SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
Introduction to the state
Dr.Piyanan Songsoontorawat
Bachelor of Political Science Program
NRRU
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
• อธิบายความหมายของรัฐ เหตุผลของการมีรัฐได้ถูกต้อง
• อธิบายปรัชญาว่าด้วยรัฐ และวิวัฒนาการการกําเนิดของรัฐในแต่ละยุคได้ถูกต้อง
• อธิบายองค์ประกอบของรัฐได้
• เปรียบเทียบรูปแบบรัฐ และยกตัวอย่างประกอบได้อย่างถูกต้อง
• วิเคราะห์ระบอบการปกครองของแต่ละรัฐได้
ความหมายของรัฐ
• Roger Benjamin และ Raymond Duvall
• The State as Government
• The State as Public Bureaucracy
• The State as Ruling Class
• The State as Normative Order
ความหมายของรัฐ
รัฐ คือ ชุมชนทางการเมืองทีรวมกลุ่มกันสร้างขึนมาโดยประชาชน มีดินแดนชัดเจน
แน่นอน ประชาชนเหล่านีได้สร้างรัฐบาลเดียวกัน ทังนีเพือให้พ้นจากการควบคุมของรัฐบาล
ภายนอก ในชุมชนดังกล่าวมีรัฐบาลทีใช้อํานาจในการกําหนดกฎเกณฑ์ใดๆ เพือให้ประชาชนได้
ใช้ร่วมกันอย่างทัวถึง (ณัชชาภัทร. 2548: 3)
รัฐ” (State) หมายถึง สถาบัน หรือองค์การทีประกอบขึนจากประชาชนทีอยู่กันอย่าง
มีระบบระเบียบภายในดินแดนใดดินแดนหนึง โดยมีอํานาจในการปกครองตนเองหรืออํานาจ
อธิปไตย อํานาจดังกล่าวจะมีลักษณะเป็นสถาบันทีแยกออกมาจากตัวบุคคล ซึงคนจะเป็นเพียงผู้
ถือและใช้อํานาจแทนสถาบันเท่านัน ความเป็นรัฐนีจะมีลักษณะพิเศษ กล่าวคือ รัฐจะมีความ
เด็ดขาด มีอํานาจสูงสุด มีอิสระ มีความเป็นตัวของตัวเอง รัฐสามารถทีจะใช้อํานาจปกครองเหนือ
ประชาชนของตนได้อย่างเต็มที ในขณะทีองค์การอืนๆ หามีลักษณะเช่นว่านีไม่ (จรูญ สุภาพ.
2537: 1)
เหตุผลแห่งรัฐ
• ความกลัว
• ความปรารถนาทีจะมีชีวิตรอดอยู่อย่างมีความสุข
• ความต้องการทีจะอยู่อย่างมีศักดิศรี
ปรัชญาว่าด้วยรัฐ
โสกราตีส เป็นศาสดาของผู้สอน
เพลโต เป็นศาสดาของผู้คิด
อริสโตเติล เป็นศาสดาของผู้เรียน
(บิดาแห่งรัฐศาสตร์ )
วิวัฒนาการของรัฐ
• Theory of the Divine Right
• Theory of the Social Contract
• Division of Labor Theory
• Instinctive Theory
• Economic Theory
• Theory of Force
• Theory of Evolution
ทฤษฎีเทวสิทธิ
(Theory of the Divine Right)
• รัฐเกิดจากพระประสงค์ของพระเจ้า
• มนุษย์มิได้เป็นปัจจัยสําคัญในการสร้างรัฐ แต่เป็นเพียงองค์ประกอบของรัฐ
• ผู้ปกครองรัฐได้อํานาจปกครองมาจากพระเจ้า
• ประชาชนในรัฐจะต้องเชือฟังอํานาจรัฐโดยเคร่งครัด
ทฤษฎีสัญญาประชาคม
(Theory of the Social Contract)
John Locke Thomas Hobbes Jean Jacques Rousseau
ทฤษฎีสัญญาประชาคม
(Theory of the Social Contract)
• รัฐเกิดจากมนุษย์หรือมนุษย์เป็นผู้สร้างรัฐต่างหาก
• การสร้างรัฐ มนุษย์มารวมเข้าด้วยกันโดยมีเจตนาแน่นอน
• มนุษย์มาผูกพันร่วมกันเช่นนี ถือว่าเป็นการทําสัญญาประชาคมขึน รัฐและรัฐบาล จึง
เกิดจากสัญญาของมนุษย์
• รัฐบาลจะต้องกระทําตามเจตนารมณ์ของประชาชน
ทฤษฎีเกียวกับการแบ่งงาน
(Division of Labor Theory)
• งานสําคัญของรัฐบาล คือ มอบหมายหรือจัดสรรให้ทังชายและหญิงทํางานทีเหมาะสมทีสุด
ทฤษฎีนีมีแนวโน้มทีจะทําให้รัฐและสังคมเป็นสิงเดียวกัน
ทฤษฎีสัญชาติญาณ
( Instinctive Theory)
สังคมแรกทีมนุษย์ก่อตังขึนมามีลักษณะป่าเถือน (Primitive) เกินไปทีจะทําให้มนุษย์
สามารถบรรลุระดับการพัฒนาทีสูงสุดได้ ดังนันพวกเขาจึงสร้างรัฐขึนมาเพือทีเขาจะสามารถ
บรรลุระดับการพัฒนาสูงสุดได้
ทฤษฎีเศรษฐกิจ
(Economic Theory)
• รัฐ เกิดขึนเพือทีจะปกป้องคุ้มครองคนรวยต่อต้านคนจน (The state exists to
protect the rich against the poor)
ทฤษฎีพลกําลัง
(Theory of Force)
•กลุ่มนักเทววิทยาคริสเตียน
•กลุ่มนักคิดชาตินิยมชาวเยอรมัน
•ทฤษฎีของนักมานุษยวิทยาทางการเมือง
ทฤษฎีวิวัฒนาการ
(Theory of Evolution)
กลุ่มชน
สังคมร่วม
เผ่าพันธุ์
รัฐหรือนคร
รัฐ
จักรวรรดิ
“รัฐเกิดขึนจากวิวัฒนาการในทางการเมืองของมนุษย์ เมือเริมต้นมนุษย์
รวมกันอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ มีความผูกพันทางสายโลหิต มีความสัมพันธ์ทาง
เครือญาติ
องค์ประกอบของรัฐ
• Population
• Territory
• Government
• Sovereignty and Independence
ความแตกต่างระหว่าง รัฐ กับ ชาติ และ ประเทศ
state
• ประชากร
• ดินแดน
• รัฐบาล
• อํานาจอธิปไตย
nation
• ความผูกพันกันทาง
วัฒนธรรม
• ความผูกพันกันในทาง
เชือชาติ (race) หรือ
สายเลือด เผ่าพันธุ์
ประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม ศาสนา
country
• มีความหมายเน้นหนัก
ไปในด้านดินแดน
• ดังนันประเทศจึงเป็น
แหล่งรวมของชาติ และ
ก่อให้เกิดรัฐขึน
รูปแบบของรัฐ
• ประเทศทีมีลักษณะเป็นรัฐทีรวมศูนย์และมีความเป็น
เอกภาพแห่งอํานาจทังหลายของรัฐรัฐเดียว
• สมาพันธรัฐ (Confederation) สมาพันธรัฐเป็น
รูปแบบของสหพันธรัฐทียังไม่สมบูรณ์ในทาง
กฎหมาย
• สหพันธรัฐ (Federationการรวมรัฐต่างๆ เข้า
ด้วยกัน ในลักษณะทีมีการสร้างรัฐใหม่ขึนให้อยู่เหนือ
และซ้อนอยู่กับรัฐต่างๆ ทีมารวมกัน
รัฐรวม
Regime of Government
•Democracy
•Dictatorship
หลักการของระบอบประชาธิปไตย
• หลักการอํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
• หลักเสรีภาพ
• หลักความเสมอภาค
• หลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม
• หลักการเสียงข้างมาก
ข้อดีและข้อเสียของระบอบประชาธิปไตย
ข้อดีของระบอบประชาธิปไตย ข้อเสียของระบอบประชาธิปไตย
เปิ ดโอกาสให้ประชาชน ส่วนข้างมาก
ดําเนินการปกครองประเทศ
มีความล่าช้าในการตัดสินใจทําการต่างๆ
เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนใช้สิทธิเสรีภาพ
ได้อย่างเสมอ
ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดําเนินการปกครองมาก
ถือกฎหมายเป็นมาตรฐานในการดําเนินการ
ปกครอง
อาจนําไปสู่ความสับสนวุ่นวายได้
ช่วยระงับความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับ
ประชาชน
ระบอบเผด็จการ
ระบอบเผด็จการทหาร
• ระบอบเผด็จการทีคณะ
ผู้นําฝ่ายทหารเป็นผู้ใช้
อํานาจเผด็จการในการ
ปกครองโดยตรงหรือ
โดยอ้อม
เผด็จการฟาสซิสต์
• ระบอบเผด็จการทีผู้นํา
คนหนึงซึงได้รับการ
สนับสนุนจากกลุ่มนัก
ธุรกิจและกองทัพให้ใช้
อํานาจเผด็จการ
ปกครองประเทศ
เผด็จการคอมมิวนิสต์
• ระบอบเผด็จการที
พรรคคอมมิวนิสต์เพียง
พรรคเดียวได้รับการ
ยอมรับ หรือสนับสนุน
จากกลุ่มบุคคลต่างๆ
หลักการของระบอบเผด็จการ
• ผู้นําคนเดียวหรือคณะผู้นําของกองทัพ หรือของพรรคการเมืองเพียงกลุ่มเดียวมีอํานาจ
สูงสุด
• ประชาชนไม่สามารถทีจะวิพากษ์วิจารณ์การกระทําของผู้นําอย่างเปิดเผยได้
• ประชาชนทัวไปไม่มีสิทธิทีจะเปลียนผู้นําได้โดยวิถีทางรัฐธรรมนูญ
• รัฐธรรมนูญเป็นแต่เพียงรากฐานรองรับอํานาจของผู้นําหรือคณะผู้นําเท่านัน
ข้อดีและข้อเสียของระบอบเผด็จการ
ข้อดีของระบอบเผด็จการ ข้อเสียของระบอบเผด็จการ
รัฐบาลสามารถตัดสินใจทําการอย่างใดอย่างหนึงได้
รวดเร็ว
เป็นการปกครองโดยบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มเดียว
แก้ปัญหาบางอย่างได้อย่างมีประสิทธิผลกว่าระบอบ
ประชาธิปไตย
มีการใช้อํานาจเผด็จการกดขีและลิดรอนสิทธิเสรีภาพ
ทําให้คนดีมีความสามารถทีไม่ใช่พวกพ้อง
ประชาชนส่วนใหญ่ทีถูกกดขีและขาดสิทธิเสรีภาพ
สรุป
• รัฐ คือ ชุมชนทางการเมืองของประชาชน มีพลัง 3 ด้านทีขับดันมนุษย์ให้มาอยู่ร่วมกันใน
สังคมภายใต้อํานาจทีเหนือกว่าครอบครัวและชุมชนพลังทังสามด้าน ได้แก่ ความกลัว ความ
ปรารถนาทีจะมีชีวิตรอดอยู่อย่างมีความสุข และความต้องการทีจะอยู่อย่างมีศักดิศรี โดย
วิวัฒนาการของรัฐ มีแนวคิดมาจาก ทฤษฎีเทวสิทธิ ทฤษฎีสัญญาประชาคม ทฤษฎีเกียวกับการ
แบ่งงาน ทฤษฎีสัญชาติญาณ ทฤษฎีเศรษฐกิจ ทฤษฎีพลกําลัง ทฤษฎีวิวัฒนาการ องค์ประกอบ
ของรัฐ มี 4 ส่วน คือ ประชากร ดินแดน รัฐบาลและอํานาจอธิปไตย และรูปแบบของรัฐ มี รัฐ
เดียว และรัฐรวม ระบอบการปกครองของรัฐทัวโลกมี 2 ระบอบ ระบอบประชาธิปไตย และ
ระบอบเผด็จการ ทีมี 3 แบบย่อย คือ เผด็จการทหาร เผด็จการฟาสซิสต์ และเผด็จการ
คอมมิวนิสต์

Contenu connexe

Tendances

เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
tassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Tendances (20)

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 

Similaire à Lesson 1 introduction to the state

Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
Medical Student, GCM
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
pailinsarn
 
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
thnaporn999
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
sangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
sangworn
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดร
khamaroon
 

Similaire à Lesson 1 introduction to the state (20)

Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
Lesson 1 state
Lesson 1 stateLesson 1 state
Lesson 1 state
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
U2 origin of state
U2 origin of stateU2 origin of state
U2 origin of state
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
Soc
SocSoc
Soc
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
U3 sovereignty
U3 sovereigntyU3 sovereignty
U3 sovereignty
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับสรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
สรุปสังคม เรื่อง รัฐ กับ
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 
iyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดรiyddddddบทความของ ดร
iyddddddบทความของ ดร
 

Plus de KatawutPK (11)

Lesson 4 political institution
Lesson 4 political institutionLesson 4 political institution
Lesson 4 political institution
 
Lesson 3 regime
Lesson 3 regimeLesson 3 regime
Lesson 3 regime
 
Lesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional formsLesson 5 constitutional forms
Lesson 5 constitutional forms
 
Lesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional conceptLesson 2 constitutional concept
Lesson 2 constitutional concept
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
U4 political ideology
U4 political ideologyU4 political ideology
U4 political ideology
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U3 political concepts
U3 political conceptsU3 political concepts
U3 political concepts
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 
Lesson 2 constitution
Lesson 2 constitutionLesson 2 constitution
Lesson 2 constitution
 
U1 introduction to political
U1 introduction to politicalU1 introduction to political
U1 introduction to political
 

Lesson 1 introduction to the state