SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
รัฐธรรมนูญจะนําชาติไปสูสันติสุขไดอยางไร
ศาสตราจารย ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน
คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ
และสมาชิกสภาปฏิรูปแหงชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาภาพ : http://www.tv5.co.th/web56/show_news.php?id=16832
v
1
โครงการคลังปญญาเพื่อการอภิวัตนประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน
สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตรฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙިйํÒªÒµÔä»ÊÙ‹ÊѹµÔÊآ䴌Í‹ҧäÃ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
รัฐธรรมนูญจะนําชาติไปสู่สันติสุขได้อย่างไร สิ่งนี้จะเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่สําคัญ เพราะ
รัฐธรรมนูญส่วนมากมักจะพูดถึงว่าเราจะสร้างประชาธิปไตยอย่างไร และจะทําให้มันดีขึ้นได้อย่างไร แต่
ในรัฐธรรมนูญฉบับที่เราจะร่วมสร้างด้วยกันนี้ จะต้องเป็นการสร้างสันติสุขและประชาธิปไตยให้แก่
ประเทศชาติ ทําให้เกิดการปรองดอง ทําให้เกิดการทํางานร่วมกันได้ รวมถึงได้รู้รักสามัคคี ของ 3 พรรค
ฝ่าย ทั้งฝ่ายแดง ฝ่ายเหลือง และฝ่ายที่สาม ให้ได้ปรองดองร่วมกัน ดังนั้น สิ่งที่รัฐธรรมนูญออกแบบไว้
จึงมีหลายประการ ดังที่จะสรุปต่อไปนี้
ประการแรก อยากให้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เป็นรัฐธรรมนูญที่ทําให้เกิดรัฐบาลผสม และจะให้
กลับไปเกิดเหตุการณ์แบบเดิมไม่ได้ เหมือนตอนคุณสมัคร สุนทรเวช คุณสมชาย วงศ์สวัสดิ์ที่เกิด
เหตุการณ์ความวุ่นวายและนองเลือดขึ้นในปี 2551 ตอนคุณอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ ที่เกิดเหตุการณ์ความ
วุ่นวายและนองเลือดขึ้นในปี 2552 และ 2553 ตอนคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่เกิดเหตุการณ์ความวุ่นวาย
และนองเลือดขึ้นในปี 2556 และ 2557 ดังนั้น เราจะไม่มีวันที่จะถอยกลับไปเป็นแบบนั้นแล้ว การเป็น
รัฐบาลพรรคเดียวร่วมกันกับพรรคเล็กๆที่ไม่มีความหมาย และให้พรรคใดพรรคหนึ่งไปเป็นฝ่ายค้าน
แบบนั้นจะต้องทําได้ยากมาก แต่ที่ต้องทําได้ง่ายคือ รัฐบาลผสม
ผมจึงอยากร้องขอไปที่พรรคการเมืองฝ่ายต่างๆด้วย ว่าของอย่างนี้ไม่ได้อยู่กันที่โครงสร้างอย่าง
เดียว แต่ต้องอยู่ที่จิตใจ ความมุ่งมั่น ของพรรคฝ่ายทั้งหลายที่จะสร้างประเทศไทยใหม่ให้สันติสุข ดังนั้น
จึงต้องขอวิงวอน สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.) ให้เกิดรัฐบาลผสม เพื่อให้มีการปรองดองระหว่าง
พรรค ระหว่างสี
ประการที่สอง รัฐบาลผสมที่สําคัญ คือ การไม่ทําให้ภาคใต้เป็นของพรรคประชาธิปัตย์ทั้งหมด
ไม่ทําให้กรุงเทพมหานครฯเป็นของพรรคประชาธิปัตย์เกือบทั้งหมด ไม่ทําให้ภาคอีสานเป็นของพรรค
เพื่อไทยทั้งหมด และไม่ทําให้ภาคเหนือเป็นของพรรคเพื่อไทยทั้งหมด เนื่องจากในระบบบัญชีรายชื่อมี
สัดส่วนอยู่เท่าไหร่ ก็จะต้องมีจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) อยู่เท่านั้น ถ้าไม่ได้รับจากการแบ่ง
เขตเลย ก็จะต้องมี Party List มาเติม จนได้ตามสัดส่วนของระบบพรรค ดังนั้น นานเหลือเกินแล้วที่เรา
ถูกมายาคติทําให้คิดว่าภาคหรือพื้นที่ต่างๆ ถูกผูกขาดโดยพรรคใดพรรคหนึ่ง ซึ่งความเป็นจริงเสียงของ
ประชาชนไม่ได้เป็นเช่นนั้น ดังนั้น นี่จะเป็นการปรองดองระหว่างภาค และระบบรัฐบาลผสมก็จะทําให้
เห็นว่าเสียงของประชาชนมันเป็นสัดส่วนกับอํานาจของการเมือง
ประการที่สาม ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.) จะมาจากคนละฐานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ถอดความจากการนําเสนอในการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ครั้งที่ 25 โดย ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ วันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2558
v
2
โครงการคลังปญญาเพื่อการอภิวัตนประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน
สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตรฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
(ส.ส.) และจะมีบทบาทมากขึ้น โดย ส.ว. ในที่นี้จะสามารถเสนอกฎหมายได้ด้วย นี่คือการปรองดอง
อย่างหนึ่งระหว่างประชาชนผู้ลงคะแนนเสียงแบบเลือกตั้งทั่วไป กับอีกส่วนหนึ่งที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มา
จากประชาชนที่เป็นตัวแทนอาชีพ ประชาชนที่เป็นตัวแทนวิชาชีพ ประชาชนที่เป็นอดีตข้าราชการ
ประชาชนที่เป็นผู้ใช้แรงงาน และประชาชนที่เป็นเกษตรกร รวมทั้งระบอบของเรา ทั้งนี้นานเหลือเกิน
แล้วที่เราใช้คนจนไปเลือกคนรวยเข้ามานั่งในสภา แต่คนจนที่สําคัญ หมายถึง แรงงานและเกษตรกร
กลับไม่เคยได้เข้ามานั่งในสภาเลย ซึ่งในระบบการเลือกตั้งของเรา เขาจะได้เข้ามานั่งในสภาแน่นอน
ดังนั้น นี่จะเป็นระบบที่มีการเลือกตั้งแบบ 2 ส่วน คือ ประชาชนที่เป็น voter หรือ ผู้หย่อนบัตร กับอีก
ส่วนหนึ่ง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นตัวแทนจากวิชาชีพ ชุมชนท้องถิ่น แรงงานเกษตร และชุมชนวิชาการ
ก็จะได้เข้ามาอยู่ในนี้
ประการที่สี่ การเพิ่มบทบาทและอํานาจของประชาชนมากขึ้นในแบบที่ประชาชนไม่ได้เป็น
เจ้าของประชาธิปไตยเพียงแค่ 4 นาที และโอนอํานาจทั้งหมดให้กับนักการเมืองและพรรคการเมืองไป
อีก 4 ปีเหมือนเดิม แต่เราจะเปลี่ยนแปลงประชาธิปไตยที่เลือกผู้นําเป็นหลักหรือเกือบจะอย่างเดียว
โดยให้เป็นประชาธิปไตยที่ให้ประชาชนเป็นเจ้าของอํานาจ มีอํานาจโดยตรงมากขึ้น และสามารถเข้าไป
มีส่วนในการบริหารบ้านเมือง ตรวจสอบ และถอดถอนได้ นั่นก็คือ สมัชชาพลเมือง เป็นสภาที่ทําหน้าที่
ตรวจสอบภาคพลเมือง เป็นสมัชชาคุณธรรม โดยสมัชชาพลเมืองนั้น สามารถลงประชามติถอดถอนผู้
ดํารงตําแหน่งทางการเมือง พร้อมๆไปกับที่เราหย่อนบัตรลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งทั่วไป ที่เรีกยว่า
Impeachment ได้อีกด้วย
นอกจากนั้น พลเมืองยังสามารถเปลี่ยนลําดับบัญชีรายชื่อได้ด้วย ที่เราเรียกว่า open list หรือ
บัญชีระบบเปิด การที่เราให้ประชาชนมีบทบาทและอํานาจมากขึ้น ก็เป็นการปรองดองระหว่างประชาชน
กับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ที่ผ่านมาเมื่อประชาชนไม่พอใจรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ก็มีหนทาง
เดียว คือต้องลงสู่ท้องถนน แต่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ ได้ออกแบบให้ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม
เข้าไปมีการตรวจสอบต่างๆ ในระบอบการเมืองของเราได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งถือว่าเป็นการปรองดองอีก
แบบหนึ่ง
ประการสุดท้าย ก็เป็นเรื่องการปฏิรูป ที่คุณหมอชูชัยได้พูดไปแล้ว การปฏิรูปก็เหมือนกับการ
พัฒนา การทําอะไรให้ดีขึ้นอย่างขนานใหญ่ แต่สําหรับผมแล้วการปฏฺิรูป ก็คือการปรองดอง เพราะ
สําหรับผม นานเหลือเกินแล้ว ที่เรามีความขัดแย้งกันระหว่างชนชั้น ระหว่างกลุ่ม ขัดแย้งกันระหว่าง
เมืองกับชนบท ขัดแย้งกันระหว่างข้าราชการกับภาคประชาชน ที่เป็นเช่นนั้น เพราะความเป็นธรรม
ความเท่าเทียม ความเสมอภาค มันยังมีน้อยอยู่ ดังนั้น การปฏิรูปจะนํามาซึ่งความปรองดองด้านต่างๆ
ที่มีคณะกรรมการอิสระเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติ ทําหน้าที่ต่างๆ ในระยะเวลา 5 ปีแรก ไม่ว่าจะ
เป็นการเยียวยา การดูแลผู้ที่ได้รับความเสียหายจากผลกระทบ มีหน้าที่อํานวยความยุติธรรม มีหน้าที่
เสนอพระราชกฤษฎีกาให้อภัยโทษ มีหน้าที่ให้ความเห็นต่างๆ แก่รัฐบาล ที่จะทําให้บ้านเมืองเกิดสันติ
สุข มีหน้าที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง และให้ประชาชนได้เห็นความจําเป็นต่อการที่ต้อง
ดํารงอยู่บนความแตกต่าง นอกเหนือจากนี้ ให้เห็นถึงความจําเป็นที่ต้องแก้ไขความแตกต่างด้วยสันติวิธี
ในระบบประชาธิปไตยอีกด้วย
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ปีที่พิมพ์: มิถุนายน 2558
สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Contenu connexe

En vedette

ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 Klangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 

En vedette (7)

ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 

Similaire à รัฐธรรมนูญจะนำชาติไปสู่สันติสุขได้อย่างไร

โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนKlangpanya
 
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้า
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้าเนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้า
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้าPandit Chan
 
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตคาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตKlangpanya
 
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์Attawuth Pirom
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์Klangpanya
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...Klangpanya
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?Satapon Yosakonkun
 
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตKlangpanya
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 

Similaire à รัฐธรรมนูญจะนำชาติไปสู่สันติสุขได้อย่างไร (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
Public administration information system
Public administration information systemPublic administration information system
Public administration information system
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
 
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้า
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้าเนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้า
เนื้อในรับธรรมนูญ 160 หน้า
 
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคตคาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
คาบสมุทรไทยในอดีต : แง่คิดสำหรับอนาคต
 
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
คำสั่งคณะกรรมการบริหาร สทน. เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)
3 29+ธมฺมปทฏฐกถา+(สตฺตโม+ภาโค)
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

รัฐธรรมนูญจะนำชาติไปสู่สันติสุขได้อย่างไร

  • 2. v 1 โครงการคลังปญญาเพื่อการอภิวัตนประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตรฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙިйํÒªÒµÔä»ÊÙ‹ÊѹµÔÊآ䴌Í‹ҧäà ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ รัฐธรรมนูญจะนําชาติไปสู่สันติสุขได้อย่างไร สิ่งนี้จะเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่สําคัญ เพราะ รัฐธรรมนูญส่วนมากมักจะพูดถึงว่าเราจะสร้างประชาธิปไตยอย่างไร และจะทําให้มันดีขึ้นได้อย่างไร แต่ ในรัฐธรรมนูญฉบับที่เราจะร่วมสร้างด้วยกันนี้ จะต้องเป็นการสร้างสันติสุขและประชาธิปไตยให้แก่ ประเทศชาติ ทําให้เกิดการปรองดอง ทําให้เกิดการทํางานร่วมกันได้ รวมถึงได้รู้รักสามัคคี ของ 3 พรรค ฝ่าย ทั้งฝ่ายแดง ฝ่ายเหลือง และฝ่ายที่สาม ให้ได้ปรองดองร่วมกัน ดังนั้น สิ่งที่รัฐธรรมนูญออกแบบไว้ จึงมีหลายประการ ดังที่จะสรุปต่อไปนี้ ประการแรก อยากให้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เป็นรัฐธรรมนูญที่ทําให้เกิดรัฐบาลผสม และจะให้ กลับไปเกิดเหตุการณ์แบบเดิมไม่ได้ เหมือนตอนคุณสมัคร สุนทรเวช คุณสมชาย วงศ์สวัสดิ์ที่เกิด เหตุการณ์ความวุ่นวายและนองเลือดขึ้นในปี 2551 ตอนคุณอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ ที่เกิดเหตุการณ์ความ วุ่นวายและนองเลือดขึ้นในปี 2552 และ 2553 ตอนคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่เกิดเหตุการณ์ความวุ่นวาย และนองเลือดขึ้นในปี 2556 และ 2557 ดังนั้น เราจะไม่มีวันที่จะถอยกลับไปเป็นแบบนั้นแล้ว การเป็น รัฐบาลพรรคเดียวร่วมกันกับพรรคเล็กๆที่ไม่มีความหมาย และให้พรรคใดพรรคหนึ่งไปเป็นฝ่ายค้าน แบบนั้นจะต้องทําได้ยากมาก แต่ที่ต้องทําได้ง่ายคือ รัฐบาลผสม ผมจึงอยากร้องขอไปที่พรรคการเมืองฝ่ายต่างๆด้วย ว่าของอย่างนี้ไม่ได้อยู่กันที่โครงสร้างอย่าง เดียว แต่ต้องอยู่ที่จิตใจ ความมุ่งมั่น ของพรรคฝ่ายทั้งหลายที่จะสร้างประเทศไทยใหม่ให้สันติสุข ดังนั้น จึงต้องขอวิงวอน สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.) ให้เกิดรัฐบาลผสม เพื่อให้มีการปรองดองระหว่าง พรรค ระหว่างสี ประการที่สอง รัฐบาลผสมที่สําคัญ คือ การไม่ทําให้ภาคใต้เป็นของพรรคประชาธิปัตย์ทั้งหมด ไม่ทําให้กรุงเทพมหานครฯเป็นของพรรคประชาธิปัตย์เกือบทั้งหมด ไม่ทําให้ภาคอีสานเป็นของพรรค เพื่อไทยทั้งหมด และไม่ทําให้ภาคเหนือเป็นของพรรคเพื่อไทยทั้งหมด เนื่องจากในระบบบัญชีรายชื่อมี สัดส่วนอยู่เท่าไหร่ ก็จะต้องมีจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) อยู่เท่านั้น ถ้าไม่ได้รับจากการแบ่ง เขตเลย ก็จะต้องมี Party List มาเติม จนได้ตามสัดส่วนของระบบพรรค ดังนั้น นานเหลือเกินแล้วที่เรา ถูกมายาคติทําให้คิดว่าภาคหรือพื้นที่ต่างๆ ถูกผูกขาดโดยพรรคใดพรรคหนึ่ง ซึ่งความเป็นจริงเสียงของ ประชาชนไม่ได้เป็นเช่นนั้น ดังนั้น นี่จะเป็นการปรองดองระหว่างภาค และระบบรัฐบาลผสมก็จะทําให้ เห็นว่าเสียงของประชาชนมันเป็นสัดส่วนกับอํานาจของการเมือง ประการที่สาม ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.) จะมาจากคนละฐานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ถอดความจากการนําเสนอในการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ครั้งที่ 25 โดย ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ วันจันทร์ที่ 20 เมษายน 2558
  • 3. v 2 โครงการคลังปญญาเพื่อการอภิวัตนประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตรฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต (ส.ส.) และจะมีบทบาทมากขึ้น โดย ส.ว. ในที่นี้จะสามารถเสนอกฎหมายได้ด้วย นี่คือการปรองดอง อย่างหนึ่งระหว่างประชาชนผู้ลงคะแนนเสียงแบบเลือกตั้งทั่วไป กับอีกส่วนหนึ่งที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มา จากประชาชนที่เป็นตัวแทนอาชีพ ประชาชนที่เป็นตัวแทนวิชาชีพ ประชาชนที่เป็นอดีตข้าราชการ ประชาชนที่เป็นผู้ใช้แรงงาน และประชาชนที่เป็นเกษตรกร รวมทั้งระบอบของเรา ทั้งนี้นานเหลือเกิน แล้วที่เราใช้คนจนไปเลือกคนรวยเข้ามานั่งในสภา แต่คนจนที่สําคัญ หมายถึง แรงงานและเกษตรกร กลับไม่เคยได้เข้ามานั่งในสภาเลย ซึ่งในระบบการเลือกตั้งของเรา เขาจะได้เข้ามานั่งในสภาแน่นอน ดังนั้น นี่จะเป็นระบบที่มีการเลือกตั้งแบบ 2 ส่วน คือ ประชาชนที่เป็น voter หรือ ผู้หย่อนบัตร กับอีก ส่วนหนึ่ง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นตัวแทนจากวิชาชีพ ชุมชนท้องถิ่น แรงงานเกษตร และชุมชนวิชาการ ก็จะได้เข้ามาอยู่ในนี้ ประการที่สี่ การเพิ่มบทบาทและอํานาจของประชาชนมากขึ้นในแบบที่ประชาชนไม่ได้เป็น เจ้าของประชาธิปไตยเพียงแค่ 4 นาที และโอนอํานาจทั้งหมดให้กับนักการเมืองและพรรคการเมืองไป อีก 4 ปีเหมือนเดิม แต่เราจะเปลี่ยนแปลงประชาธิปไตยที่เลือกผู้นําเป็นหลักหรือเกือบจะอย่างเดียว โดยให้เป็นประชาธิปไตยที่ให้ประชาชนเป็นเจ้าของอํานาจ มีอํานาจโดยตรงมากขึ้น และสามารถเข้าไป มีส่วนในการบริหารบ้านเมือง ตรวจสอบ และถอดถอนได้ นั่นก็คือ สมัชชาพลเมือง เป็นสภาที่ทําหน้าที่ ตรวจสอบภาคพลเมือง เป็นสมัชชาคุณธรรม โดยสมัชชาพลเมืองนั้น สามารถลงประชามติถอดถอนผู้ ดํารงตําแหน่งทางการเมือง พร้อมๆไปกับที่เราหย่อนบัตรลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งทั่วไป ที่เรีกยว่า Impeachment ได้อีกด้วย นอกจากนั้น พลเมืองยังสามารถเปลี่ยนลําดับบัญชีรายชื่อได้ด้วย ที่เราเรียกว่า open list หรือ บัญชีระบบเปิด การที่เราให้ประชาชนมีบทบาทและอํานาจมากขึ้น ก็เป็นการปรองดองระหว่างประชาชน กับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ที่ผ่านมาเมื่อประชาชนไม่พอใจรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ก็มีหนทาง เดียว คือต้องลงสู่ท้องถนน แต่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ ได้ออกแบบให้ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม เข้าไปมีการตรวจสอบต่างๆ ในระบอบการเมืองของเราได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งถือว่าเป็นการปรองดองอีก แบบหนึ่ง ประการสุดท้าย ก็เป็นเรื่องการปฏิรูป ที่คุณหมอชูชัยได้พูดไปแล้ว การปฏิรูปก็เหมือนกับการ พัฒนา การทําอะไรให้ดีขึ้นอย่างขนานใหญ่ แต่สําหรับผมแล้วการปฏฺิรูป ก็คือการปรองดอง เพราะ สําหรับผม นานเหลือเกินแล้ว ที่เรามีความขัดแย้งกันระหว่างชนชั้น ระหว่างกลุ่ม ขัดแย้งกันระหว่าง เมืองกับชนบท ขัดแย้งกันระหว่างข้าราชการกับภาคประชาชน ที่เป็นเช่นนั้น เพราะความเป็นธรรม ความเท่าเทียม ความเสมอภาค มันยังมีน้อยอยู่ ดังนั้น การปฏิรูปจะนํามาซึ่งความปรองดองด้านต่างๆ ที่มีคณะกรรมการอิสระเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติ ทําหน้าที่ต่างๆ ในระยะเวลา 5 ปีแรก ไม่ว่าจะ เป็นการเยียวยา การดูแลผู้ที่ได้รับความเสียหายจากผลกระทบ มีหน้าที่อํานวยความยุติธรรม มีหน้าที่ เสนอพระราชกฤษฎีกาให้อภัยโทษ มีหน้าที่ให้ความเห็นต่างๆ แก่รัฐบาล ที่จะทําให้บ้านเมืองเกิดสันติ สุข มีหน้าที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง และให้ประชาชนได้เห็นความจําเป็นต่อการที่ต้อง ดํารงอยู่บนความแตกต่าง นอกเหนือจากนี้ ให้เห็นถึงความจําเป็นที่ต้องแก้ไขความแตกต่างด้วยสันติวิธี ในระบบประชาธิปไตยอีกด้วย
  • 4. เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ปีที่พิมพ์: มิถุนายน 2558 สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064