SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ ท่ี

                                เรื่องประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์
                              ั ่
        คอมพิวเตอร์ ที่เราใช้กนอยูทุกวันนี้เป็ นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่ องมือในการคานวณซึ่ งมี

วิวฒนาการนานมาแล้ว เริ่ มจากเครื่ องมือในการคานวณเครื่ องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นใน
   ั

ประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี มาแล้ว

        จนกระทังในปี พ.ศ. 2376 นักคณิ ตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ
               ่
ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่ องวิเคราะห์

(Analytical Engine) สามารถคานวณค่าของตรี โกณมิติ ฟังก์ชนต่างๆ
                                                       ั่

ทางคณิ ตศาสตร์ การทางานของเครื่ องนี้ แบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วน

เก็บข้อมูล ส่ วนคานวณ และส่ วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่ องยนต์ไอ

                            ่
น้ าหมุนฟันเฟื อง มีขอมูลอยูในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ
                     ้

และเก็บข้อมูลในหน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ

        หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนาสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบ

เบจเป็ น บิดาแห่งเครื่ องคอมพิวเตอร์

        หลังจากนั้นเป็ นต้นมา ได้มีผประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมามากมายหลายขนาด ทาให้เป็ นการ
                                    ู้

เริ่ มยุคของคอมพิวเตอร์ อย่างแท้จริ ง โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ ออกได้เป็ น 5 ยุค

ยุคที่ 1 ในปี พ.ศ. 2489-2501

 เป็ นการประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มิใช่เครื่ อง

คานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ ต (Mauchly and Eckert)

ได้นาแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็ นเครื่ อง

คอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากเครื่ องหนึ่งเรี ยกว่า
ENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่ งต่อมาได้ทาการปรับปรุ งการทางานของเครื่ อง

คอมพิวเตอร์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพดียงขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่ อง UNIVAC (Universal Automatic Computer)
                                 ิ่

ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากรประจาปี

                    ่
          จึงนับได้วา UNIVAC เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุ รกิจ ซึ่ ง

นับเป็ นการเริ่ มของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคแรกอย่างแท้จริ ง เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคนี้ใช้หลอดสุ ญญากาศ

ในการควบคุมการทางานของเครื่ อง ซึ่ งทางานได้อย่างรวดเร็ ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุคแรกของ

คอมพิวเตอร์ สิ้นสุ ดเมื่อมีผประดิษฐ์ทรานซิ สเตอร์ มาใช้แทนหลอดสู ญญากาศ
                            ู้

     ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1

     1. ใช้อุปกรณ์ หลอดสุ ญญากาศ (Vacuum Tube) เป็ นส่ วนประกอบหลัก ทาให้ตวเครื่ องมี
                                                                          ั
        ขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ ามาก และเกิดความร้อนสู ง
     2. ทางานด้วยภาษาเครื่ อง (Machine Language) เท่านั้น

     3. เริ่ มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน

ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502-2506
มีการนาทรานซิ สเตอร์ มาใช้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ จึงทาให้เครื่ องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่ม

ประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้มีความรวดเร็ วและแม่นยามากยิงขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ ยงได้มีการคิดภาษา
                                                      ่                         ั

เพื่อใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์ แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสาหรับใช้
         ั

กับเครื่ อง
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2
    1. ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่ งสร้างจากสารกึ่งตัวนา (Semi-Conductor) เป็ นอุปกรณ์

         หลัก แทนหลอดสุ ญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์ เพียงตัวเดียว มีประสิ ทธิภาพในการทางาน

         เทียบเท่าหลอดสุ ญญากาศได้นบร้อยหลอด ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงาน
                                   ั

         ไฟฟ้ าน้อย ความร้อนต่า ทางานเร็ ว และได้รับความน่าเชื่ อถือมากยิงขึ้น
                                                                         ่
    2. เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)

    3. มีความเร็ วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond : mS)

    4. สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)

    5. เริ่ มพัฒนาภาษาระดับสู ง (High Level Language) ขึ้นใช้งานในยุคนี้




ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507-2512
         คอมพิวเตอร์ ในยุคนี้เริ่ มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิ สเตอร์ ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการ

ประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรื อเรี ยกกันย่อๆ ว่า "ไอซี " (IC) ซึ่ งไอซี น้ ีทาให้

ส่ วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิ ป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่น

ชิปมาใช้แทนทรานซิ สเตอร์ ทาให้ประหยัดเนื้ อที่ได้มาก
นอกจากนี้ยงเริ่ มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Systems : DBMS)
                  ั

และมีการพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทางานร่ วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่

ผูใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่ องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing)
  ้

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3
    1. ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรื อ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large

        Scale Integration : LSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก

    2. ความเร็ วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) (สู ง

        กว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)

    3. ทางานได้ดวยภาษาระดับสู งทัวไป
                ้                ่




ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513-2532
        เป็ นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็ นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI)

ซึ่ งสามารถย่อส่ วนไอซี ธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์

(Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่ องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทางานสู งและรวดเร็ ว

มาก จึงทาให้มีคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึ้นมาในยุคนี้
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4
    1. ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาด

        ใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก

    2. มีความเร็ วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และ

        พัฒนาต่อมาจนมีความเร็ วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที

        (Picosecond : pS)

    ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533-ปัจจุบัน
    ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความ

สะดวกสบายในการใช้งานเครื่ องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา

ขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้

        โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสู งขึ้น รวมทั้งโครงการวิจยและ
                                                                                        ั

พัฒนาเกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ใน

ยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์ มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล

องค์ประกอบของระบบปั ญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่

1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System)

        คือหุ่นจาลองร่ างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทางาน

แทนมนุษย์ในงานที่ตองการความเร็ ว หรื อเสี่ ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรื อหุ่นยนต์กู้
                  ้

ระเบิด เป็ นต้น
2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System)
                                                                           ่
         คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถสังเคราะห์เสี ยงที่มีอยูในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อ
สื่ อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่ องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรื อนาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking
Clock) เป็ นต้น




3. การรู้ จาเสี ยงพูด (Speech Recognition System)
           คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของมนุ ษย์ได้อย่าง
ต่อเนื่อง กล่าวคือเป็ นการพัฒนาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานได้ดวยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความ
                                                               ้
ปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผูพิการ เป็ นต้น
                                     ้
4. ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System)
           คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จกใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ที่มี
                                                        ั
หรื อจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปั ญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้จาเป็ นต้องอาศัย
ฐานข้อมูล (Database) ซึ่ งมนุษย์ผมีความรู ้ความสามารถเป็ นผูกาหนดองค์ความรู ้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว
                                  ู้                        ้
เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จากฐานความรู ้น้ น เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์
                                                                       ั
วิเคราะห์โรค หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา เป็ นต้น
ใบงานที1     ่
                                                เรื่องประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์
  ชื่อ-สกุล................................................................................................ชั้น.......................เลขที่..............
คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไนนี้ให้ถูกต้องที่สุด
     1. จงอธิบายประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์มาพอเข้าใจ
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
     2. จงอธิ บายความเป็ นมาของแต่ละยุคและลักษณะเฉพาะมาพอเข้าใจ
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         ............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................
         .............................................................................................................................................................

Contenu connexe

Tendances

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
yawamon boonwang
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Rogozo Joosawa
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
Mevenwen Singollo
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
Timmy Printhong
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
Beerza Kub
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
dollar onohano
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
Wangwiset School
 

Tendances (18)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Comandtechno1
Comandtechno1Comandtechno1
Comandtechno1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 

En vedette

Betacamp第1期Ppt汇编
Betacamp第1期Ppt汇编Betacamp第1期Ppt汇编
Betacamp第1期Ppt汇编
fengzi
 
Edasi Õppima?
Edasi Õppima?Edasi Õppima?
Edasi Õppima?
arxxx
 
Viviendas De InteréS Social Del Barrio Villa Esperanza
Viviendas De InteréS Social  Del Barrio Villa EsperanzaViviendas De InteréS Social  Del Barrio Villa Esperanza
Viviendas De InteréS Social Del Barrio Villa Esperanza
blacksexy
 
Nutrindo imagens, paredes sussurrantes
Nutrindo imagens, paredes sussurrantesNutrindo imagens, paredes sussurrantes
Nutrindo imagens, paredes sussurrantes
Jenniferedu1314
 
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
alunoscsa
 
8o ano capítulo 6 - américa portuguesa
8o ano   capítulo 6 - américa portuguesa8o ano   capítulo 6 - américa portuguesa
8o ano capítulo 6 - américa portuguesa
alunoscsa
 

En vedette (20)

248255 334309-1-pb
248255 334309-1-pb248255 334309-1-pb
248255 334309-1-pb
 
07 darlan wilma
07 darlan wilma07 darlan wilma
07 darlan wilma
 
Fsun3186 001
Fsun3186 001Fsun3186 001
Fsun3186 001
 
Betacamp第1期Ppt汇编
Betacamp第1期Ppt汇编Betacamp第1期Ppt汇编
Betacamp第1期Ppt汇编
 
Edasi Õppima?
Edasi Õppima?Edasi Õppima?
Edasi Õppima?
 
Portfolio Lk
Portfolio LkPortfolio Lk
Portfolio Lk
 
França
FrançaFrança
França
 
Szabados Tamás
Szabados TamásSzabados Tamás
Szabados Tamás
 
Apresentacao prasks-v1-2 prasks: # http://www.prasks.com/ibicuitinga
Apresentacao prasks-v1-2 prasks: # http://www.prasks.com/ibicuitingaApresentacao prasks-v1-2 prasks: # http://www.prasks.com/ibicuitinga
Apresentacao prasks-v1-2 prasks: # http://www.prasks.com/ibicuitinga
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Как сделать ваш интранет удобным
Как сделать ваш интранет удобнымКак сделать ваш интранет удобным
Как сделать ваш интранет удобным
 
presentacion
presentacionpresentacion
presentacion
 
Viviendas De InteréS Social Del Barrio Villa Esperanza
Viviendas De InteréS Social  Del Barrio Villa EsperanzaViviendas De InteréS Social  Del Barrio Villa Esperanza
Viviendas De InteréS Social Del Barrio Villa Esperanza
 
Nutrindo imagens, paredes sussurrantes
Nutrindo imagens, paredes sussurrantesNutrindo imagens, paredes sussurrantes
Nutrindo imagens, paredes sussurrantes
 
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
Primeira república (1889 1930) - capítulo 5
 
8o ano capítulo 6 - américa portuguesa
8o ano   capítulo 6 - américa portuguesa8o ano   capítulo 6 - américa portuguesa
8o ano capítulo 6 - américa portuguesa
 
Lks arizmendi mayo2011
Lks arizmendi mayo2011Lks arizmendi mayo2011
Lks arizmendi mayo2011
 
GSI360 - S3CURITY
GSI360 - S3CURITYGSI360 - S3CURITY
GSI360 - S3CURITY
 
Jeremy Shultz Portfolio
Jeremy Shultz PortfolioJeremy Shultz Portfolio
Jeremy Shultz Portfolio
 
Caderno Técnico
Caderno TécnicoCaderno Técnico
Caderno Técnico
 

Similaire à Learnning01

ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
Nantawoot Imjit
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
Pokypoky Leonardo
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Da Arsisa
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 

Similaire à Learnning01 (20)

Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 

Plus de Jirawat Chanphupha (20)

Job11
Job11Job11
Job11
 
Job10
Job10Job10
Job10
 
Job09
Job09Job09
Job09
 
Job08
Job08Job08
Job08
 
Job07
Job07Job07
Job07
 
Job06
Job06Job06
Job06
 
Job.05
Job.05Job.05
Job.05
 
Laerning05
Laerning05Laerning05
Laerning05
 
Job04
Job04Job04
Job04
 
Learning04
Learning04Learning04
Learning04
 
Job03
Job03Job03
Job03
 
Learning03
Learning03Learning03
Learning03
 
Job02
Job02Job02
Job02
 
Learning 02
Learning 02Learning 02
Learning 02
 
Job01
Job01Job01
Job01
 
Laerning01
Laerning01Laerning01
Laerning01
 
แบบทดสอบหลังเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสอบหลังเรียนครั้งที่ 1แบบทดสอบหลังเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสอบหลังเรียนครั้งที่ 1
 
Job1
Job1Job1
Job1
 
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
 
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
แบบทดสบก่อนเรียนครั้งที่ 1
 

Learnning01

  • 1. ใบความรู้ ท่ี เรื่องประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ ั ่ คอมพิวเตอร์ ที่เราใช้กนอยูทุกวันนี้เป็ นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่ องมือในการคานวณซึ่ งมี วิวฒนาการนานมาแล้ว เริ่ มจากเครื่ องมือในการคานวณเครื่ องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นใน ั ประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี มาแล้ว จนกระทังในปี พ.ศ. 2376 นักคณิ ตศาสต์ชาวอังกฤษ ชื่อ ่ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่ องวิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคานวณค่าของตรี โกณมิติ ฟังก์ชนต่างๆ ั่ ทางคณิ ตศาสตร์ การทางานของเครื่ องนี้ แบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วน เก็บข้อมูล ส่ วนคานวณ และส่ วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่ องยนต์ไอ ่ น้ าหมุนฟันเฟื อง มีขอมูลอยูในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ ้ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนาสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบ เบจเป็ น บิดาแห่งเครื่ องคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเป็ นต้นมา ได้มีผประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมามากมายหลายขนาด ทาให้เป็ นการ ู้ เริ่ มยุคของคอมพิวเตอร์ อย่างแท้จริ ง โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ ออกได้เป็ น 5 ยุค ยุคที่ 1 ในปี พ.ศ. 2489-2501 เป็ นการประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มิใช่เครื่ อง คานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ ต (Mauchly and Eckert) ได้นาแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากเครื่ องหนึ่งเรี ยกว่า
  • 2. ENIAC (Electronic Numericial Integrator and Calculator) ซึ่ งต่อมาได้ทาการปรับปรุ งการทางานของเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพดียงขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่ อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ิ่ ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากรประจาปี ่ จึงนับได้วา UNIVAC เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุ รกิจ ซึ่ ง นับเป็ นการเริ่ มของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคแรกอย่างแท้จริ ง เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคนี้ใช้หลอดสุ ญญากาศ ในการควบคุมการทางานของเครื่ อง ซึ่ งทางานได้อย่างรวดเร็ ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุคแรกของ คอมพิวเตอร์ สิ้นสุ ดเมื่อมีผประดิษฐ์ทรานซิ สเตอร์ มาใช้แทนหลอดสู ญญากาศ ู้ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 1. ใช้อุปกรณ์ หลอดสุ ญญากาศ (Vacuum Tube) เป็ นส่ วนประกอบหลัก ทาให้ตวเครื่ องมี ั ขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ ามาก และเกิดความร้อนสู ง 2. ทางานด้วยภาษาเครื่ อง (Machine Language) เท่านั้น 3. เริ่ มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน ยุคที่ 2 พ.ศ. 2502-2506 มีการนาทรานซิ สเตอร์ มาใช้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ จึงทาให้เครื่ องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้มีความรวดเร็ วและแม่นยามากยิงขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ ยงได้มีการคิดภาษา ่ ั เพื่อใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์ แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสาหรับใช้ ั กับเครื่ อง
  • 3. ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 1. ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่ งสร้างจากสารกึ่งตัวนา (Semi-Conductor) เป็ นอุปกรณ์ หลัก แทนหลอดสุ ญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์ เพียงตัวเดียว มีประสิ ทธิภาพในการทางาน เทียบเท่าหลอดสุ ญญากาศได้นบร้อยหลอด ทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงาน ั ไฟฟ้ าน้อย ความร้อนต่า ทางานเร็ ว และได้รับความน่าเชื่ อถือมากยิงขึ้น ่ 2. เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) 3. มีความเร็ วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond : mS) 4. สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language) 5. เริ่ มพัฒนาภาษาระดับสู ง (High Level Language) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอร์ ในยุคนี้เริ่ มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิ สเตอร์ ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการ ประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรื อเรี ยกกันย่อๆ ว่า "ไอซี " (IC) ซึ่ งไอซี น้ ีทาให้ ส่ วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิ ป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่น ชิปมาใช้แทนทรานซิ สเตอร์ ทาให้ประหยัดเนื้ อที่ได้มาก
  • 4. นอกจากนี้ยงเริ่ มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Systems : DBMS) ั และมีการพัฒนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทางานร่ วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ ผูใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่ องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing) ้ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 1. ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรื อ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก 2. ความเร็ วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) (สู ง กว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า) 3. ทางานได้ดวยภาษาระดับสู งทัวไป ้ ่ ยุคที่ 4 พ.ศ. 2513-2532 เป็ นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็ นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่ งสามารถย่อส่ วนไอซี ธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่ องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทางานสู งและรวดเร็ ว มาก จึงทาให้มีคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึ้นมาในยุคนี้
  • 5. ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 1. ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาด ใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็ นอุปกรณ์หลัก 2. มีความเร็ วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และ พัฒนาต่อมาจนมีความเร็ วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS) ยุคที่ 5 พ.ศ. 2533-ปัจจุบัน ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความ สะดวกสบายในการใช้งานเครื่ องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา ขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสู งขึ้น รวมทั้งโครงการวิจยและ ั พัฒนาเกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ใน ยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์ มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล องค์ประกอบของระบบปั ญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) คือหุ่นจาลองร่ างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทางาน แทนมนุษย์ในงานที่ตองการความเร็ ว หรื อเสี่ ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรื อหุ่นยนต์กู้ ้ ระเบิด เป็ นต้น
  • 6. 2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) ่ คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถสังเคราะห์เสี ยงที่มีอยูในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อ สื่ อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่ องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรื อนาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking Clock) เป็ นต้น 3. การรู้ จาเสี ยงพูด (Speech Recognition System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของมนุ ษย์ได้อย่าง ต่อเนื่อง กล่าวคือเป็ นการพัฒนาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานได้ดวยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความ ้ ปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผูพิการ เป็ นต้น ้ 4. ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จกใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ที่มี ั หรื อจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปั ญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้จาเป็ นต้องอาศัย ฐานข้อมูล (Database) ซึ่ งมนุษย์ผมีความรู ้ความสามารถเป็ นผูกาหนดองค์ความรู ้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว ู้ ้ เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จากฐานความรู ้น้ น เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ ั วิเคราะห์โรค หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา เป็ นต้น
  • 7. ใบงานที1 ่ เรื่องประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ ชื่อ-สกุล................................................................................................ชั้น.......................เลขที่.............. คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไนนี้ให้ถูกต้องที่สุด 1. จงอธิบายประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์มาพอเข้าใจ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. จงอธิ บายความเป็ นมาของแต่ละยุคและลักษณะเฉพาะมาพอเข้าใจ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................