SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
การเขียนประโยคเกี่ยวกับจานวนให้เป็นประโยคที่ใช้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
มาแล้ว เช่น ประโยค สามเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับหก เขียนได้เป็น 3x = 6 และ
ประโยค สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสี่อยู่เจ็ด เขียนได้เป็น 2x – 4 = 7
นอกจากนี้ยังเคยรู้จักสัญลักษณ์ต่อไปนี้

    <        แทนความสัมพันธ์ น้อยกว่า หรือไม่ถึง
    >        แทนความสัมพันธ์ มากกว่า หรือเกิน
และ ≠        แทนความสัมพันธ์ ไม่เท่ากับ หรือไม่เท่ากัน

นอกจากสัญลักษณ์ดังกล่าวแล้ว เรายังใช้สัญลักษณ์ ≤ แทนความสัมพันธ์น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ สัญลักษณ์ ≥ แทนความสัมพันธ์ที่มากกว่าหรือเท่ากับ เช่น

    x ≤ 2 อ่านว่า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2
          หมายถึง        x < 2 หรือ x = 2
          อีกนัยหนึ่งคือ x ไม่เกิน 2
และ a ≥ b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b
          หมายถึง        a > b หรือ a = b
          อีกนัยหนึ่งคือ a ไม่น้อยกว่า b
ในแต่ละอสมการอาจจะมีตัวเป็นหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ ถ้าอสมการมีตัวแปร ตัวแปร
นั้นจะแทนจานวน ในกรณีที่ไม่ระบุเงื่อนไขของตัวแปร ให้ถือว่าตัวแปรนั้นแทนจานวน
จริงใดๆ

     จากประโยคสัญลักษณ์ที่ใช้ในทางคณิตศาสตร์ข้างต้น ประโยคในข้อที่ 1 เป็น
ตัวอย่างของอสมการที่ไม่มีตัวแปร ส่วนประโยคในข้อ 2 ถึงข้อ 6 เป็นตัวอย่างของ
อสมการที่มีตัวเป็น อสมการดังกล่าวจึงเป็นตัวอย่างของ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างอื่นๆ ของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เช่น




     อสมการที่มีตัวแปรอาจเป็นจริงหรือไม่เป็นจริงขึ้นอยู่กับค่าของตัวแปร เช่น
อสมการ x – 2 < 5 เป็นจริง เมื่อแทน x ด้วย 4 หรือ แทน x ด้วย -3 และไม่เป็นจริงเมื่อ
แทน x ด้วย 10 เรียกจานวนที่แทน x ในอสมการ x – 2 < 5 แล้วทาให้ x – 2 < 5 เป็นจริง
ว่า คาตอบของอสมการ x – 2 < 5
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อาจมีคาตอบได้หายลักษณะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้


                         จงหาคาตอบของอสมการ a ≠ 30
วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน a ด้วยจานวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 30 ใน a ≠ 30
            จะได้อสมการเป็นจริง
ดังนั้น คาตอบของสมการ a ≠ 30 คือจานวนจริงทุกจานวนยกเว้น 30
ตอบ จานวนจริงทุกจานวนยกเว้น 30


                       จงหาคาตอบของอสมการ x ≥ 7
วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7 ใน X ≥ 7
        แล้วจะได้อสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น คาตอบของอสมการ x ≥ 7 คือ จานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7
ตอบ จานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7



                        จงหาคาตอบของอสมการ m + 1 < m + 2
วิธีทา เนื่องจากเมื่อแทน m ด้วยจานวนจริงใดๆ ใน m + 1 < m + 2 แล้วจะได้อสมการ
        ที่เป็นจริงเสมอ
ดังนั้น คาตอบของอสมการ m + 1 < m + 2 คือจานวนจริงทุกจานวน
ตอบ จานวนจริงทุกจานวน
จงหาคาตอบของอสมการ z - 2 > z
วิธีทา เนื่องจากไม่มีจานวนจริงใดแทน z ใน z - 2 > z แล้วทาให้อสมการเป็นจริง
ดังนั้น ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบของอสมการ z - 2 > z
ตอบ ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบ

ตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงอสมการ 3 แบบ ตามลักษณะคาตอบดังนี้
     1) อสมการที่มีจานวนจริงบางจานวนเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 1 และ
ตัวอย่างที่ 2
     2) อสมการที่มีจานวนจริงทุกจานวนเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 3
     3) อสมการที่ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 4
คาตอบของอสมการ อาจแสดงให้เห็นโดยใช้กราฟบนเส้นจานวนแสดงจานวนจริงที่เป็น
คาตอบ ดังตัวอย่าง

1) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ m > 2 เป็นดังนี้

กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่า 2 ซึ่งเป็นคาตอบของ m < 2 เนื่องจาก
2 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน 2 ไว้ เพื่อแสดงให้เห็นว่ากราฟ
ไม่รวมจุดที่แทน 2

2) กราฟแสดงคาตอบของสมการ w ≤ 3 เป็นดังนี้

กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ซึ่งเป็นคาตอบของ w
≤3

   เนื่องจาก 3 เป็นคาตอบ จะเขียนรูปวงกลมทึบเล็กๆ ทับบนจุดที่แทน 3 ไว้ เพื่อ
แสดงให้เห็นว่ากราฟรวมจุดที่แทน 3
3) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ -2 < x ≤ 5 เป็นดังนี้

กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่มีค่ามากกว่า -2 แต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ซึ่ง
เป็นคาตอบของ -2 < x ≤ 5
      เนื่องจาก -2 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน -2 ไว้ เพื่อแสดง
ว่ากราฟไม่รวมจุดที่แทน -2 และเนื่องจาก -5 เป็นคาตอบจพเขียนรูปวงกลมทึบเล็กๆ ทับ
จุดที่แทน 5 ไว้ เพื่อแสกงว่ากราฟรวมจุดที่แทน 5

4) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ y ≠ -1

กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนยกเว้น -1 ซึ่งเป็นคาตอบของ y ≠ -1
     เนื่องจาก -1 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน -1 ไว้ เพื่อแสดง
ว่ากราฟไม่รวมจุดที่แทน -1




      การแก้อสมการ คือ การหาคาตอบของสมการ ที่ผ่านมาเราแก้สมการโดยลองแทน
ค่าตัวแปรในอสมการ แต่อาจจะไม่สะดวกเมื่ออสมการมีความซับซ้อน เช่น เมื่อต้องการ
แก้อสมการ เราจะพบว่า เป็นการยากที่จะหาคาตอบของอสมการนี้โดยการลองแทน
ค่าตัวแปร

     เพื่อความรวดเร็วในการแก้อสมการ เราจะใช้สมบัติการไม่เท่ากันในการหาคาตอบ
ได้แก่ สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันและสมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน
ตัวอย่าง ถ้า           10 < 12     แล้ว 10 + 5 < 12 + 5
              หรือ 15 < 17
                 ถ้า 25 ≤ 30       แล้ว 25 + 10 ≤ 30 + 10
              หรือ 35 ≤ 40
    เนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมายเช่นเดียวกับ
b ≥ a ด้วยดังนี้




1. x - 4 < 20
นา 4 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ
จะได้ x - 4 + 4 < 20 + 4
ดังนั้น        x < 24

2. x + 15 > 10
นา -15 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ
จะได้ x + 15 + (-15) > 10 + (-15)
           x + 15 - 15 > 10 - 15
ดังนั้น              x > -5
3. 30 + x ≤ 12
นา -30 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ
จะได้ 30 + x – 30 ≤ 12 - 30
ดังนั้น           x ≤ -18

4. x - 12 ≥ -4
นา 12 มาบวกทั้งสองข้างอสมการ
จะได้ x - 12 + 12 ≥ -4 + 12
ดังนั้น         x ≥ 8

      จากตัวอย่างข้างต้น เราใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากัน ทาให้อสมการสุดท้าย
อยู่ในรูป x < c, x ≤ c หรือ x ≥ c ซึ่งคาตอบทุกคาตอบของอสมการสุดท้ายเป็นคอตอบ
ของอสมการแรก และคาตอบทุกคาตอบของอสมการแรกเป็นคาตอบของอสมการ
สุดท้าย ในกรณีนี้เรากล่าวว่า อสมการแรกสมมูล กับอสมการสุดท้าย และเมื่อสามารถ
หาอสมการที่สมมูลกับอสมการที่ต้องการหาคาตอบโดยการคานวณในแต่ ละขั้นตอน
ถูกต้องแล้วก็ไม่จาเป็นต้องตรวจคาตอบ
จากตัวอย่างข้างต้นจะได้อสมการที่สมมูลกันดังนี้
x - 4 < 20 สมมูลกับ x < 24
x + 15 > 10 สมมูลกับ x > -5
30 + x ≤ 12 สมมูลกับ x ≤ -18
x - 12 ≥ -4 สมมูลกับ x ≥ 8
      อสมการบางอสมการไม่สามารถใช้สมบัติการบวกของการไม่ เท่ากันเพียงอย่าง
เดียวในการหาคาตอบ เช่น 8x > 24 ในกรณีเช่นนี้ต้องใช้สมบัติการคูรของการไม่เท่ากัน
จึงจะสามารถหาคาตอบได้
ตัวอย่าง
1. ถ้า 5< 7           แล้ว 5 x 2 < 7 x 2              จะได้ 10 < 14
2. ถ้า 12 ≤ 15 แล้ว 12 x 3 ≤ 15 x 3                   จะได้ 36 ≤ 45
3. ถ้า 20 < 30 แล้ว 20 x (-4) > 30 x (-14) จะได้ -80 > -120
4. ถ้า 100 ≤ 200 แล้ว 100 x (-5) ≥ 200 > (-5) จะได้ -500 ≥ -1,000
     และเนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมาย
เช่นเดียวกับ b > b และ a ≥ b ด้วยดังนี้




     เนื่องจากการหารด้วย c เมื่อ c ≠ 0 คือการคูณด้วย เราจึงใช้สมบัติการคูณของการ
ไม่เท่ากันในการแก้อสมการที่อยู่ในรูป cx < b หรือ cx ≤ b เมื่อ c และ b เป็นค่าคงตัว
และ c ≠ 0

     สาหรับการแก้อสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เช่น x - 6 ≠ 28 และ 7x + 4 ≠ 25 เราจะ
ไม่ใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันและสมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน แต่จะแก้
สมการเพื่อหาคาตอบ ซึ่งจะได้คาตอบของอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เป็นจานวนทุก
จานวนยกเว้นจานวนที่เป็นคาตอบของสมการ
ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวก็สามารถทาได้ โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้และให้หาอะไร
ขั้นที่ 2 กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ให้หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ให้หา
ขั้นที่ 3 เขียนอสมการตามเงื่อนไขในโจทย์
ขั้นที่ 4 แก้อสมการเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์


                     ปัน ซื้อน้าดื่มขวดมาขาย 200 ขวด เป็นเงิน 1,200 บาท ขายน้า
ขวดเล็กราคาขวดละ 5 บาท ขายน้าขวดกลางราคาขวดละ 8 บาท เมื่อขายหมดได้กาไร
มากกว่า 250 บาท อยากทราบว่าปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมากกี่ขวด
ตรวจสอบ
      ถ้าปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด จะต้องซื้อน้าขวดกลางมาขายอย่าง
น้อย 200 - 49 =.151 ขวด
ขายน้าขวดเล็ก 49 ขวด เป็นเงิน 5 x 49 = 245 บาท
ขายน้าขวดกลาง 151 ขวด เป็นเงิน 8 x 151 = 1,208 บาท
ขายน้าทั้งหมดได้เงิน 245 + 1,208 = 1,453 บาท
คิดเป็นกาไร 1,453 - 1,200= 253 บาท
กาไร 253 มากกว่า 250 บาท ซึ่งเป็นไปจริงตามเงื่อนไขที่โจทย์กาหนด
ดังนั้น ปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด
ตอบ 49 ขวด



                            พิม มีเงินสะสมอยู่จานวนหนึ่ง วันหนึ่งพ่อของพิมให้เงินพิม
เป็นพิเศษ 600 บาท วันรุ่งขึ้นพิมซื้ออาหารให้แมวและนกที่เลี้ยงไว้เป็นเงิน 420 บาท พิม
รู้ว่ายังเหลือเงินอยู่ไม่น้อยกว่าครึ่งของเงินของพิมและเงินที่พ่อให้ รวมกัน จงหาว่า
เดิมพิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อยกี่บาท
ตรวจสอบ
      ถ้าพิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อย 240 บาท
เมื่อรวมกับเงินที่พ่อให้ 600 บาท พิมจะมีเงินรวมกันอย่างน้อย 260 + 600 = 860 บาท
หลังจากซื้ออาหารให้แมวและนก 420 บาท
จะเหลือเงินอีกอย่างน้อย 840 – 450 = 420 บาท เงิน 420 บาทไม่น้อยกว่า 1/2 ของ 840
บาท ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์
ดังนั้น พิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อย 240บาท
ตอบ 240 บาท

EX แก้วอ่านหนังสือเล่มหนึ่ง วันแรกอ่านได้ 2/5 เล่ม วันต่อมาอ่านได้อีก 25 หน้า
รวมสองวันอ่านได้มากกว่า ครึ่งเล่มจงหาว่าหนังสือเล่มนี้มีจานวนหน้าอย่างมากกี่หน้า
วิธทำ
   ี                                           ื ้
         จำกโจทย์ ให ้ x แทนจำนวนหน ้ำของหนั งสอทังหมดเรำสำมำรถเขียนเป็ น
อสมกำรได ้ดังนี้
EXปัญญามีเหรียญบาท และเหรียญห้าบาท อยู่ในกระป๋องออมสินจานวนหนึ่ง เมื่อ

เหรียญเต็มกระป๋อง เขาเทออกมานับพบว่า มีเหรียญ บาทมากกว่า เหรียญ ห้าบาทอยู่ 12

เหรียญ นับเป็นจานวนเงินทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 300 บาทจงหาว่า มีเหรียญห้าบาทอยู่อย่าง

น้อยกี่เหรียญ

วิธีทา จากโจทย์ มีเหรียญ 2 ชนิดคือ เหรียญ 1 บาท และ 5 บาท เหรียญทั้งสอง เมื่อเอา

จานวนเหรียญ มาคูณกับค่าของเหรียญ ต้องมีค่าไม่น้อยกว่า คือ มากกว่าหรือเท่ากับ

300 เราให้ x แทนจานวนเหรียญ ได้ อสมการ ดังนี้




ดังนั้นเราจะได้ว่า

เหรียญ 1 บาท = 48 + 12 x 1 = 60 บาท

เหรียญ 5 บาท = 48 x 5    = 240    บาท
EX     ถ้าสองเท่าของจานวนเต็มบวกจานวนหนึ่งมากกว่า 20 อยู่ไม่ถึง 6 จานวนดังกล่าว

เป็นจานวนใดได้บ้าง

วิธีทา จากโจทย์ ให้ x แทนจานวนเต็มบวก ได้สมการดังนี้




จานวนเต็มบวก ที่มีค่าน้อยกว่า 13

คือ     12 , 10 , 8 , 6 , 4 , 2

EX    แม่ค้าต้องการบรรจุมะม่วงใส่ลัง ลังพลาสติกเปล่าแต่ละใบหนัก 2.5 กิโลกรัม

มะม่วงขนาดใกล้เคียงกันแต่ละผลหนัก0.3 กิโลกรัม เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายใน

การขนส่ง ต้องการบรรจุมะม่วงให้มากที่สุด แต่ต้องไม่หนักมากจนเกินไปจนเป็นปัญหา

ในการเคลื่อนย้าย จากประสบการณ์แม่ค้าพบว่าถ้าจะให้คุ้มค่าขนส่งโดยมะม่วงไม่

เสียหาย ต้องบรรจุมะม่วงให้แต่ละลังมีน้าหนักรวมกัน อย่างน้อยลังละ 19 กิโลกรัมแต่

ไม่เกิน 25 กิโลกรัมจงหาว่าแม่ค้า ควรบรรจุมะม่วงใส่ลังอย่างน้อยลังละอย่างมากลังละกี่

ผล
วิธีทา

ถ้าจะให้คุ้มค่าขนส่งโดยมะม่วงไม่ เสียหาย ต้องบรรจุมะม่วงให้แต่ละลังมีน้าหนัก

รวมกัน อย่างน้อยลังละ 19 กิโลกรัมแต่ไม่เกิน 25 กิโลกรัมดังนั้น เมื่อหัก ลังพลาสติก

เปล่าแต่ละใบ หนัก 2.5 กิโลกรัมจะเป็นน้าหนัก ของมะม่วงที่ใส่ลงไป

จะได้       19.00 - 2.5 = 16.5 กก.

            25.00 - 2.5 = 22.5 กก.

เราให้ x แทน จานวนลูก ดังนั้นเราจะได้สมการ




จะได้จานวนลูกของมะม่วงในแต่ละลังที่บรรจุไปแล้วค้มค่า

การขนส่งต้องบรรจุลังละ ประมาณ 55 ถึง 75 ลูก ต่อลัง
EX ป้องซื้อน้าดื่มขวดมาขาย 200 ขวด เป็นเงิน 1,200 บาท ขายน้าขวดเล็กราคาขวดละ 5
บาท ขายน้าขวดกลางราคาขวดละ 8 บาท เมื่อขายหมดได้กาไรมากกว่า 250 บาท อยาก
ทราบว่าป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมากกี่ขวด

วิธีทา      ให้ป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขาย x ขวด

          จะได้ว่า ป้องซื้อน้าขวดกลางมาขาย 200-x ขวด

          ขายน้าขวดเล็กได้เงิน 5x บาท

          ขายน้าขวดกลางได้เงิน 8(200-x) บาท

          ขายน้าทั้งหมดได้กาไรมากกว่า 250 บาท

          จะได้อสมการเป็น
               5x + 8[200-x] – 1,200 > 250

                5x + 1,600 - 8x -1,200 > 250

                          -3x + 400 > 250

                            -3x > 250 - 400

                            -3x > -150

                            x <
                            x < 50
ตรวจสอบ      ถ้าป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด

          จะต้องซื้อน้าขวดกลางมาขายอย่างน้อย 200-49 = 151 ขวด
          ขายน้าขวดเล็ก          49 ขวด         เป็นเงิน 5 49 = 245 บาท
          ขายน้าขวดกลาง 151 ขวด             เป็นเงิน 8 151= 1,208 บาท
ขายน้าทั้งหมดได้เงิน 245+1,208 = 1,453 บาท

คิดเป็นกาไร 1,453-1,200 = 253 บาท

กาไร 253 มากกว่า 250 บาทซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์

ดังนั้น ป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด

ตอบ 49 ขวด

Contenu connexe

Tendances

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
suwanpinit
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
suwanpinit
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 

Tendances (20)

3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 

Similaire à อสมการ

วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
ทับทิม เจริญตา
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102
chalompon
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
krookay2012
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
pummath
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
krookay2012
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริง
Bombam Waranya
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Piyanouch Suwong
 

Similaire à อสมการ (20)

1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
112
112112
112
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real
RealReal
Real
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริง
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 

อสมการ

  • 1. การเขียนประโยคเกี่ยวกับจานวนให้เป็นประโยคที่ใช้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ มาแล้ว เช่น ประโยค สามเท่าของจานวนจานวนหนึ่งเท่ากับหก เขียนได้เป็น 3x = 6 และ ประโยค สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสี่อยู่เจ็ด เขียนได้เป็น 2x – 4 = 7 นอกจากนี้ยังเคยรู้จักสัญลักษณ์ต่อไปนี้ < แทนความสัมพันธ์ น้อยกว่า หรือไม่ถึง > แทนความสัมพันธ์ มากกว่า หรือเกิน และ ≠ แทนความสัมพันธ์ ไม่เท่ากับ หรือไม่เท่ากัน นอกจากสัญลักษณ์ดังกล่าวแล้ว เรายังใช้สัญลักษณ์ ≤ แทนความสัมพันธ์น้อยกว่าหรือ เท่ากับ สัญลักษณ์ ≥ แทนความสัมพันธ์ที่มากกว่าหรือเท่ากับ เช่น x ≤ 2 อ่านว่า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 หมายถึง x < 2 หรือ x = 2 อีกนัยหนึ่งคือ x ไม่เกิน 2 และ a ≥ b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a > b หรือ a = b อีกนัยหนึ่งคือ a ไม่น้อยกว่า b
  • 2. ในแต่ละอสมการอาจจะมีตัวเป็นหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ ถ้าอสมการมีตัวแปร ตัวแปร นั้นจะแทนจานวน ในกรณีที่ไม่ระบุเงื่อนไขของตัวแปร ให้ถือว่าตัวแปรนั้นแทนจานวน จริงใดๆ จากประโยคสัญลักษณ์ที่ใช้ในทางคณิตศาสตร์ข้างต้น ประโยคในข้อที่ 1 เป็น ตัวอย่างของอสมการที่ไม่มีตัวแปร ส่วนประโยคในข้อ 2 ถึงข้อ 6 เป็นตัวอย่างของ อสมการที่มีตัวเป็น อสมการดังกล่าวจึงเป็นตัวอย่างของ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างอื่นๆ ของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เช่น อสมการที่มีตัวแปรอาจเป็นจริงหรือไม่เป็นจริงขึ้นอยู่กับค่าของตัวแปร เช่น อสมการ x – 2 < 5 เป็นจริง เมื่อแทน x ด้วย 4 หรือ แทน x ด้วย -3 และไม่เป็นจริงเมื่อ แทน x ด้วย 10 เรียกจานวนที่แทน x ในอสมการ x – 2 < 5 แล้วทาให้ x – 2 < 5 เป็นจริง ว่า คาตอบของอสมการ x – 2 < 5
  • 3. อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อาจมีคาตอบได้หายลักษณะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ จงหาคาตอบของอสมการ a ≠ 30 วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน a ด้วยจานวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 30 ใน a ≠ 30 จะได้อสมการเป็นจริง ดังนั้น คาตอบของสมการ a ≠ 30 คือจานวนจริงทุกจานวนยกเว้น 30 ตอบ จานวนจริงทุกจานวนยกเว้น 30 จงหาคาตอบของอสมการ x ≥ 7 วิธีทา เนื่องจาก เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7 ใน X ≥ 7 แล้วจะได้อสมการที่เป็นจริง ดังนั้น คาตอบของอสมการ x ≥ 7 คือ จานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7 ตอบ จานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7 จงหาคาตอบของอสมการ m + 1 < m + 2 วิธีทา เนื่องจากเมื่อแทน m ด้วยจานวนจริงใดๆ ใน m + 1 < m + 2 แล้วจะได้อสมการ ที่เป็นจริงเสมอ ดังนั้น คาตอบของอสมการ m + 1 < m + 2 คือจานวนจริงทุกจานวน ตอบ จานวนจริงทุกจานวน
  • 4. จงหาคาตอบของอสมการ z - 2 > z วิธีทา เนื่องจากไม่มีจานวนจริงใดแทน z ใน z - 2 > z แล้วทาให้อสมการเป็นจริง ดังนั้น ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบของอสมการ z - 2 > z ตอบ ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบ ตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงอสมการ 3 แบบ ตามลักษณะคาตอบดังนี้ 1) อสมการที่มีจานวนจริงบางจานวนเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 1 และ ตัวอย่างที่ 2 2) อสมการที่มีจานวนจริงทุกจานวนเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 3 3) อสมการที่ไม่มีจานวนจริงใดเป็นคาตอบ เช่น อสมการในตัวอย่างที่ 4 คาตอบของอสมการ อาจแสดงให้เห็นโดยใช้กราฟบนเส้นจานวนแสดงจานวนจริงที่เป็น คาตอบ ดังตัวอย่าง 1) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ m > 2 เป็นดังนี้ กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่มากกว่า 2 ซึ่งเป็นคาตอบของ m < 2 เนื่องจาก 2 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน 2 ไว้ เพื่อแสดงให้เห็นว่ากราฟ ไม่รวมจุดที่แทน 2 2) กราฟแสดงคาตอบของสมการ w ≤ 3 เป็นดังนี้ กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ซึ่งเป็นคาตอบของ w ≤3 เนื่องจาก 3 เป็นคาตอบ จะเขียนรูปวงกลมทึบเล็กๆ ทับบนจุดที่แทน 3 ไว้ เพื่อ แสดงให้เห็นว่ากราฟรวมจุดที่แทน 3
  • 5. 3) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ -2 < x ≤ 5 เป็นดังนี้ กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนที่มีค่ามากกว่า -2 แต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ซึ่ง เป็นคาตอบของ -2 < x ≤ 5 เนื่องจาก -2 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน -2 ไว้ เพื่อแสดง ว่ากราฟไม่รวมจุดที่แทน -2 และเนื่องจาก -5 เป็นคาตอบจพเขียนรูปวงกลมทึบเล็กๆ ทับ จุดที่แทน 5 ไว้ เพื่อแสกงว่ากราฟรวมจุดที่แทน 5 4) กราฟแสดงคาตอบของอสมการ y ≠ -1 กราฟข้างต้นแสดงจานวนจริงทุกจานวนยกเว้น -1 ซึ่งเป็นคาตอบของ y ≠ -1 เนื่องจาก -1 ไม่ใช่คาตอบ จะเขียนวงกลมเล็กๆ ล้อมรอบจุดที่แทน -1 ไว้ เพื่อแสดง ว่ากราฟไม่รวมจุดที่แทน -1 การแก้อสมการ คือ การหาคาตอบของสมการ ที่ผ่านมาเราแก้สมการโดยลองแทน ค่าตัวแปรในอสมการ แต่อาจจะไม่สะดวกเมื่ออสมการมีความซับซ้อน เช่น เมื่อต้องการ แก้อสมการ เราจะพบว่า เป็นการยากที่จะหาคาตอบของอสมการนี้โดยการลองแทน ค่าตัวแปร เพื่อความรวดเร็วในการแก้อสมการ เราจะใช้สมบัติการไม่เท่ากันในการหาคาตอบ ได้แก่ สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันและสมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน
  • 6. ตัวอย่าง ถ้า 10 < 12 แล้ว 10 + 5 < 12 + 5 หรือ 15 < 17 ถ้า 25 ≤ 30 แล้ว 25 + 10 ≤ 30 + 10 หรือ 35 ≤ 40 เนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมายเช่นเดียวกับ b ≥ a ด้วยดังนี้ 1. x - 4 < 20 นา 4 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ x - 4 + 4 < 20 + 4 ดังนั้น x < 24 2. x + 15 > 10 นา -15 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ x + 15 + (-15) > 10 + (-15) x + 15 - 15 > 10 - 15 ดังนั้น x > -5
  • 7. 3. 30 + x ≤ 12 นา -30 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ 30 + x – 30 ≤ 12 - 30 ดังนั้น x ≤ -18 4. x - 12 ≥ -4 นา 12 มาบวกทั้งสองข้างอสมการ จะได้ x - 12 + 12 ≥ -4 + 12 ดังนั้น x ≥ 8 จากตัวอย่างข้างต้น เราใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากัน ทาให้อสมการสุดท้าย อยู่ในรูป x < c, x ≤ c หรือ x ≥ c ซึ่งคาตอบทุกคาตอบของอสมการสุดท้ายเป็นคอตอบ ของอสมการแรก และคาตอบทุกคาตอบของอสมการแรกเป็นคาตอบของอสมการ สุดท้าย ในกรณีนี้เรากล่าวว่า อสมการแรกสมมูล กับอสมการสุดท้าย และเมื่อสามารถ หาอสมการที่สมมูลกับอสมการที่ต้องการหาคาตอบโดยการคานวณในแต่ ละขั้นตอน ถูกต้องแล้วก็ไม่จาเป็นต้องตรวจคาตอบ จากตัวอย่างข้างต้นจะได้อสมการที่สมมูลกันดังนี้ x - 4 < 20 สมมูลกับ x < 24 x + 15 > 10 สมมูลกับ x > -5 30 + x ≤ 12 สมมูลกับ x ≤ -18 x - 12 ≥ -4 สมมูลกับ x ≥ 8 อสมการบางอสมการไม่สามารถใช้สมบัติการบวกของการไม่ เท่ากันเพียงอย่าง เดียวในการหาคาตอบ เช่น 8x > 24 ในกรณีเช่นนี้ต้องใช้สมบัติการคูรของการไม่เท่ากัน จึงจะสามารถหาคาตอบได้
  • 8. ตัวอย่าง 1. ถ้า 5< 7 แล้ว 5 x 2 < 7 x 2 จะได้ 10 < 14 2. ถ้า 12 ≤ 15 แล้ว 12 x 3 ≤ 15 x 3 จะได้ 36 ≤ 45 3. ถ้า 20 < 30 แล้ว 20 x (-4) > 30 x (-14) จะได้ -80 > -120 4. ถ้า 100 ≤ 200 แล้ว 100 x (-5) ≥ 200 > (-5) จะได้ -500 ≥ -1,000 และเนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมาย เช่นเดียวกับ b > b และ a ≥ b ด้วยดังนี้ เนื่องจากการหารด้วย c เมื่อ c ≠ 0 คือการคูณด้วย เราจึงใช้สมบัติการคูณของการ ไม่เท่ากันในการแก้อสมการที่อยู่ในรูป cx < b หรือ cx ≤ b เมื่อ c และ b เป็นค่าคงตัว และ c ≠ 0 สาหรับการแก้อสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เช่น x - 6 ≠ 28 และ 7x + 4 ≠ 25 เราจะ ไม่ใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันและสมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน แต่จะแก้ สมการเพื่อหาคาตอบ ซึ่งจะได้คาตอบของอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เป็นจานวนทุก จานวนยกเว้นจานวนที่เป็นคาตอบของสมการ
  • 9. ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวก็สามารถทาได้ โดยมี ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้และให้หาอะไร ขั้นที่ 2 กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ให้หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ให้หา ขั้นที่ 3 เขียนอสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ ขั้นที่ 4 แก้อสมการเพื่อหาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์ ปัน ซื้อน้าดื่มขวดมาขาย 200 ขวด เป็นเงิน 1,200 บาท ขายน้า ขวดเล็กราคาขวดละ 5 บาท ขายน้าขวดกลางราคาขวดละ 8 บาท เมื่อขายหมดได้กาไร มากกว่า 250 บาท อยากทราบว่าปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมากกี่ขวด
  • 10. ตรวจสอบ ถ้าปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด จะต้องซื้อน้าขวดกลางมาขายอย่าง น้อย 200 - 49 =.151 ขวด ขายน้าขวดเล็ก 49 ขวด เป็นเงิน 5 x 49 = 245 บาท ขายน้าขวดกลาง 151 ขวด เป็นเงิน 8 x 151 = 1,208 บาท ขายน้าทั้งหมดได้เงิน 245 + 1,208 = 1,453 บาท คิดเป็นกาไร 1,453 - 1,200= 253 บาท กาไร 253 มากกว่า 250 บาท ซึ่งเป็นไปจริงตามเงื่อนไขที่โจทย์กาหนด ดังนั้น ปันซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด ตอบ 49 ขวด พิม มีเงินสะสมอยู่จานวนหนึ่ง วันหนึ่งพ่อของพิมให้เงินพิม เป็นพิเศษ 600 บาท วันรุ่งขึ้นพิมซื้ออาหารให้แมวและนกที่เลี้ยงไว้เป็นเงิน 420 บาท พิม รู้ว่ายังเหลือเงินอยู่ไม่น้อยกว่าครึ่งของเงินของพิมและเงินที่พ่อให้ รวมกัน จงหาว่า เดิมพิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อยกี่บาท
  • 11. ตรวจสอบ ถ้าพิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อย 240 บาท เมื่อรวมกับเงินที่พ่อให้ 600 บาท พิมจะมีเงินรวมกันอย่างน้อย 260 + 600 = 860 บาท หลังจากซื้ออาหารให้แมวและนก 420 บาท จะเหลือเงินอีกอย่างน้อย 840 – 450 = 420 บาท เงิน 420 บาทไม่น้อยกว่า 1/2 ของ 840 บาท ซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์ ดังนั้น พิมมีเงินสะสมอยู่อย่างน้อย 240บาท ตอบ 240 บาท EX แก้วอ่านหนังสือเล่มหนึ่ง วันแรกอ่านได้ 2/5 เล่ม วันต่อมาอ่านได้อีก 25 หน้า รวมสองวันอ่านได้มากกว่า ครึ่งเล่มจงหาว่าหนังสือเล่มนี้มีจานวนหน้าอย่างมากกี่หน้า วิธทำ ี ื ้ จำกโจทย์ ให ้ x แทนจำนวนหน ้ำของหนั งสอทังหมดเรำสำมำรถเขียนเป็ น อสมกำรได ้ดังนี้
  • 12. EXปัญญามีเหรียญบาท และเหรียญห้าบาท อยู่ในกระป๋องออมสินจานวนหนึ่ง เมื่อ เหรียญเต็มกระป๋อง เขาเทออกมานับพบว่า มีเหรียญ บาทมากกว่า เหรียญ ห้าบาทอยู่ 12 เหรียญ นับเป็นจานวนเงินทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 300 บาทจงหาว่า มีเหรียญห้าบาทอยู่อย่าง น้อยกี่เหรียญ วิธีทา จากโจทย์ มีเหรียญ 2 ชนิดคือ เหรียญ 1 บาท และ 5 บาท เหรียญทั้งสอง เมื่อเอา จานวนเหรียญ มาคูณกับค่าของเหรียญ ต้องมีค่าไม่น้อยกว่า คือ มากกว่าหรือเท่ากับ 300 เราให้ x แทนจานวนเหรียญ ได้ อสมการ ดังนี้ ดังนั้นเราจะได้ว่า เหรียญ 1 บาท = 48 + 12 x 1 = 60 บาท เหรียญ 5 บาท = 48 x 5 = 240 บาท
  • 13. EX ถ้าสองเท่าของจานวนเต็มบวกจานวนหนึ่งมากกว่า 20 อยู่ไม่ถึง 6 จานวนดังกล่าว เป็นจานวนใดได้บ้าง วิธีทา จากโจทย์ ให้ x แทนจานวนเต็มบวก ได้สมการดังนี้ จานวนเต็มบวก ที่มีค่าน้อยกว่า 13 คือ 12 , 10 , 8 , 6 , 4 , 2 EX แม่ค้าต้องการบรรจุมะม่วงใส่ลัง ลังพลาสติกเปล่าแต่ละใบหนัก 2.5 กิโลกรัม มะม่วงขนาดใกล้เคียงกันแต่ละผลหนัก0.3 กิโลกรัม เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายใน การขนส่ง ต้องการบรรจุมะม่วงให้มากที่สุด แต่ต้องไม่หนักมากจนเกินไปจนเป็นปัญหา ในการเคลื่อนย้าย จากประสบการณ์แม่ค้าพบว่าถ้าจะให้คุ้มค่าขนส่งโดยมะม่วงไม่ เสียหาย ต้องบรรจุมะม่วงให้แต่ละลังมีน้าหนักรวมกัน อย่างน้อยลังละ 19 กิโลกรัมแต่ ไม่เกิน 25 กิโลกรัมจงหาว่าแม่ค้า ควรบรรจุมะม่วงใส่ลังอย่างน้อยลังละอย่างมากลังละกี่ ผล
  • 14. วิธีทา ถ้าจะให้คุ้มค่าขนส่งโดยมะม่วงไม่ เสียหาย ต้องบรรจุมะม่วงให้แต่ละลังมีน้าหนัก รวมกัน อย่างน้อยลังละ 19 กิโลกรัมแต่ไม่เกิน 25 กิโลกรัมดังนั้น เมื่อหัก ลังพลาสติก เปล่าแต่ละใบ หนัก 2.5 กิโลกรัมจะเป็นน้าหนัก ของมะม่วงที่ใส่ลงไป จะได้ 19.00 - 2.5 = 16.5 กก. 25.00 - 2.5 = 22.5 กก. เราให้ x แทน จานวนลูก ดังนั้นเราจะได้สมการ จะได้จานวนลูกของมะม่วงในแต่ละลังที่บรรจุไปแล้วค้มค่า การขนส่งต้องบรรจุลังละ ประมาณ 55 ถึง 75 ลูก ต่อลัง
  • 15. EX ป้องซื้อน้าดื่มขวดมาขาย 200 ขวด เป็นเงิน 1,200 บาท ขายน้าขวดเล็กราคาขวดละ 5 บาท ขายน้าขวดกลางราคาขวดละ 8 บาท เมื่อขายหมดได้กาไรมากกว่า 250 บาท อยาก ทราบว่าป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมากกี่ขวด วิธีทา ให้ป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขาย x ขวด จะได้ว่า ป้องซื้อน้าขวดกลางมาขาย 200-x ขวด ขายน้าขวดเล็กได้เงิน 5x บาท ขายน้าขวดกลางได้เงิน 8(200-x) บาท ขายน้าทั้งหมดได้กาไรมากกว่า 250 บาท จะได้อสมการเป็น 5x + 8[200-x] – 1,200 > 250 5x + 1,600 - 8x -1,200 > 250 -3x + 400 > 250 -3x > 250 - 400 -3x > -150 x < x < 50 ตรวจสอบ ถ้าป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด จะต้องซื้อน้าขวดกลางมาขายอย่างน้อย 200-49 = 151 ขวด ขายน้าขวดเล็ก 49 ขวด เป็นเงิน 5 49 = 245 บาท ขายน้าขวดกลาง 151 ขวด เป็นเงิน 8 151= 1,208 บาท
  • 16. ขายน้าทั้งหมดได้เงิน 245+1,208 = 1,453 บาท คิดเป็นกาไร 1,453-1,200 = 253 บาท กาไร 253 มากกว่า 250 บาทซึ่งเป็นจริงตามเงื่อนไขในโจทย์ ดังนั้น ป้องซื้อน้าขวดเล็กมาขายอย่างมาก 49 ขวด ตอบ 49 ขวด