SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การให้เหตุผลแบบอุปนัย ในครั้งนี้มีเอกสารที่
เกี่ยวข้องดังนี้
1. ความหมายของโครงงาน
2. ความหมายของการให้เหตุผล
3. ประเภทของการให้เหตุผล
4. การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจาวัน
1. ความหมายของโครงงาน
กระทรวงศึกษาธิการ (2533 : 5) ให้ความหมายว่า “โครงงานเป็นการทากิจกรรมที่เปิด
โอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา
ของครูตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติทั้งร่วมกาหนด
แนวทางในการวัดผลและประเมินผล”
สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2529 : 1-2) ให้ความหมายว่า “โครงงาน
เป็นการศึกษาค้นความตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้
วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น
กล่าวโดยสรุป โครงงาน หมายถึง งานที่นักเรียนมีความสนใจในการหาความรู้และวิธีการ
เพื่อแก้ปัญหา หาคาตอบ หาความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้เรียนถนัดและมีความสนใจ โดยนา
เทคโนโลยี ความรู้และประสบการณ์มาบูรณาการปฏิบัติด้วยตนเองหรือหมู่คณะ ด้วยกระบวนการ
ที่เป็นระบบชัดเจนและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
4
2. ความหมายของการให้เหตุผล
การให้เหตุผล เป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้อยู่เป็นประจา การที่มนุษย์ใช้การให้เหตุผลก็เพื่อจะเชื่อ
หรือยอมรับในเรื่องราวต่าง ๆ ว่าเป็นจริงหรือไม่จริงด้วยความสบายใจ ขบวนการซึ่งนาเอาข้อความ
หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นเหตุหรือ สมมติฐาน (hypothesis)อาจจะหลายอันมาวิเคราะห์และ
แจกแจงแสดงความสัมพันธ์หรือความต่อเนื่องเพื่อทาให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฎการณ์ใหม่ซึ่ง
เรียกว่า ผลสรุป หรือ ข้อยุติ (conclusion)ขบวนการเช่นนี้เราเรียกว่า การให้เหตุผล
3. ประเภทของการให้เหตุผล
การให้เหตุเหตุผลแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการให้เหตุผลโดยอาศัยข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลาย ๆ
ตัวอย่าง มาสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไป หรือคาพยากรณ์ ซึ่งจะเห็นว่าการจะนาเอา
ข้อสังเกต หรือผลการทดลองจากบางหน่วยมาสนับสนุนให้ได้ข้อตกลง หรือ ข้อความทั่วไปซึ่งกิน
ความถึงทุกหน่วย ย่อมไม่สมเหตุสมผล เพราะเป็นการอนุมานเกินสิ่งที่กาหนดให้ ซึ่งหมายความ
ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะต้องมีกฎของความสมเหตุสมผลเฉพาะของตนเอง นั่นคือ จะต้องมี
ข้อสังเกต หรือผลการทดลอง หรือ มีประสบการณ์ที่มากมายพอที่จะปักใจเชื่อได้ แต่ก็ยังไม่
สามารถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่ เหมือนกับการให้เหตุผลแบบนิรนัย ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการให้
เหตุผลแบบนิรนัยจะให้ความแน่นอน แต่การให้เหตุผลแบบอุปนัย จะให้ความน่าจะเป็น
2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนาความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม
ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนาไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่
มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กาหนด
4. การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจาวัน
แม้ว่าในปัจจุบันโลกมนุษย์จะก้าวหน้าไปถึง การสร้างสมองกลขึ้นมาให้ทาตามคาสั่งแต่
สมองกลนั้นสามารถทาตามในสิ่งที่มนุษย์เรียบเรียงไว้อย่างเป็นระเบียบเท่านั้นไม่อาจคิดในเรื่อง
ของเหตุผลได้เหมือนสมองจริงการคิดในเรื่องเหตุผลนี่เองที่ทาให้มนุษย์เหนือกว่าสิ่งอื่นใด
กระบวนการของการให้เหตุผลนั้นเป็นการตอบคาถามว่าทาไมซึ่งประกอบด้วยสาคัญสองส่วนคือ
5
ในชีวิตประจาวันเรามักจะพบคาถามเสมอว่า ทาไม เราจึงต้องมีการให้เหตุผลเช่น ครูถาม
นักเรียนว่า “ทาไมวันนี้นักเรียนขาดเยอะจัง” เหตุผลที่นักเรียนตอบอาจเป็น “ไม่สบายเป็นไข้หวัด
ครับ” เป็นต้น
ตัวอย่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัย
1. กอหญ้าเคยเห็นพระอาทิตย์ขึ้นตอนเช้าทางทิศตะวันออกมาโดยตลอด กอหญ้าจึง
สรุปว่า “พรุ่งนี้เช้าพระอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก” ข้อสรุปดังกล่าวเป็นข้อสรุปที่ได้มาด้วยการ
ให้เหตุผลแบบอุปนัย
2. หมอดูอาศัยประสบการณ์จากตัวอย่างชีวิตคนทั้งที่ดีและไม่ดีมาหลายชั่วอายุคนแล้ว
สรุปเป็นวิชาหมอดูทานายโชคชะตาราศีสาหรับคนในปัจจุบันความรู้ดังกล่าวเป็นตัวอย่างหนึ่งของ
ความรู้ที่ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย
3. แม่ค้ากล้วยทอดใส่งา และมะพร้าวในส่วนผสมในแป้ งที่ทอดปรากฏว่ากล้วยทอด
กรอบ หอม เมื่อลดมะพร้าวให้น้อยลง ปรากฏว่ากล้วยทอดกรอบน้อยลงหลังจากสังเกตหลายครั้ง
แม่ค้าจึงได้ข้อสรุปว่าควรจะใส่มะพร้าวปริมาณเท่าใดจึงจะทาให้กล้วยทอดกรอบพอดี ข้อสรุป
ดังกล่าวเป็นข้อสรุปที่ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย
4. นกอินทรีเป็นนก นกอินทรีบินได้
นกพิราบเป็นนก นกพิราบบินได้
นกนางนวลเป็นนก นกนางนวลบินได้
จึงสรุปว่า นกทุกชนิดบินได้ข้อสรุปนี้ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อสังเกตข้อสรุปนี้ไม่เป็น
จริงสาหรับนกบางชนิด
เช่น นกเพนกวิน นกกระจอกเทศ ที่บินไม่ได้

Contenu connexe

Tendances

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 

Tendances (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 

Similaire à โครงงานคณิตบทที่ 2

ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2ployprapim
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จAnnop Phetchakhong
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานsarawut saoklieo
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมThitima Dujjanutat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมKrittamet Jomlek
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่ายaom08
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608 Kalanyu Tamdee
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Thitima Dujjanutat
 

Similaire à โครงงานคณิตบทที่ 2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 

Plus de Jutarat Bussadee

Plus de Jutarat Bussadee (8)

แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

โครงงานคณิตบทที่ 2

  • 1. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การให้เหตุผลแบบอุปนัย ในครั้งนี้มีเอกสารที่ เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ความหมายของโครงงาน 2. ความหมายของการให้เหตุผล 3. ประเภทของการให้เหตุผล 4. การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจาวัน 1. ความหมายของโครงงาน กระทรวงศึกษาธิการ (2533 : 5) ให้ความหมายว่า “โครงงานเป็นการทากิจกรรมที่เปิด โอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษา ของครูตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติทั้งร่วมกาหนด แนวทางในการวัดผลและประเมินผล” สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2529 : 1-2) ให้ความหมายว่า “โครงงาน เป็นการศึกษาค้นความตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้ วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น กล่าวโดยสรุป โครงงาน หมายถึง งานที่นักเรียนมีความสนใจในการหาความรู้และวิธีการ เพื่อแก้ปัญหา หาคาตอบ หาความรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้เรียนถนัดและมีความสนใจ โดยนา เทคโนโลยี ความรู้และประสบการณ์มาบูรณาการปฏิบัติด้วยตนเองหรือหมู่คณะ ด้วยกระบวนการ ที่เป็นระบบชัดเจนและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
  • 2. 4 2. ความหมายของการให้เหตุผล การให้เหตุผล เป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้อยู่เป็นประจา การที่มนุษย์ใช้การให้เหตุผลก็เพื่อจะเชื่อ หรือยอมรับในเรื่องราวต่าง ๆ ว่าเป็นจริงหรือไม่จริงด้วยความสบายใจ ขบวนการซึ่งนาเอาข้อความ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นเหตุหรือ สมมติฐาน (hypothesis)อาจจะหลายอันมาวิเคราะห์และ แจกแจงแสดงความสัมพันธ์หรือความต่อเนื่องเพื่อทาให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฎการณ์ใหม่ซึ่ง เรียกว่า ผลสรุป หรือ ข้อยุติ (conclusion)ขบวนการเช่นนี้เราเรียกว่า การให้เหตุผล 3. ประเภทของการให้เหตุผล การให้เหตุเหตุผลแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการให้เหตุผลโดยอาศัยข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลาย ๆ ตัวอย่าง มาสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไป หรือคาพยากรณ์ ซึ่งจะเห็นว่าการจะนาเอา ข้อสังเกต หรือผลการทดลองจากบางหน่วยมาสนับสนุนให้ได้ข้อตกลง หรือ ข้อความทั่วไปซึ่งกิน ความถึงทุกหน่วย ย่อมไม่สมเหตุสมผล เพราะเป็นการอนุมานเกินสิ่งที่กาหนดให้ ซึ่งหมายความ ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะต้องมีกฎของความสมเหตุสมผลเฉพาะของตนเอง นั่นคือ จะต้องมี ข้อสังเกต หรือผลการทดลอง หรือ มีประสบการณ์ที่มากมายพอที่จะปักใจเชื่อได้ แต่ก็ยังไม่ สามารถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่ เหมือนกับการให้เหตุผลแบบนิรนัย ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการให้ เหตุผลแบบนิรนัยจะให้ความแน่นอน แต่การให้เหตุผลแบบอุปนัย จะให้ความน่าจะเป็น 2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนาความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนาไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่ มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กาหนด 4. การให้เหตุผลแบบอุปนัยในชีวิตประจาวัน แม้ว่าในปัจจุบันโลกมนุษย์จะก้าวหน้าไปถึง การสร้างสมองกลขึ้นมาให้ทาตามคาสั่งแต่ สมองกลนั้นสามารถทาตามในสิ่งที่มนุษย์เรียบเรียงไว้อย่างเป็นระเบียบเท่านั้นไม่อาจคิดในเรื่อง ของเหตุผลได้เหมือนสมองจริงการคิดในเรื่องเหตุผลนี่เองที่ทาให้มนุษย์เหนือกว่าสิ่งอื่นใด กระบวนการของการให้เหตุผลนั้นเป็นการตอบคาถามว่าทาไมซึ่งประกอบด้วยสาคัญสองส่วนคือ
  • 3. 5 ในชีวิตประจาวันเรามักจะพบคาถามเสมอว่า ทาไม เราจึงต้องมีการให้เหตุผลเช่น ครูถาม นักเรียนว่า “ทาไมวันนี้นักเรียนขาดเยอะจัง” เหตุผลที่นักเรียนตอบอาจเป็น “ไม่สบายเป็นไข้หวัด ครับ” เป็นต้น ตัวอย่าง การให้เหตุผลแบบอุปนัย 1. กอหญ้าเคยเห็นพระอาทิตย์ขึ้นตอนเช้าทางทิศตะวันออกมาโดยตลอด กอหญ้าจึง สรุปว่า “พรุ่งนี้เช้าพระอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก” ข้อสรุปดังกล่าวเป็นข้อสรุปที่ได้มาด้วยการ ให้เหตุผลแบบอุปนัย 2. หมอดูอาศัยประสบการณ์จากตัวอย่างชีวิตคนทั้งที่ดีและไม่ดีมาหลายชั่วอายุคนแล้ว สรุปเป็นวิชาหมอดูทานายโชคชะตาราศีสาหรับคนในปัจจุบันความรู้ดังกล่าวเป็นตัวอย่างหนึ่งของ ความรู้ที่ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย 3. แม่ค้ากล้วยทอดใส่งา และมะพร้าวในส่วนผสมในแป้ งที่ทอดปรากฏว่ากล้วยทอด กรอบ หอม เมื่อลดมะพร้าวให้น้อยลง ปรากฏว่ากล้วยทอดกรอบน้อยลงหลังจากสังเกตหลายครั้ง แม่ค้าจึงได้ข้อสรุปว่าควรจะใส่มะพร้าวปริมาณเท่าใดจึงจะทาให้กล้วยทอดกรอบพอดี ข้อสรุป ดังกล่าวเป็นข้อสรุปที่ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย 4. นกอินทรีเป็นนก นกอินทรีบินได้ นกพิราบเป็นนก นกพิราบบินได้ นกนางนวลเป็นนก นกนางนวลบินได้ จึงสรุปว่า นกทุกชนิดบินได้ข้อสรุปนี้ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อสังเกตข้อสรุปนี้ไม่เป็น จริงสาหรับนกบางชนิด เช่น นกเพนกวิน นกกระจอกเทศ ที่บินไม่ได้