ชอบอยู่
ตามต้นไม้ หากินตอนกลางคืน
ยังเหลือน้อยมากในเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด
อุทัยธานี
1.12 พะยูน หรือปลาพะยูน หรือปลาดูหยง หรือหมูน้า (Dugong or sea cow :
Dugong dugon) เป็นสัตว์น้าเค็มที่กินหญ้าทะเลเป็นอาหาร เลี้ยงลูกด้วยนม โต
เต็มที่หนัก 280-380 กิโลกรัม ริมฝีปากบนยืนคล้ายจมูกหมู หางเป็นสองแฉก
                                         ่
แบนในแนวราบ ตั้งท้องนาน 1 ปี ออกลูกคราวละ 1 ตัว ยังพบที่หาดเจ้าไหม
และเกาะลิบง จังหวัดตรัง ไม่เกิน 70 ตัว
1.13 นกกระเรียน (Sarus
crane : Grus antigone) เป็น
นกที่สูงใหญ่ที่สุดในประเทศ
ไทย คือ สูงประมาณ 1.50 เมตร
ตัวสีเทาอมเขียว บริเวณหัวเป็น
ปุ่มสีแดงส้ม หากินเป็นคู่ตาม
หนองบึงใกล้ป่า ไม่พบมากว่า
20 ปีแล้ว มีแต่ที่อพยพมาอาศัย
เป็นครั้งคราว
1.14 นกแต้วแร้วท้องดา (Gurney's pitta : Pitta gurneyi) บริเวณ
ส่วนหัวมีสีดา ท้ายทอยสีฟ้า ท้องสีดา หางสีน้าตาล พบที่จังหวัด
กระบี่และตรัง
1.15 นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือนกเจ้าฟ้า หรือนกตาพอง (White-eyed river
martin : Pseudochelidon sirintarae) เป็นนกตระกูลเดียวกับนกนางแอ่น สีดา
เหลือบเขียวแกมฟ้า โคนหางมีแถบขาว รอบตาเป็นวงสีขาว ขนหางคู่กลางยื่น
ยาว เคยพบแห่งเดียวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ในระหว่างเดือน
พฤศจิกายน-มีนาคม ครั้งสุดท้ายพบเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2523 จึงคาดว่าจะสูญ
พันธุ์แล้ว
2.สัตว์ป่าคุมครองหมายถึง สัตว์ป่าตามที่กฏกระทรวงกาหนดให้
            ้
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองกาหนดไว้ เช่น กระทิง กระรอกบิน กวาง เก้ง
ชะมด ชะนี ไก่ป่า นกยูง นกแร้ง นกเงือก งูสิง งูเหลือม ปูเจ้าฟ้า เป็น
ต้น ซึ่งกฏหมายไม่อนุญาตให้ล่าได้หรือมีไว้ในครอบครอง (ซึ่ง
รวมถึงซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง) หรือค้า
เว้นแต่การกระทาโดยทางราชการเพื่อการศึกษา วิจัย การเพาะพันธุ์
หรือเพื่อกิจการสวนสัตว์สาธารณะ หากผู้ใดครอบครองแต่เดิมให้
นามาขึ้นทะเบียนต่อป่าไม้อาเภอภายใน 90 วันนับแต่วันประกาศ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่งแบ่งได้ 7
จาพวก คือ
1. สัตว์ป่าจาพวกเลี้ยงลูกด้วยนม               จานวน 189 ชนิด
2. สัตว์ป่าจาพวกนก                      มี 181 ลาดับ 771 ชนิด
3. สัตว์ป่าจาพวกเลื้อยคลาน         มี 64 ลาดับ จานวน 91 ชนิด
4. สัตว์ป่าจาพวกสะเทินน้าสะเทินบก              จานวน 12 ชนิด
5. สัตว์ป่าจาพวกปลา                             จานวน 4 ชนิด
6. สัตว์ป่าจาพวกแมลง                                มี 13 ลาดับ
7. สัตว์ป่าจาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง                 มี 13 ลาดับ
3.สัตว์ป่านอกประเภท หมายถึง สัตว์ป่าที่ไม่ได้อยู่ใน
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
และสัตว์ป่าตามที่กฏกระทรวงกาหนดให้เป็นสัตว์ป่า
คุ้มครองกาหนดไว้ ซึ่งสามารถทาการล่าได้ ภายนอกเขต
ป่าอนุรักษ์ (อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ป่า
พื้นที่ต้นน้าชั้น 1)
ใบกิจกรรมเรื่องสัตว์ป่า
1. สัตว์ป่าคืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                ั
3. อธิบายหลักการอนุรกษ์สตว์ป่า และอุปสรรคต่างๆ
                        ั ั
ในการอนุรักษ์สัตว์ป่า
1. สัตว์ป่าคืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
- สัตว์ทกชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลงหรือ
         ุ
แมง ซึ่งตามสภาพธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยูใน    ่
ป่าหรือในน้า และให้หมายความรวมถึง ไข่ของสัตว์ป่า
เหล่านั้นทุกชนิดด้วย
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
 1.เป็นอาหาร การนาเนื้อของสัตว์ป่ามาบริโภคได้กระทามาตั้งแต่สมัยโบราณ
จนทาให้สัตว์ป่าหลายชนิดถูกมนุษย์ปรับปรุงพัฒนาจนกลายเป็นสัตว์เลี้ยงไป
เช่น แพะ แกะ กระต่าย เป็นต้น สัตว์ป่าหลายชนิดที่มนุษย์ยังนิยมนาเนื้อมาใช้
เป็นอาหาร เช่น หมูป่า เก้ง กวาง กระจง กระทิง วัวแดง นกชนิดต่าง ๆ ตะกวด
แย้ อวัยวะของสัตว์ป่าบางอย่างยังนามาดัดแปลงเป็นอาหารหรือใช้เป็นเครื่องยา
สมุนไพร เช่น นอแรด กะโหลกเลียงผา เขากวางอ่อน เลือดค่าง กระเพาะเม่น
อุ้งตีนและดีของหมี ดีงูเห่า เป็นต้น
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
2. ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่ได้จากสัตว์ป่ามีหลายรูปแบบ เช่น
(1) จากการนาชิ้นส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ป่ามาซื้อขายกัน ซึ่งอาจเป็นหนัง (หนัง
จระเข้ หนังงูเหลือม หนังงูหลาม หนังตะกวด หนังเหี้ย) งา นอ และขน หรือ
จากการขายมูลสัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาว
(2) การจาหน่ายสัตว์ป่าที่น่ารักและมีความสวยงาม เช่น นกต่าง ๆ ลิง ชะนี
(3) รายได้จากการเปิดบริการเข้าชมสัตว์ป่า ณ สถานที่ต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นสวน
สัตว์ปิด/เปิด และในปีหนึ่ง ๆ ยังทารายได้ให้กับประเทศจากการนาออกจาหน่าย
ทั้งตลาดภายในและภายนอกประเทศจานวนไม่น้อย
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
   และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                  ั

3. เครื่องใช้เครื่องประดับ อวัยวะบางอย่างของสัตว์ป่าสามารถใช้ประโยชน์ได้
เช่น หนังใช้ทากระเป๋า รองเท้า เข็มขัด งา กระดูก เขาสัตว์ป่าใช้แกะสลักและทา
เป็นด้ามมีด ด้ามเครื่องมือต่าง ๆ เป็นต้น
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
4. ด้านวิชาการ การค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่ประสบ
ผลสาเร็จและสามารถนามาใช้กับคนได้ก็ด้วยการนาสัตว์ป่ามาทดลองก่อน เช่น
ทดลองกับหนู กระแต ลิง เมื่อได้ผลจึงจะนาไปทดลองใช้กับคน การค้นคว้าวิจัย
ดังกล่าวโดยเฉพาะทางการเภสัชและการแพทย์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา
การผลิตวัคซีนต่าง ๆ ก็ยังคงอาศัยสัตว์ป่า หากไม่มีสัตว์ป่าสาหรับใช้ทดลอง
แล้ว อาจจะมีผลกระทบต่อคนได้ นอกจากนี้การศึกษาพฤติกรรมและการ
ดารงชีวิตของสัตว์บางชนิด ทาให้มนุษย์นามาเลียนแบบและสร้างเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ได้
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
5. ด้านนันทนาการและด้านจิตใจ เป็นสิ่งที่มนุษย์ได้รับจากสัตว์ป่าสามารถผ่อน
คลายความตึงเครียด จิตใจเป็นสุข เป็นสิ่งที่ไม่สามารถตีค่าออกมาเป็นตัวเงินได้
การท่องเที่ยวชมสัตว์ในสวนสัตว์ ทั้งสวนสัตว์เปิดและปิด อุทยานแห่งชาติ เขต
รักษาพันธุ์สัตว์ป่า จะเห็นคุณค่าจากความมีสีสันงดงาม ขับขานเสียงอันไพเราะ
ลีลาการเดินของสัตว์ป่าที่สอดคล้องกับความเป็นธรรมชาติที่สมบูรณ์ขึ้น การ
ท่องเที่ยวป่าเห็นหรือไม่เห็นสัตว์ป่า ล้วนเป็นเรื่องของนันทนาการและจิตใจ
ทั้งสิ้น
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
      6. การรักษาสมดุลของธรรมชาติ สัตว์ป่าจะเป็นตัวควบคุมสัตว์ป่าด้วย
กันเองโดยไม่ให้มีจานวนมากเกินไป จึงมีประโยชน์ต่อการรักษาสมดุล
ธรรมชาติดังนี้
(1) ช่วยขจัดศัตรูพืชของมนุษย์ เช่น นกช่วยขจัดแมลงและหนอนที่เป็นศัตรู
ของพืช หากปริมาณนกที่ถูกมนุษย์ล่าไปเป็นจานวนมากจะทาให้ศัตรูของแมลง
ลดลง ปริมาณแมลงจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดผลเสียหายแก่สภาพ
ธรรมชาติและทรัพย์สินของมนุษย์ สัตว์ป่าจึงเป็นตัวควบคุมประชากรของ
แมลงให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
(2) ช่วยทาลายศัตรูของป่าไม้ เช่น นกหัวขวาน นกไต่ไม้ กินแมลงและตัวหนอน
ตามลาต้นและกิ่งไม้ใหญ่ ตุน หนูผี จะกินหนอนที่ทาลายรากและลาต้นใต้ดิน
                         ่
(3) ช่วยผสมเกสรดอกไม้ เช่น นกกินปลี นกปลีกล้วย นกกาฝาก ค้างคาวกิน
น้าหวานดอกไม้ โดยช่วยผสมเกสรดอกไม้ขณะที่กินน้าหวานดอกไม้จากดอก
หนึ่งไปยังอีกดอกหนึ่ง
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า
  และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย
                                 ั
(4) ช่วยกระจายพันธุ์ไม้ โดยการกินผลไม้เป็นอาหารแล้วคายหรือถ่ายเมล็ด
ออกมาตามที่ต่าง ๆ ทาให้อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์ไม้ทผ่านกระเพาะและ
                                                           ี่
การย่อยของสัตว์เจริญงอกงามดียิ่งขึ้น สัตว์ป่าเหล่านี้ เช่น นกขุนทอง นกเงือก
ค้างคาว ลิง ค่าง วัวแดง เป็นต้น
(5) ช่วยทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยซากสัตว์ที่ตายแล้วหรือมูลของสัตว์ป่า
ทุกชนิด จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ต้นไม้ในป่าจะเจริญเติบโตได้ดี
ขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้า-ป่าไม้ เกิดความสมดุลธรรมชาติ ในที่สดก็จะ
                                                                      ุ
เกิดผลดีต่อมนุษย์
3. อธิบายหลักการอนุรกษ์สตว์ป่า และอุปสรรคต่างๆ
                      ั ั
ในการอนุรักษ์สัตว์ป่า

Contenu connexe

Tendances

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 

Tendances (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 

En vedette

คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4pageใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซียสถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซียWongpunmao
 
Endangered species
Endangered speciesEndangered species
Endangered speciesBindu Ahuja
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)Augusts Programmer
 
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-M
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-Mสอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-M
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-MMIRROR SAO
 

En vedette (16)

คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4pageใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
ใบความรู้+สัตว์ป่าสงวน+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f34-4page
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Lemur
LemurLemur
Lemur
 
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซียสถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
สถานที่ท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
 
Saola
SaolaSaola
Saola
 
Ring tailed lemur
Ring tailed lemurRing tailed lemur
Ring tailed lemur
 
บรูไน
บรูไนบรูไน
บรูไน
 
Endangered species
Endangered speciesEndangered species
Endangered species
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
 
Amur leopard
Amur leopardAmur leopard
Amur leopard
 
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-M
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-Mสอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-M
สอนทำการ์ตูน Flash เบื้องต้น-M
 

Similaire à สัตว์ป่า

สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดPang Pond
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าภคพงษ์ ภุมรินทร์
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookJintana Deenang
 
สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยSupaatikanSupakritta
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมrohanlathel
 
หมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าหมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าSk'b Methasith
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Rapol
 
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)Om Muktar
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena PmdAkradech M.
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2ponthip2507
 
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)Wannarat Kasemsri
 
โครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนโครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนWannarat Kasemsri
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 

Similaire à สัตว์ป่า (20)

สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 
Animal
AnimalAnimal
Animal
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทย
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้าหมีแพนด้า ฟ้า
หมีแพนด้า ฟ้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tab000125534831c
Tab000125534831cTab000125534831c
Tab000125534831c
 
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
จระเข้ หะลาลบริโภคหรือไม่? (ภาษาไทย)
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย ป.5_สพป.ปน.2
 
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)
 
โครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนโครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวน
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 

Plus de Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานJiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
AttachmentJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพJiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 

Plus de Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 

สัตว์ป่า

  • 2. สัตว์ป่า (Wildlife) ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง สัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ได้ให้คานิยามไว้ว่า สัตว์ทุกชนิดไม่ว่า สัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลงหรือแมง ซึ่งตามสภาพ ธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้า และให้ หมายความรวมถึง ไข่ของสัตว์ป่าเหล่านั้นทุกชนิดด้วย แต่ ไม่หมายความรวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้จดทะเบียนทาตั๋ว รูปพรรณตามกฏหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะแล้ว และสัตว์ พาหนะที่ได้มาจากการสืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะดังกล่าว
  • 3. ประเภทของสัตว์ปา ่ พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 จาแนกสัตว์ป่าไว้ ดังต่อไปนี้ 1.สัตว์ป่าสงวน 2. สัตว์ป่าคุ้มครอง 3. สัตว์ป่านอกประเภท
  • 4. 1.สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าหายากหรือกาลังจะสูญพันธุ์ จึง ห้ามล่าหรือมีไว้ครอบครองทั้งสัตว์ที่ยังมีชีวิตหรือซากสัตว์ เว้น แต่กระทาเพื่อการศึกษาวิจัยทางวิชาการหรือเพื่อกิจการ สวนสาธารณะโดยได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมป่าไม้เป็นกรณี พิเศษ สัตว์ป่าสงวนมี 15 ชนิด คือ
  • 5. 1.1 แรด หรือแรดชวา (Javan rhinoceros : Rhinoceros sondaicus) มี หนังหนา เล็บมี 3 กีบ ตัวผู้มีนอยาวไม่เกิน 25 เซนติเมตร สูง 1.60-1.75 เมตร หนักประมาณ 1,500-2,000 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 16 เดือน ตกลูกครั้ง ละ 1 ตัว ชอบอยู่ตามป่าดิบชื้น น้าอุดมสมบูรณ์ เคยพบที่เทือกเขาตะนาว ศรี จังหวัดระนอง พังงา และสุราษฎ์ธานี แต่เชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว
  • 6. 1.2 กระซู่ (Sumatran rhinoceros : Didermocerus sumatraensis) คล้ายแรดแต่เล็กกว่า คือ สูง 1.0-1.4 เมตร หนัก 900-1,000 กิโลกรัม หนังหนา มี 2 นอ ชอบอยู่ตามป่าเขาสูงทึบมีหนามรก พบตามป่า รอยต่อระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย แต่เหลืออยู่น้อยมาก
  • 7. 1.3 สมเสร็จหรือผสมเสร็จ (Malayan tapir : Tapirus indicus) จมูกและริม ฝีปากยื่นคล้ายงวงสั้น ๆ ตาเล็ก ท่อนลาตัวมีสีขาว เท้าหน้ามี 4 กีบ ส่วนเท้าหลัง มี 3 กีบ หนัก 250-300 กิโลกรัม ออกหากินตอนกลางคืน ชอบอยู่ตามป่าดงดิบที่ รกใกล้ลาน้า ยังพบบนเทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาตะนาวศรี เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และป่าดิบชื้นทางภาคใต้
  • 8. 1.4 เลียงผา หรือเยือง หรือกูรา หรือโครา (Serow : Capricornis sumatraensis) เป็นสัตว์จาพวก แพะ สูงประมาณ 1 เมตร ขนสี ดาค่อนข้างยาว ออกหากินตอน เย็นและเช้ามืด ยังพบตามภูเขา หินปูนในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และอุทยานแห่งชาติบางแห่ง เท่านั้น
  • 9. 1.5 กูปรี หรือโคไพร (Kouprey : Bos sauveli) เป็นวัวที่สูง 1.7-1.9 เมตร หนัก 700-900 กิโลกรัม ปลายขาทั้งสี่ข้างมีสีขาว ปลายเขาแตกเป็นพูแข็ง ส่วน ่ ปลายสุดโค้งบิดเวียนชี้ขึ้นทางด้านหน้า ตั้งท้องนาน 9 เดือน พรานพื้นบ้าน พบครั้งสุดท้ายที่เทือกเขาพนมดงรัก อาเภอขุขันธุ์ จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปี พ.ศ. 2525 คาดว่าอพยพกลับไปในเขตแดนกัมพูชาแล้ว
  • 10. 1.6 ควายป่า หรือมหิงสา (Wild water buffalo : Bubalus bubalis) สูง 1.6-1.9 เมตร (ควาย บ้านสูง 1.2-1.4 เมตร) หนัก 800- 1,200 กิโลกรัม บริเวณอกระหว่าง ขาคู่หน้ามีสีขาวรูปตัววี (V) อาศัย อยู่รวมกันเป็นฝูง ตั้งท้องนาน 15 เดือน เมื่อ พ.ศ. 2536 พบเหลือ เพียงแห่งเดียวในเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน ประมาณ 40 ตัว
  • 11. 1.7 สมัน หรือเนื้อสมัน (Schomburgk's deer : Cervus schomburgki) เป็นกวาง ที่มีเขาแตกเป็นหลายกิ่งสวยงามที่สุดใน โลกและพบในประเทศไทยเท่านั้น เคย พบมากตามลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาแถบ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และ พระนครศรีอยุธยา สมันตัวสุดท้ายซึ่งมี ผู้เลี้ยงปล่อยที่วัดมหาชัย จังหวัด สมุทรสาคร ตายไปเมื่อปี พ.ศ. 2481 แต่ ที่ยังกาหนดให้เป็นสัตว์ป่าสงวน เพราะ ไม่ต้องการให้เคลื่อนย้ายซากหรือเขา ออกนอกราชอาณาจักร
  • 12. 1.8 ละอง หรือละมั่ง (Eld's deer : Cervus eldi) เป็นกวางที่สูง 1.2-1.3 เมตร หนัก 95-150 กิโลกรัม เขาโค้งเป็นวงออกทางด้านข้าง ปลายเขา บิดเข้าด้านใน โคนเขาด้านหน้าแตกกิ่งยื่น และตั้งขึ้น คาดว่ายังมีอยู่ บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ชายแดนไทย-กัมพูชา
  • 13. 1.9 กวางผา (Goral : Naemorhedus griseus) ลักษณะคล้ายแพะ เล็กกว่า เลียงผา สูงราว 50-70 เซนติเมตร หนักประมาณ 22-32 กิโลกรัม ขนสี น้าตาล ขนกลางหลังเป็นริ้วสีดา เขา สีดา ออกลูกคราวละ 1-2 ตัว ยังมีพบ ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อยและ แม่ตื่น พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ติดต่อ จังหวัดตาก และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
  • 14. 1.10 เก้งหม้อ หรือเก้งดา หรือเก้งดง (Fea's barking deer : Muntiacus feai) บริเวณหลังมีสีคล้ากว่าเก้งธรรมดา คอสีขาว หนัก ประมาณ 22 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 6 เดือน หากินตอนกลางคืน มีพบ อยู่ตามป่าจังหวัดตาก ราชบุรี ลงไปจนถึงสุราษฎร์ธานี
  • 15. 1.11 แมวลายหินอ่อน (Marble cat : Pardofelis marmorata) เป็นแมวขนาดกลาง หนัก 2-5 กิโลกรัม หูเล็กมน ลาตัวลายสี น้าตาลอมเหลือง หางยาว ชอบอยู่ ตามต้นไม้ หากินตอนกลางคืน ยังเหลือน้อยมากในเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัด อุทัยธานี
  • 16. 1.12 พะยูน หรือปลาพะยูน หรือปลาดูหยง หรือหมูน้า (Dugong or sea cow : Dugong dugon) เป็นสัตว์น้าเค็มที่กินหญ้าทะเลเป็นอาหาร เลี้ยงลูกด้วยนม โต เต็มที่หนัก 280-380 กิโลกรัม ริมฝีปากบนยืนคล้ายจมูกหมู หางเป็นสองแฉก ่ แบนในแนวราบ ตั้งท้องนาน 1 ปี ออกลูกคราวละ 1 ตัว ยังพบที่หาดเจ้าไหม และเกาะลิบง จังหวัดตรัง ไม่เกิน 70 ตัว
  • 17. 1.13 นกกระเรียน (Sarus crane : Grus antigone) เป็น นกที่สูงใหญ่ที่สุดในประเทศ ไทย คือ สูงประมาณ 1.50 เมตร ตัวสีเทาอมเขียว บริเวณหัวเป็น ปุ่มสีแดงส้ม หากินเป็นคู่ตาม หนองบึงใกล้ป่า ไม่พบมากว่า 20 ปีแล้ว มีแต่ที่อพยพมาอาศัย เป็นครั้งคราว
  • 18. 1.14 นกแต้วแร้วท้องดา (Gurney's pitta : Pitta gurneyi) บริเวณ ส่วนหัวมีสีดา ท้ายทอยสีฟ้า ท้องสีดา หางสีน้าตาล พบที่จังหวัด กระบี่และตรัง
  • 19. 1.15 นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หรือนกเจ้าฟ้า หรือนกตาพอง (White-eyed river martin : Pseudochelidon sirintarae) เป็นนกตระกูลเดียวกับนกนางแอ่น สีดา เหลือบเขียวแกมฟ้า โคนหางมีแถบขาว รอบตาเป็นวงสีขาว ขนหางคู่กลางยื่น ยาว เคยพบแห่งเดียวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม ครั้งสุดท้ายพบเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2523 จึงคาดว่าจะสูญ พันธุ์แล้ว
  • 20. 2.สัตว์ป่าคุมครองหมายถึง สัตว์ป่าตามที่กฏกระทรวงกาหนดให้ ้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองกาหนดไว้ เช่น กระทิง กระรอกบิน กวาง เก้ง ชะมด ชะนี ไก่ป่า นกยูง นกแร้ง นกเงือก งูสิง งูเหลือม ปูเจ้าฟ้า เป็น ต้น ซึ่งกฏหมายไม่อนุญาตให้ล่าได้หรือมีไว้ในครอบครอง (ซึ่ง รวมถึงซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง) หรือค้า เว้นแต่การกระทาโดยทางราชการเพื่อการศึกษา วิจัย การเพาะพันธุ์ หรือเพื่อกิจการสวนสัตว์สาธารณะ หากผู้ใดครอบครองแต่เดิมให้ นามาขึ้นทะเบียนต่อป่าไม้อาเภอภายใน 90 วันนับแต่วันประกาศ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่งแบ่งได้ 7 จาพวก คือ
  • 21. 1. สัตว์ป่าจาพวกเลี้ยงลูกด้วยนม จานวน 189 ชนิด 2. สัตว์ป่าจาพวกนก มี 181 ลาดับ 771 ชนิด 3. สัตว์ป่าจาพวกเลื้อยคลาน มี 64 ลาดับ จานวน 91 ชนิด 4. สัตว์ป่าจาพวกสะเทินน้าสะเทินบก จานวน 12 ชนิด 5. สัตว์ป่าจาพวกปลา จานวน 4 ชนิด 6. สัตว์ป่าจาพวกแมลง มี 13 ลาดับ 7. สัตว์ป่าจาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง มี 13 ลาดับ
  • 22. 3.สัตว์ป่านอกประเภท หมายถึง สัตว์ป่าที่ไม่ได้อยู่ใน พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และสัตว์ป่าตามที่กฏกระทรวงกาหนดให้เป็นสัตว์ป่า คุ้มครองกาหนดไว้ ซึ่งสามารถทาการล่าได้ ภายนอกเขต ป่าอนุรักษ์ (อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ป่า พื้นที่ต้นน้าชั้น 1)
  • 23. ใบกิจกรรมเรื่องสัตว์ป่า 1. สัตว์ป่าคืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 3. อธิบายหลักการอนุรกษ์สตว์ป่า และอุปสรรคต่างๆ ั ั ในการอนุรักษ์สัตว์ป่า
  • 24. 1. สัตว์ป่าคืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง - สัตว์ทกชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลงหรือ ุ แมง ซึ่งตามสภาพธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยูใน ่ ป่าหรือในน้า และให้หมายความรวมถึง ไข่ของสัตว์ป่า เหล่านั้นทุกชนิดด้วย
  • 25. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 1.เป็นอาหาร การนาเนื้อของสัตว์ป่ามาบริโภคได้กระทามาตั้งแต่สมัยโบราณ จนทาให้สัตว์ป่าหลายชนิดถูกมนุษย์ปรับปรุงพัฒนาจนกลายเป็นสัตว์เลี้ยงไป เช่น แพะ แกะ กระต่าย เป็นต้น สัตว์ป่าหลายชนิดที่มนุษย์ยังนิยมนาเนื้อมาใช้ เป็นอาหาร เช่น หมูป่า เก้ง กวาง กระจง กระทิง วัวแดง นกชนิดต่าง ๆ ตะกวด แย้ อวัยวะของสัตว์ป่าบางอย่างยังนามาดัดแปลงเป็นอาหารหรือใช้เป็นเครื่องยา สมุนไพร เช่น นอแรด กะโหลกเลียงผา เขากวางอ่อน เลือดค่าง กระเพาะเม่น อุ้งตีนและดีของหมี ดีงูเห่า เป็นต้น
  • 26. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 2. ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่ได้จากสัตว์ป่ามีหลายรูปแบบ เช่น (1) จากการนาชิ้นส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ป่ามาซื้อขายกัน ซึ่งอาจเป็นหนัง (หนัง จระเข้ หนังงูเหลือม หนังงูหลาม หนังตะกวด หนังเหี้ย) งา นอ และขน หรือ จากการขายมูลสัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาว (2) การจาหน่ายสัตว์ป่าที่น่ารักและมีความสวยงาม เช่น นกต่าง ๆ ลิง ชะนี (3) รายได้จากการเปิดบริการเข้าชมสัตว์ป่า ณ สถานที่ต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นสวน สัตว์ปิด/เปิด และในปีหนึ่ง ๆ ยังทารายได้ให้กับประเทศจากการนาออกจาหน่าย ทั้งตลาดภายในและภายนอกประเทศจานวนไม่น้อย
  • 27. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 3. เครื่องใช้เครื่องประดับ อวัยวะบางอย่างของสัตว์ป่าสามารถใช้ประโยชน์ได้ เช่น หนังใช้ทากระเป๋า รองเท้า เข็มขัด งา กระดูก เขาสัตว์ป่าใช้แกะสลักและทา เป็นด้ามมีด ด้ามเครื่องมือต่าง ๆ เป็นต้น
  • 28. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 4. ด้านวิชาการ การค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่ประสบ ผลสาเร็จและสามารถนามาใช้กับคนได้ก็ด้วยการนาสัตว์ป่ามาทดลองก่อน เช่น ทดลองกับหนู กระแต ลิง เมื่อได้ผลจึงจะนาไปทดลองใช้กับคน การค้นคว้าวิจัย ดังกล่าวโดยเฉพาะทางการเภสัชและการแพทย์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา การผลิตวัคซีนต่าง ๆ ก็ยังคงอาศัยสัตว์ป่า หากไม่มีสัตว์ป่าสาหรับใช้ทดลอง แล้ว อาจจะมีผลกระทบต่อคนได้ นอกจากนี้การศึกษาพฤติกรรมและการ ดารงชีวิตของสัตว์บางชนิด ทาให้มนุษย์นามาเลียนแบบและสร้างเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ได้
  • 29. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 5. ด้านนันทนาการและด้านจิตใจ เป็นสิ่งที่มนุษย์ได้รับจากสัตว์ป่าสามารถผ่อน คลายความตึงเครียด จิตใจเป็นสุข เป็นสิ่งที่ไม่สามารถตีค่าออกมาเป็นตัวเงินได้ การท่องเที่ยวชมสัตว์ในสวนสัตว์ ทั้งสวนสัตว์เปิดและปิด อุทยานแห่งชาติ เขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่า จะเห็นคุณค่าจากความมีสีสันงดงาม ขับขานเสียงอันไพเราะ ลีลาการเดินของสัตว์ป่าที่สอดคล้องกับความเป็นธรรมชาติที่สมบูรณ์ขึ้น การ ท่องเที่ยวป่าเห็นหรือไม่เห็นสัตว์ป่า ล้วนเป็นเรื่องของนันทนาการและจิตใจ ทั้งสิ้น
  • 30. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั 6. การรักษาสมดุลของธรรมชาติ สัตว์ป่าจะเป็นตัวควบคุมสัตว์ป่าด้วย กันเองโดยไม่ให้มีจานวนมากเกินไป จึงมีประโยชน์ต่อการรักษาสมดุล ธรรมชาติดังนี้ (1) ช่วยขจัดศัตรูพืชของมนุษย์ เช่น นกช่วยขจัดแมลงและหนอนที่เป็นศัตรู ของพืช หากปริมาณนกที่ถูกมนุษย์ล่าไปเป็นจานวนมากจะทาให้ศัตรูของแมลง ลดลง ปริมาณแมลงจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดผลเสียหายแก่สภาพ ธรรมชาติและทรัพย์สินของมนุษย์ สัตว์ป่าจึงเป็นตัวควบคุมประชากรของ แมลงให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม
  • 31. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั (2) ช่วยทาลายศัตรูของป่าไม้ เช่น นกหัวขวาน นกไต่ไม้ กินแมลงและตัวหนอน ตามลาต้นและกิ่งไม้ใหญ่ ตุน หนูผี จะกินหนอนที่ทาลายรากและลาต้นใต้ดิน ่ (3) ช่วยผสมเกสรดอกไม้ เช่น นกกินปลี นกปลีกล้วย นกกาฝาก ค้างคาวกิน น้าหวานดอกไม้ โดยช่วยผสมเกสรดอกไม้ขณะที่กินน้าหวานดอกไม้จากดอก หนึ่งไปยังอีกดอกหนึ่ง
  • 32. 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์และโทษของสัตว์ป่า และอธิบายสาเหตุสาคัญที่ทาให้สตว์ป่าถูกทาลาย ั (4) ช่วยกระจายพันธุ์ไม้ โดยการกินผลไม้เป็นอาหารแล้วคายหรือถ่ายเมล็ด ออกมาตามที่ต่าง ๆ ทาให้อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์ไม้ทผ่านกระเพาะและ ี่ การย่อยของสัตว์เจริญงอกงามดียิ่งขึ้น สัตว์ป่าเหล่านี้ เช่น นกขุนทอง นกเงือก ค้างคาว ลิง ค่าง วัวแดง เป็นต้น (5) ช่วยทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยซากสัตว์ที่ตายแล้วหรือมูลของสัตว์ป่า ทุกชนิด จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ต้นไม้ในป่าจะเจริญเติบโตได้ดี ขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้า-ป่าไม้ เกิดความสมดุลธรรมชาติ ในที่สดก็จะ ุ เกิดผลดีต่อมนุษย์