SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระดับประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการจัดทา
ขึ้นและนามาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในทุกๆ 5 ปี โดยแผนฯที่ใช้อยู่ในขณะนี้คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติของจีน ฉบับที่ 12 ซึ่งเริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ.2011 จนถึง ค.ศ.2015 ในขณะเดียวกัน จีน
กาลังจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่13 ซึ่งจะต้องถูกนามาใช้ในอีก 2 ปีข้างหน้า คือ
ในปี ค.ศ.2016 จนถึง ค.ศ.2020
ในการจัดทาแผนฯของจีน จะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์หลักเพื่อการพัฒนาประเทศ
นับตั้งแต่ประธานาธิบดี เติ้ง เสี่ยวผิง ได้ตั้งเป้าหมายไว้ในปี ค.ศ.1981 ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
หรือสามย่างก้าว ได้แก่
 “ย่างก้าวที่หนึ่ง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.1981 ถึงปี ค.ศ.1990
 “ย่างก้าวที่สอง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.1991 ถึงปี ค.ศ.2000
 “ย่างก้าวที่สาม” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2001 ถึงปี ค.ศ.2010
ในแต่ละย่างก้าวมีเป้าหมายที่ระบุไว้อย่างชัดเจน ในปี ค.ศ.1980 นับว่าเป็นปีที่เริ่มต้นของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน มี GDP ต่อหัวเพียง 250 เหรียญสหรัฐฯ แต่มาถึงปี ค.ศ.2010 ซึ่งถือว่าเป็นปี
สุดท้ายของย่างก้าวที่สาม GDP ต่อหัวของสาธารณรัฐประชาชนจีนก็ก้าวกระโดดไปอยู่ที่ 4,380 เหรียญ
สหรัฐฯ ซึ่งนับว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน ฉบับที่ 12 และ 13" จัดโดย
โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม 2557 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ
ห้องประชุม 8-812 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิตภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ
มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
1
อนาคตของจีน กบ
แผนพฒนาฯ 5 ปี
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ดร.หลี่ เหรินเหลียง
อาจารย์ประจาคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ค.ศ. 2016 — 2020
ฉบบที่ 4 / 2557
เอกสารวิชาการฉบบย่อ
วิทยาลยรฐกิจ มหาวิทยาลยรงสิต
ต่อมาในยุคประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ได้มีการจัดทาเป้าหมายใหม่ที่ต่อเนื่องจากเป้าหมายสาม
ย่างก้าวเดิม โดยใช้ชื่อเดิมและนาย่างก้าวสุดท้ายของเป้าหมายที่แล้วมานับเป็นก้าวที่หนึ่งในเป้าหมาย
ใหม่ ได้แก่
 “ย่างก้าวที่หนึ่ง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2001 ถึงปี ค.ศ.2010
 “ย่างก้าวที่สอง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2010 ถึงปี ค.ศ.2020
 “ย่างก้าวที่สาม” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2020 ถึงปี ค.ศ.2050
ใน “ย่างก้าวที่สาม” นับเป็นย่างก้าวที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นปีที่สิ้นสุด
เป้าหมายสามย่างก้าว และในปี ค.ศ.2050 เป็นปีที่สิ้นสุดย่างก้าวที่สาม ซึ่งตรงกับวันครบรอบ 100 ปี
ของการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน
ด้วยเหตุนี้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5 ปี ฉบับที่ 13 ที่จะถูกนามาใช้ในอีก 2 ปี
ข้างหน้านี้ จึงนับว่าเป็นแผนที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากระยะเวลาสิ้นสุดของแผนฯฉบับนี้ คือปี ค.ศ.
2020 ซึ่งจะไปตรงกับปีที่สิ้นสุดของย่างก้าวที่สอง และปีที่เริ่มต้นของย่างก้าวที่สาม ที่นับว่าเป็นย่างก้าว
ที่สาคัญดังที่กล่าวไปในข้างต้น ดังนั้น หลากหลายฝ่ายจึงให้ความสนใจในการจัดทาแผนฯ13 นี้ เป็น
อย่างยิ่ง
1. ผลการประเมินแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 13
ก่อนการจัดทาแผนฯ13 จีนจะต้องมีการประเมินผลแผนฯ12 เพื่อนาข้อมูลและผลลัพธ์ที่ได้จาก
แผนฯ12 มาปรับปรุงและเตรียมจัดทาแผนฯ13 โดยได้มีการนาเสนอผลการประเมินผลระยะกลางของ
แผนฯ12 ในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ.2013 โดยภาพรวมของการประเมินผลระบุว่า จากตัวชี้วัดทั้งหมด
24 ตัว เกือบทุกตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจและสังคมถือว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก คาดว่าจะ
บรรลุเป้าหมายในอีก 2 ปีข้างหน้าที่จะถึงกาหนดสิ้นสุดแผนฯ12 แต่ยังมีตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมอีก
4 ตัว ที่คาดว่าจะไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ได้ในอีก 2 ปีข้างหน้า
รายงานการประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 12
ในที่นี้จะขอกล่าวถึงตัวชี้วัดที่น่าสนใจและได้รับการพูดถึงในที่ประชุม ดังนี้
- ตัวชี้วัดภาพรวมทางด้านเศรษฐกิจ
ในรายงานระบุว่า อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจหรือ GDP ในปี ค.ศ.2011 คือ 9.3% ปี
ค.ศ.2012 คือ 7.7% และครึ่งปีแรกของปีค.ศ.2013 คือ 7.6% ดังนั้น สามปีแรก อัตราการ
เติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ 8% ถ้าสองปีหลังไม่ต่ากว่า 5.3% ก็น่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้
- ตัวชี้วัดทางด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์
ปี ค.ศ. 2012 สาธารณรัฐประชาชนจีนมีงบประมาณเพื่อการศึกษามากกว่า 2.2 ล้าน
ล้านหยวน ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เกินร้อยละ 4 ของ GDP และถือว่าอยู่ในระดับมาตรฐานสากล
(ในส่วนของไทยมีงบประมาณเพื่อการศึกษาอยู่มากกว่าร้อยละ 4 ของ GDP มานานแล้ว)
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ตัวชี้วัดทางด้านวิทยาศาสตร์ ในปี ค.ศ.2012 สาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการให้
งบประมาณทา Research And Development (R&D) มากกว่า 1 ล้านล้านหยวน หรือคิด
เป็นร้อยละ 1.98 ของ GDP ซึ่งรวมถึงงบประมาณเพื่อ R&D ของภาคเอกชน โดย
งบประมาณเพื่อ R&D ของภาคเอกชน คิดเป็นร้อยละ 74 ของงบประมาณทั้งหมด หาก
เทียบกับไทย ตัวเลขนี้ของไทยถือว่าต่ากว่าจีนค่อนข้างมาก โดยไทยมีงบประมาณเพื่อ
R&D อยู่ที่ร้อยละ 0.8 ของ GDP และสหรัฐอเมริกามีงบประมาณเพื่อ R&D อยู่ที่ประมาณ
ร้อยละ 2 ของ GDP
จานวนของการจดสิทธิบัตร รวมทั้งหมดจนถึงสิ้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา จีนมีการจด
สิทธิบัตร (ไม่รวมฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน) ทั้งสิ้น 4.9 แสนชิ้น หรือคิดเป็น 3.64 ชิ้นต่อ
ประชากรทุกหมื่นคน
ต่อประเด็นนี้ วิทยากรได้อธิบายเพิ่มเติมว่า หากเครื่องหมายการค้าไม่ได้รับการจด
สิทธิบัตรในจีนจะไม่ได้รับการคุ้มครอง ถ้าต้องการฟ้องร้องจะต้องไปฟ้องร้องที่บริษัท
นั้นๆเอง นอกเหนือจากนี้ คาดว่าจีนจะมีการปรับเปลี่ยนนโยบายในการผลิตเชิงปริมาณ
ไปสู่การผลิตในเชิงคุณภาพมากขึ้น และกรณีการละเมิดสิทธิบัตรอันเกิดจากการ
ลอกเลียนแบบสินค้าและลิขสิทธิ์ของผู้อื่นจะลดลง อ้างอิงจากงบประมาณเพื่อ R&D ของจีน
ที่สูงถึงร้อยละ 1.98 ของ GDP
- ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาสู่ความเป็นเมือง
การพัฒนาสู่ความเป็นเมือง (Urbanization) ของจีน จากร้อยละ 49.95 ในปีค.ศ. 2011
เพิ่มเป็นร้อยละ 52.57 ในปีค.ศ. 2012
- ตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้าของรายได้ประชากร
 การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าของรายได้ระหว่างคนในเมืองกับคนในชนบท จาก
อัตรา 3.23:1 ในปีค.ศ.2010 ลดลงเป็น 3.10:1 ในปีค.ศ.2012
 การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าของรายได้ระหว่างภูมิภาค จากปีค.ศ. 2010
ระหว่างภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จาก 2.1:1.5 :1.0‫׃‬1.1 เป็น 1.8:1.5 :1.0‫׃‬1.0 ในปี ค.ศ. 2012
- ตัวชี้วัดด้านสวัสดิการการประกันสุขภาพ
ในปี ค.ศ. 2013 มีจานวน Primary Care unit เพิ่มขึ้นเป็น 2.13 ล้านแห่ง และมีคนเข้า
ร่วมโครงการประกันสุขภาพชนิดต่างๆถึง 1,320 ล้านคน
ที่ผ่านมาจีนมาศึกษาดูงานและเรียนรู้ระบบประกันสุขภาพจากโครงการ 30 บาทรักษา
ทุกโรคของไทย โดยมีความพยายามที่จะจัดทาระบบสวัสดิการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ
และทั่วถึง จึงกระจายเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีคุณภาพไปที่คลินิกของแต่ละชุมชน
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เพื่อให้คนไข้สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพได้ง่ายขึ้น และมีสวัสดิการรองรับ
อย่างทั่วถึง
- ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านสิ่งแวดล้อมมีตัวชี้วัด 4 ตัว คาดว่าไม่น่าจะบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ภายในอีก 2 ปี
ข้างหน้า ได้แก่ อัตราการปล่อยก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (Nitrogen oxide Emissions)
อัตราการใช้พลังงาน (Energy Consumption Intensity) อัตราการใช้คาร์บอนไดออกไซด์
(Carbon dioxide Emissions Intensity) และสุดท้ายอัตราโครงสร้างการใช้พลังงานที่ไม่ใช้
ฟอสซิลต่อการใช้พลังงานทั่วไป (Energy Consumption Structure)
และจากการวัดคุณภาพของอากาศ ก็ยังไม่ถึงระดับมาตรฐานที่วางไว้อีกด้วย
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 13 (ค.ศ.2016 - ค.ศ.2020)
สาระสาคัญของแผนฯ 5 ปี ฉบับที่ 13 ประกอบด้วย
2.1 สร้างระบบควบคุมเชิงมหภาค และปฏิรูประบบราชการราชการทั้งระบบ
เป็นที่ทราบกันว่าระบบเศรษฐกิจและการตลาดของจีน ยังคงเป็นระบบสังคมนิยม
แม้ว่าในภาคธุรกิจจะสามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างอิสรเสรีและเป็นไปตามกลไกตลาด แต่
ทั้งนี้บทบาทของภาครัฐในการควบคุมเชิงมหภาคยังคงอยู่ในระดับที่สูง
การปฏิรูประบบราชการ จะเห็นได้ในสมัยผู้นาจีนรุ่นที่ 5 นี้ โดยประธานาธิบดี
สี จิ้นผิง ถือเป็นผู้นาที่ค่อนข้างจะมีบทบาทในการปฎิรูประบบราชการ โดยมีการลด
ระเบียบขั้นตอนที่ยุ่งยาก ล่าช้าต่างๆของระบบราชการ และเอาจริงเอาจังในการ
ปราบปรามคอรัปชั่น การปฏิรูปในครั้งนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ คือ
 การปราบทั้งเสือทั้งแมลงวัน (老虎苍蝇一起打) หมายถึง การปราบปราม
คอรัปชั่นในระดับใหญ่ๆ ทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และปราบปรามแมลงวัน หมายถึง
การปราบปรามข้าราชการตัวเล็กๆ ด้วยเช่นกัน
 แบบอย่างผู้นาที่ดี หมายถึงผู้นาต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในหลากหลายด้าน โดย
จะมีกฎเหล็กอยู่ 11 ข้อ อาทิเช่น ห้ามขึ้นป้าย ปูพรมแดง หรือมอบช่อดอกไม้แก่คน
ในรัฐบาล ข้าราชการ และนายทหารระดับสูง ไม่ว่าจะในโอกาสใดก็ตาม ห้ามใช้
จ่ายเงินหลวงอย่างฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะในระหว่างไปตรวจราชการ ห้ามพักโรงแรมหรู
ห้ามจัดเลี้ยงด้วยอาหารราคาแพงหรือสั่งอาหารจนล้นโต๊ะ เป็นต้น
ทั้งนี้สี จิ้นผิงได้ให้นโยบายว่า ในการปราบปรามคอรัปชั่นจะไม่เอาผิดกับ
เรื่องที่เคยทาไว้ในอดีต แต่ขอให้คนที่เคยกระทาผิดหยุดไว้เพียงเท่านั้น และห้ามทา
ต่อไป เนื่องจากรัฐบาลเกรงว่าจะเป็นการสร้างความสับสนวุ่นวายแก่ข้าราชการ และ
อาจจะส่งผลกระทบต่อภาพรวมและเศรษฐกิจของจีนจนไม่มีใครกล้าทาอะไร เพราะ
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กลัวถูกจับตามอง และเพื่อต้องการให้การปฏิรูปในครั้งนี้เปลี่ยนแปลงระบบข้าราชการ
ของจีนให้เป็นระบบที่รับใช้ประชาชนอย่างแท้จริง
2.2 สร้างระบบควบคุมราคาต้นทุนปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นธรรม และ
ส่งเสริมความก้าวหน้าในบางสาขาอุตสาหกรรม
สร้างระบบควบคุมราคาต้นทุนปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตร อาทิ ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ และ
ลดการเก็บภาษีสินค้าการเกษตร ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์
2.3 เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมแขนงใหม่ที่มีความสาคัญในเชิงยุทธศาสตร์ และเพิ่มขีด
ความสามารถของสินค้าในการแข่งขันกับเวทีโลก
ประเด็นนี้จะมีความคล้ายคลึงกับแผนฯ 12 โดยจะเน้นอุตสาหกรรมสาขาใหม่ที่มี
ความสาคัญในเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 7 สาขา ได้แก่ พลังงาน ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ
วัสดุ การผลิตชั้นสูง เทคโนโลยีชีวภาพ
2.4 ผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจแบบการรวมกลุ่มในเขตพื้นที่หรือ Cluster เพื่อเพิ่ม
ขีดความสามารถการแข่งขันในระดับโลก และทาลายกาแพงของแต่ละพื้นที่
ยุทธศาสตร์ที่นามาใช้ในช่วงแรกๆ คือการกระจายความเจริญไปทีละเมือง เป็นจุดๆ
โดยการเปิดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ต่อมาจะค่อยๆเชื่อมเมืองต่างๆให้กลายเป็นกลุ่มก้อน
ทางเศรษฐกิจเดียวกัน ยกตัวอย่าง
แนวคิด “สองเส้นทางหนึ่งสาย” คือแนวคิดเชื่อมโยงและพัฒนาเมืองทั้งสองฟาก
ฝั่งของแม่น้าแยงซีเกียง ตั้งแต่ทางฝั่งตะวันตก ฉงชิ่ง เสฉวน จนไปถึงอีกฝั่งหนึ่งคือทางฝั่ง
ตะวันออก ให้เป็นเส้นทางทางเศรษฐกิจ 1 สาย
นอกเหนือจากนี้ ยังมีโครงการขนาดใหญ่ระดับนานาชาติที่น่าสนใจ คือ
“เส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางบกในศตวรรษที่ 21” โดยจะเริ่มต้นจากจีนไป
ยังเอเชียกลาง เข้าไปจนถึงยุโรป เรียก Ouya (欧亚)
“เส้นทางสายไหมทางทะเลในศตวรรษที่ 21” โดยเชื่อมเส้นทางทางทะเลตั้งแต่
จีนไปจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามทางมหาสมุทรอินเดียไปยังแอฟริกา จนถึงยุโรป
ปลายทาง
โครงการเส้นทางสายไหมทางทะเลนี้น่าจะมีนัยยะสาคัญต่อประเทศไทยโดยตรง
เนื่องจาก ตั้งแต่สมัยโบราณ ทาเลที่ตั้งของไทยถือว่าเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญ ไม่ว่าจีน
จะไปยุโรป แอฟริกา หรือที่ไหน ก็ต้องผ่านไทยโดยตรง ซึ่งอยู่ที่ว่าทั้งสองประเทศทั้งไทย
และจีนจะกาหนดบทบาทและยุทธศาสตร์อย่างไร ให้สอดคล้องกันเพื่อประโยชน์สูงสุดของ
ทั้งสองฝ่าย
5
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2.5 ปฏิรูปและเสริมสร้างระบบสวัสดิการ กิจการทางสังคมที่เป็นธรรม
การสร้างหลักประกันทางสังคมต่างๆ ได้แก่ การจ้างงาน การศึกษา การ
รักษาพยาบาล การกระจายรายได้และประกันสังคม ให้มีความเป็นธรรม เพราะที่ผ่านมามี
เสียงสะท้อนกลับว่าประชาชนบางกลุ่มยังไม่ได้รับผลประโยชน์จากการปฏิรูปเศรษฐกิจ
นับตั้งแต่การเปิดประเทศเป็นต้นมาเท่าที่ควร ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าทุกวันนี้จีนเป็นประเทศที่
ยิ่งใหญ่ มั่งคั่ง และมีอานาจมาก แต่ก็ยังคงมีประชาชนที่ยากจนอยู่พอสมควร ดังนั้น จึง
นามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงแนวคิด จากแนวคิดเดิมที่มีเป้าหมายหลักคือการพัฒนาเพื่อความ
มั่งคั่งของประเทศ ซึ่งยากที่จะครอบคลุมถึงทุกคนในสังคม จึงมีเพียงคนบางส่วนที่มั่งคั่ง
และยังมีคนอีกบางส่วนที่ยังไม่ได้รับผลประโยชน์เท่าที่ควร เมื่อวันนี้ประเทศชาติมั่งคั่งแล้ว
จึงหันมากระจายความเท่าเทียมให้เกิดขึ้นในสังคม โดยใช้คาว่า “น้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่
ต่า”คือ จากความมั่งคั่งของประเทศซึ่งหมายถึงส่วนรวม พัดพาความมั่งคั่งไหลไปสู่ปัจเจก
บุคคล นั่นก็คือประชาชนที่เป็นองค์ประกอบหลักของชาตินั่นเอง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง
การพัฒนาในแต่ละภูมิภาคของจีน เราจะเห็นได้ว่าในแถบภาคตะวันออกของจีน จะพัฒนา
ล้าหน้ากว่าทางภาคตะวันตก อันเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ติดทะเล ทั้งนี้และ
ทั้งนั้น ตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 จีนมีนโยบายเริ่มบุกเบิกทางภาคตะวันตกมากขึ้น อาทิ ฉงชิ่ง
เสฉวน ดังแนวคิด “สองเส้นทางหนึ่งสาย” ที่ได้กล่าวไปข้างต้น
3. การจัดการความสัมพันธ์เพื่อบรรลุเป้าหมายในแผนฯ 13
อย่างไรก็ตาม ในการทาให้แผนฯ13 บรรลุวัตถุประสงค์และบรรลุเป้าหมาย จะต้องอยู่บน
พื้นฐานของการจัดการความสัมพันธ์ของทั้ง 3 คู่ให้ดี ได้แก่
 คู่ที่ 1 การพัฒนากับความมั่นคั่ง
จากที่กล่าวมาในหัวข้อที่แล้ว เราจะเห็นได้ว่าขณะที่การพัฒนาของจีน รุดหน้าไปอย่าง
รวดเร็ว แต่ประชาชนยังไม่ได้รับผลประโยชน์เท่าที่ควร จึงนามาซึ่งการจัดการความสัมพันธ์กัน
ระหว่างการพัฒนาความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศ ให้สมดุลกับผลประโยชน์และความมั่งคั่ง
ของประชาชนด้วย
ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง ยุทธศาสตร์การสร้างเมืองขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อย
คือ การสร้างเมืองอีกหนึ่งระดับขึ้นมาเพื่อเชื่อมระหว่างชนบทกับเมืองขนาดกลางและเมือง
ขนาดย่อย ซึ่งจะทาให้คนชนบทไม่ต้องอพยพเข้าไปในเมืองขนาดใหญ่เพื่อหาความเจริญอย่าง
ที่เคยเป็นมา จนทาให้เกิดความไม่สมดุลของจานวนประชากรกับพื้นที่ และทั้งเมืองขนาดใหญ่
จะได้ไม่ต้องขยายตัวมากจนยากต่อการจัดการ
การสร้างเมืองหลากหลายขนาดในหลากหลายพื้นที่ ยังเป็นการกระจายและพัฒนา
ความเจริญออกไป โดยไม่ปล่อยให้กระจุกตัวอยู่แค่ในเมืองใหญ่ๆอย่างเช่น เซี่ยงไฮ้ เท่านั้น
ยกตัวอย่าง การกระจายและพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา การสาธารณสุข และสวัสดิการ
6
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สังคมต่างๆ ในการสร้างเมืองดังกล่าวจะต้องใช้งบประมาณในการลงทุน จึงส่งผลให้เกิดการ
กระตุ้นและการขยายตัวทางเศรษฐกิจไปในอีกทางหนึ่ง
 คู่ที่ 2 อัตราการเจริญเติบโตที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วกับผลสาเร็จทางคุณภาพ
ภายหลังการเปิดประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน เกิดการพัฒนาที่รวดเร็วเป็น
อย่างมาก ตลอดสามสิบถึงสี่สิบปีที่ผ่านมา ในขณะเดียวกัน ได้เกิดปัญหาที่ตามมาอีกเป็น
จานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเหลื่อมล้าทางสังคม จึงถูกมองว่า
เป็นการพัฒนาในเชิงปริมาณมากกว่าคุณภาพที่จะได้รับ เพราะฉะนั้นสิ่งที่แผนฯ13 นี้จะต้อง
เน้นให้มากขึ้น คือการรักษาสัดส่วนระหว่างการลงทุน การบริโภค การส่งออก และการนาเข้า
ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้ได้มาซึ่งการพัฒนาที่มีคุณภาพ ได้ผลสาเร็จทั้งด้านเศรษฐกิจ
และด้านสังคม
 คู่ที่ 3 เศรษฐกิจ สังคมกับธรรมชาติ
จากที่กล่าวมาทั้งหมด เราจะเห็นได้ว่า ภายหลังการเปิดประเทศตลอด 30-40 ปีที่
ผ่านมานี้ จีนได้พัฒนาประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ทรัพยากรต่างๆก็ถูกนามาใช้อย่างสิ้นเปลือง
เช่นกัน นอกเหนือจากนี้ ถึงแม้อัตราความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีของจีน
จะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังมีบางสิ่งที่กลับสวนทางกัน นั่นก็คือ จิตใจของคนในสังคม ดังนั้น
จึงนามาซึ่งการจัดการความสัมพันธ์ของหลักการทางเศรษฐกิจ หลักการทางสังคม และ
หลักการทางธรรมชาติให้สมดุลกัน
หลักการทางเศรษฐกิจ หมายถึง หลักการพัฒนาเศรษฐกิจในแนวทางลัทธิ
มากซ์และระบอบทุนนิยม
หลักการทางสังคม หมายถึง แนวความคิดแบบปรัชญาจีน อาทิ ลัทธิขงจื๊อ
หลักการทางธรรมชาติ หมายถึง การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ อาทิ การรักษา
สิ่งแวดล้อม ไม่ทาลายธรรมชาติ เป็นต้น
ยกตัวอย่าง การรักษาความสัมพันธ์ในการดาเนินเศรษฐกิจให้มีประสิทธิภาพและ
เหมาะสม ไม่เบียดเบียนธรรมชาติและทาลายสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ต้องควบคู่ไปกับการยกระดับ
และขัดเกลาจิตใจของคนในสังคม ดังคากล่าวของผู้นาจีนว่า “ต้องจับมือทั้ง 2 ข้าง (两手抓)”
คือ มือข้างหนึ่งจับวัตถุ ในขณะเดียวกันอีกข้างหนึ่งก็ต้องไม่ละทิ้งออกจากจิตใจ
ดังนั้น ในการจัดการความสัมพันธ์ของทั้งสามสิ่ง คือ การปรับปรุง ดัดแปลง และ
คัดเลือก หลักการที่สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด และ
สอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะนั้น ยกตัวอย่าง การใช้ระบอบทุนนิยมแบบผสมผสานกับ
แนวทางลัทธิมากซ์ โดยมีระบอบการบริหารงานทางเศรษฐกิจชนิดวางแผนจากส่วนกลาง
(Central Planning)
7
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเชิงพื้นที่
นอกจากมีการทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศแล้ว จีนยังจัดทาแผนฯของแต่
ละพื้นที่ด้วย อาทิ มณฑล เมือง เป็นต้น โดยแผนดังกล่าวจะต้องมีเนื้อหาที่ล้อไปกับแผนฯใหญ่ ใน
ขณะเดียวกัน ก็ต้องคานึงถึงมิติเชิงพื้นที่ โดยจะต้องจัดทาให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ของแต่ละพื้นที่
ด้วย หากไทยต้องการวางยุทธศาสตร์ ทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนกับทางใต้ของจีน เช่น ยูนนาน ก็
จะต้องไปศึกษาแผนฯของมณฑลยูนนานด้วย
5. สรุปและข้อเสนอแนะ
จากที่กล่าวมาทั้งหมด เราจะเห็นได้ถึงกระบวนการในการจัดทาแผนฯที่เป็นระบบ เอาจริงเอา
จัง มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน มีการประเมินผลตลอดระยะเวลาในการนาแผนฯมาปฏิบัติ เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชนสามารถคาดคะเนระยะเวลาที่เหลือ และเตรียมตัววางแผนเพื่อเร่งรัดสู่การบรรลุ
เป้าหมายได้อย่างทันเวลาร่วมกัน อีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข้อมูลการจัดทาแผนฯในทุกขั้นตอนสู่
สาธารณชนอย่างเป็นระยะ ยกตัวอย่าง การเผยแพร่ Blue Book ในทุกปี และการรายผลการจัดทาแผน
ฯต่อที่ประชุมสภา เป็นต้น
การศึกษาการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่าเป็น
ประโยชน์ต่อแนวทางในการจัดทาแผนฯของไทยเป็นอย่างมาก นอกเหนือจากนี้ ไทยควรรู้ว่าจีนจะ
ดาเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ไปในทิศทางใด เพื่อปรับตัวและกาหนดยุทธศาสตร์ของตนเองให้
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจีน ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของทั้งสองฝ่าย อาทิ การเพิ่มและให้
น้าหนักยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น
********************************************
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.หลี่ เหรินเหลียง ศาสตราจารย์ ดร.
ชลธิรา สัตยาวัฒนา ศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ รองศาสตราจารย์
ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ ท่านสมปอง
สงวนบรรพ์ อาจารย์ พิรุณ ฉัตรวนิชกุล ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์อาจารย์
ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อาจารย์ อัครเดช สุภัคกุล อาจารย์ ศิวพล ละอองสกุล
นาย ทนงศักดิ์ วิกุล นาย บุญส่ง ชเลธร นาย เทวินทร์ แซ่แต้ นางสาว ยุวดี
คาดการณ์ไกล
8
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา
ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
9
ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Contenu connexe

Tendances

โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นImage plus Communication
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงKlangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 

Tendances (16)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปีบทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
 
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
1 ศักยภาพคนไทยเพื่ออนาคตประเทศไทย
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similaire à อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี

Guide note on wrting a business plan thai
Guide note on wrting a business plan  thai Guide note on wrting a business plan  thai
Guide note on wrting a business plan thai Utai Sukviwatsirikul
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444taohumdeeg
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนKppPrimaryEducationa
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563KppPrimaryEducationa
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกVilaiwun Bunya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด Taraya Srivilas
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 

Similaire à อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี (20)

Guide note on wrting a business plan thai
Guide note on wrting a business plan  thai Guide note on wrting a business plan  thai
Guide note on wrting a business plan thai
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
 
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
ข้อ 27-54 บริหารรัฐกิจ.pdf4444444444444444444444444444
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือนรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี

  • 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระดับประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการจัดทา ขึ้นและนามาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในทุกๆ 5 ปี โดยแผนฯที่ใช้อยู่ในขณะนี้คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติของจีน ฉบับที่ 12 ซึ่งเริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ.2011 จนถึง ค.ศ.2015 ในขณะเดียวกัน จีน กาลังจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่13 ซึ่งจะต้องถูกนามาใช้ในอีก 2 ปีข้างหน้า คือ ในปี ค.ศ.2016 จนถึง ค.ศ.2020 ในการจัดทาแผนฯของจีน จะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์หลักเพื่อการพัฒนาประเทศ นับตั้งแต่ประธานาธิบดี เติ้ง เสี่ยวผิง ได้ตั้งเป้าหมายไว้ในปี ค.ศ.1981 ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน หรือสามย่างก้าว ได้แก่  “ย่างก้าวที่หนึ่ง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.1981 ถึงปี ค.ศ.1990  “ย่างก้าวที่สอง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.1991 ถึงปี ค.ศ.2000  “ย่างก้าวที่สาม” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2001 ถึงปี ค.ศ.2010 ในแต่ละย่างก้าวมีเป้าหมายที่ระบุไว้อย่างชัดเจน ในปี ค.ศ.1980 นับว่าเป็นปีที่เริ่มต้นของ สาธารณรัฐประชาชนจีน มี GDP ต่อหัวเพียง 250 เหรียญสหรัฐฯ แต่มาถึงปี ค.ศ.2010 ซึ่งถือว่าเป็นปี สุดท้ายของย่างก้าวที่สาม GDP ต่อหัวของสาธารณรัฐประชาชนจีนก็ก้าวกระโดดไปอยู่ที่ 4,380 เหรียญ สหรัฐฯ ซึ่งนับว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน ฉบับที่ 12 และ 13" จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม 2557 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม 8-812 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิตภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) 1 อนาคตของจีน กบ แผนพฒนาฯ 5 ปี โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.หลี่ เหรินเหลียง อาจารย์ประจาคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ค.ศ. 2016 — 2020 ฉบบที่ 4 / 2557 เอกสารวิชาการฉบบย่อ วิทยาลยรฐกิจ มหาวิทยาลยรงสิต
  • 2. ต่อมาในยุคประธานาธิบดี หู จิ่นเทา ได้มีการจัดทาเป้าหมายใหม่ที่ต่อเนื่องจากเป้าหมายสาม ย่างก้าวเดิม โดยใช้ชื่อเดิมและนาย่างก้าวสุดท้ายของเป้าหมายที่แล้วมานับเป็นก้าวที่หนึ่งในเป้าหมาย ใหม่ ได้แก่  “ย่างก้าวที่หนึ่ง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2001 ถึงปี ค.ศ.2010  “ย่างก้าวที่สอง” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2010 ถึงปี ค.ศ.2020  “ย่างก้าวที่สาม” ตั้งแต่ปี ค.ศ.2020 ถึงปี ค.ศ.2050 ใน “ย่างก้าวที่สาม” นับเป็นย่างก้าวที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นปีที่สิ้นสุด เป้าหมายสามย่างก้าว และในปี ค.ศ.2050 เป็นปีที่สิ้นสุดย่างก้าวที่สาม ซึ่งตรงกับวันครบรอบ 100 ปี ของการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยเหตุนี้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5 ปี ฉบับที่ 13 ที่จะถูกนามาใช้ในอีก 2 ปี ข้างหน้านี้ จึงนับว่าเป็นแผนที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากระยะเวลาสิ้นสุดของแผนฯฉบับนี้ คือปี ค.ศ. 2020 ซึ่งจะไปตรงกับปีที่สิ้นสุดของย่างก้าวที่สอง และปีที่เริ่มต้นของย่างก้าวที่สาม ที่นับว่าเป็นย่างก้าว ที่สาคัญดังที่กล่าวไปในข้างต้น ดังนั้น หลากหลายฝ่ายจึงให้ความสนใจในการจัดทาแผนฯ13 นี้ เป็น อย่างยิ่ง 1. ผลการประเมินแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 13 ก่อนการจัดทาแผนฯ13 จีนจะต้องมีการประเมินผลแผนฯ12 เพื่อนาข้อมูลและผลลัพธ์ที่ได้จาก แผนฯ12 มาปรับปรุงและเตรียมจัดทาแผนฯ13 โดยได้มีการนาเสนอผลการประเมินผลระยะกลางของ แผนฯ12 ในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ.2013 โดยภาพรวมของการประเมินผลระบุว่า จากตัวชี้วัดทั้งหมด 24 ตัว เกือบทุกตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจและสังคมถือว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก คาดว่าจะ บรรลุเป้าหมายในอีก 2 ปีข้างหน้าที่จะถึงกาหนดสิ้นสุดแผนฯ12 แต่ยังมีตัวชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมอีก 4 ตัว ที่คาดว่าจะไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ได้ในอีก 2 ปีข้างหน้า รายงานการประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 12 ในที่นี้จะขอกล่าวถึงตัวชี้วัดที่น่าสนใจและได้รับการพูดถึงในที่ประชุม ดังนี้ - ตัวชี้วัดภาพรวมทางด้านเศรษฐกิจ ในรายงานระบุว่า อัตราเติบโตทางเศรษฐกิจหรือ GDP ในปี ค.ศ.2011 คือ 9.3% ปี ค.ศ.2012 คือ 7.7% และครึ่งปีแรกของปีค.ศ.2013 คือ 7.6% ดังนั้น สามปีแรก อัตราการ เติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ 8% ถ้าสองปีหลังไม่ต่ากว่า 5.3% ก็น่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้ - ตัวชี้วัดทางด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์ ปี ค.ศ. 2012 สาธารณรัฐประชาชนจีนมีงบประมาณเพื่อการศึกษามากกว่า 2.2 ล้าน ล้านหยวน ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เกินร้อยละ 4 ของ GDP และถือว่าอยู่ในระดับมาตรฐานสากล (ในส่วนของไทยมีงบประมาณเพื่อการศึกษาอยู่มากกว่าร้อยละ 4 ของ GDP มานานแล้ว) 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. ตัวชี้วัดทางด้านวิทยาศาสตร์ ในปี ค.ศ.2012 สาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการให้ งบประมาณทา Research And Development (R&D) มากกว่า 1 ล้านล้านหยวน หรือคิด เป็นร้อยละ 1.98 ของ GDP ซึ่งรวมถึงงบประมาณเพื่อ R&D ของภาคเอกชน โดย งบประมาณเพื่อ R&D ของภาคเอกชน คิดเป็นร้อยละ 74 ของงบประมาณทั้งหมด หาก เทียบกับไทย ตัวเลขนี้ของไทยถือว่าต่ากว่าจีนค่อนข้างมาก โดยไทยมีงบประมาณเพื่อ R&D อยู่ที่ร้อยละ 0.8 ของ GDP และสหรัฐอเมริกามีงบประมาณเพื่อ R&D อยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 2 ของ GDP จานวนของการจดสิทธิบัตร รวมทั้งหมดจนถึงสิ้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา จีนมีการจด สิทธิบัตร (ไม่รวมฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน) ทั้งสิ้น 4.9 แสนชิ้น หรือคิดเป็น 3.64 ชิ้นต่อ ประชากรทุกหมื่นคน ต่อประเด็นนี้ วิทยากรได้อธิบายเพิ่มเติมว่า หากเครื่องหมายการค้าไม่ได้รับการจด สิทธิบัตรในจีนจะไม่ได้รับการคุ้มครอง ถ้าต้องการฟ้องร้องจะต้องไปฟ้องร้องที่บริษัท นั้นๆเอง นอกเหนือจากนี้ คาดว่าจีนจะมีการปรับเปลี่ยนนโยบายในการผลิตเชิงปริมาณ ไปสู่การผลิตในเชิงคุณภาพมากขึ้น และกรณีการละเมิดสิทธิบัตรอันเกิดจากการ ลอกเลียนแบบสินค้าและลิขสิทธิ์ของผู้อื่นจะลดลง อ้างอิงจากงบประมาณเพื่อ R&D ของจีน ที่สูงถึงร้อยละ 1.98 ของ GDP - ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาสู่ความเป็นเมือง การพัฒนาสู่ความเป็นเมือง (Urbanization) ของจีน จากร้อยละ 49.95 ในปีค.ศ. 2011 เพิ่มเป็นร้อยละ 52.57 ในปีค.ศ. 2012 - ตัวชี้วัดด้านความเหลื่อมล้าของรายได้ประชากร  การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าของรายได้ระหว่างคนในเมืองกับคนในชนบท จาก อัตรา 3.23:1 ในปีค.ศ.2010 ลดลงเป็น 3.10:1 ในปีค.ศ.2012  การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าของรายได้ระหว่างภูมิภาค จากปีค.ศ. 2010 ระหว่างภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก 2.1:1.5 :1.0‫׃‬1.1 เป็น 1.8:1.5 :1.0‫׃‬1.0 ในปี ค.ศ. 2012 - ตัวชี้วัดด้านสวัสดิการการประกันสุขภาพ ในปี ค.ศ. 2013 มีจานวน Primary Care unit เพิ่มขึ้นเป็น 2.13 ล้านแห่ง และมีคนเข้า ร่วมโครงการประกันสุขภาพชนิดต่างๆถึง 1,320 ล้านคน ที่ผ่านมาจีนมาศึกษาดูงานและเรียนรู้ระบบประกันสุขภาพจากโครงการ 30 บาทรักษา ทุกโรคของไทย โดยมีความพยายามที่จะจัดทาระบบสวัสดิการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ และทั่วถึง จึงกระจายเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีคุณภาพไปที่คลินิกของแต่ละชุมชน 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. เพื่อให้คนไข้สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพได้ง่ายขึ้น และมีสวัสดิการรองรับ อย่างทั่วถึง - ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งแวดล้อมมีตัวชี้วัด 4 ตัว คาดว่าไม่น่าจะบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ภายในอีก 2 ปี ข้างหน้า ได้แก่ อัตราการปล่อยก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (Nitrogen oxide Emissions) อัตราการใช้พลังงาน (Energy Consumption Intensity) อัตราการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide Emissions Intensity) และสุดท้ายอัตราโครงสร้างการใช้พลังงานที่ไม่ใช้ ฟอสซิลต่อการใช้พลังงานทั่วไป (Energy Consumption Structure) และจากการวัดคุณภาพของอากาศ ก็ยังไม่ถึงระดับมาตรฐานที่วางไว้อีกด้วย 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 5 ปี ฉบับที่ 13 (ค.ศ.2016 - ค.ศ.2020) สาระสาคัญของแผนฯ 5 ปี ฉบับที่ 13 ประกอบด้วย 2.1 สร้างระบบควบคุมเชิงมหภาค และปฏิรูประบบราชการราชการทั้งระบบ เป็นที่ทราบกันว่าระบบเศรษฐกิจและการตลาดของจีน ยังคงเป็นระบบสังคมนิยม แม้ว่าในภาคธุรกิจจะสามารถดาเนินธุรกิจได้อย่างอิสรเสรีและเป็นไปตามกลไกตลาด แต่ ทั้งนี้บทบาทของภาครัฐในการควบคุมเชิงมหภาคยังคงอยู่ในระดับที่สูง การปฏิรูประบบราชการ จะเห็นได้ในสมัยผู้นาจีนรุ่นที่ 5 นี้ โดยประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ถือเป็นผู้นาที่ค่อนข้างจะมีบทบาทในการปฎิรูประบบราชการ โดยมีการลด ระเบียบขั้นตอนที่ยุ่งยาก ล่าช้าต่างๆของระบบราชการ และเอาจริงเอาจังในการ ปราบปรามคอรัปชั่น การปฏิรูปในครั้งนี้มีเนื้อหาสาระสาคัญ คือ  การปราบทั้งเสือทั้งแมลงวัน (老虎苍蝇一起打) หมายถึง การปราบปราม คอรัปชั่นในระดับใหญ่ๆ ทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และปราบปรามแมลงวัน หมายถึง การปราบปรามข้าราชการตัวเล็กๆ ด้วยเช่นกัน  แบบอย่างผู้นาที่ดี หมายถึงผู้นาต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในหลากหลายด้าน โดย จะมีกฎเหล็กอยู่ 11 ข้อ อาทิเช่น ห้ามขึ้นป้าย ปูพรมแดง หรือมอบช่อดอกไม้แก่คน ในรัฐบาล ข้าราชการ และนายทหารระดับสูง ไม่ว่าจะในโอกาสใดก็ตาม ห้ามใช้ จ่ายเงินหลวงอย่างฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะในระหว่างไปตรวจราชการ ห้ามพักโรงแรมหรู ห้ามจัดเลี้ยงด้วยอาหารราคาแพงหรือสั่งอาหารจนล้นโต๊ะ เป็นต้น ทั้งนี้สี จิ้นผิงได้ให้นโยบายว่า ในการปราบปรามคอรัปชั่นจะไม่เอาผิดกับ เรื่องที่เคยทาไว้ในอดีต แต่ขอให้คนที่เคยกระทาผิดหยุดไว้เพียงเท่านั้น และห้ามทา ต่อไป เนื่องจากรัฐบาลเกรงว่าจะเป็นการสร้างความสับสนวุ่นวายแก่ข้าราชการ และ อาจจะส่งผลกระทบต่อภาพรวมและเศรษฐกิจของจีนจนไม่มีใครกล้าทาอะไร เพราะ 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. กลัวถูกจับตามอง และเพื่อต้องการให้การปฏิรูปในครั้งนี้เปลี่ยนแปลงระบบข้าราชการ ของจีนให้เป็นระบบที่รับใช้ประชาชนอย่างแท้จริง 2.2 สร้างระบบควบคุมราคาต้นทุนปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นธรรม และ ส่งเสริมความก้าวหน้าในบางสาขาอุตสาหกรรม สร้างระบบควบคุมราคาต้นทุนปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตร อาทิ ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ และ ลดการเก็บภาษีสินค้าการเกษตร ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 2.3 เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมแขนงใหม่ที่มีความสาคัญในเชิงยุทธศาสตร์ และเพิ่มขีด ความสามารถของสินค้าในการแข่งขันกับเวทีโลก ประเด็นนี้จะมีความคล้ายคลึงกับแผนฯ 12 โดยจะเน้นอุตสาหกรรมสาขาใหม่ที่มี ความสาคัญในเชิงยุทธศาสตร์ประมาณ 7 สาขา ได้แก่ พลังงาน ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ วัสดุ การผลิตชั้นสูง เทคโนโลยีชีวภาพ 2.4 ผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจแบบการรวมกลุ่มในเขตพื้นที่หรือ Cluster เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแข่งขันในระดับโลก และทาลายกาแพงของแต่ละพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่นามาใช้ในช่วงแรกๆ คือการกระจายความเจริญไปทีละเมือง เป็นจุดๆ โดยการเปิดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ต่อมาจะค่อยๆเชื่อมเมืองต่างๆให้กลายเป็นกลุ่มก้อน ทางเศรษฐกิจเดียวกัน ยกตัวอย่าง แนวคิด “สองเส้นทางหนึ่งสาย” คือแนวคิดเชื่อมโยงและพัฒนาเมืองทั้งสองฟาก ฝั่งของแม่น้าแยงซีเกียง ตั้งแต่ทางฝั่งตะวันตก ฉงชิ่ง เสฉวน จนไปถึงอีกฝั่งหนึ่งคือทางฝั่ง ตะวันออก ให้เป็นเส้นทางทางเศรษฐกิจ 1 สาย นอกเหนือจากนี้ ยังมีโครงการขนาดใหญ่ระดับนานาชาติที่น่าสนใจ คือ “เส้นทางเศรษฐกิจสายไหมทางบกในศตวรรษที่ 21” โดยจะเริ่มต้นจากจีนไป ยังเอเชียกลาง เข้าไปจนถึงยุโรป เรียก Ouya (欧亚) “เส้นทางสายไหมทางทะเลในศตวรรษที่ 21” โดยเชื่อมเส้นทางทางทะเลตั้งแต่ จีนไปจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามทางมหาสมุทรอินเดียไปยังแอฟริกา จนถึงยุโรป ปลายทาง โครงการเส้นทางสายไหมทางทะเลนี้น่าจะมีนัยยะสาคัญต่อประเทศไทยโดยตรง เนื่องจาก ตั้งแต่สมัยโบราณ ทาเลที่ตั้งของไทยถือว่าเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สาคัญ ไม่ว่าจีน จะไปยุโรป แอฟริกา หรือที่ไหน ก็ต้องผ่านไทยโดยตรง ซึ่งอยู่ที่ว่าทั้งสองประเทศทั้งไทย และจีนจะกาหนดบทบาทและยุทธศาสตร์อย่างไร ให้สอดคล้องกันเพื่อประโยชน์สูงสุดของ ทั้งสองฝ่าย 5 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 6. 2.5 ปฏิรูปและเสริมสร้างระบบสวัสดิการ กิจการทางสังคมที่เป็นธรรม การสร้างหลักประกันทางสังคมต่างๆ ได้แก่ การจ้างงาน การศึกษา การ รักษาพยาบาล การกระจายรายได้และประกันสังคม ให้มีความเป็นธรรม เพราะที่ผ่านมามี เสียงสะท้อนกลับว่าประชาชนบางกลุ่มยังไม่ได้รับผลประโยชน์จากการปฏิรูปเศรษฐกิจ นับตั้งแต่การเปิดประเทศเป็นต้นมาเท่าที่ควร ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าทุกวันนี้จีนเป็นประเทศที่ ยิ่งใหญ่ มั่งคั่ง และมีอานาจมาก แต่ก็ยังคงมีประชาชนที่ยากจนอยู่พอสมควร ดังนั้น จึง นามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงแนวคิด จากแนวคิดเดิมที่มีเป้าหมายหลักคือการพัฒนาเพื่อความ มั่งคั่งของประเทศ ซึ่งยากที่จะครอบคลุมถึงทุกคนในสังคม จึงมีเพียงคนบางส่วนที่มั่งคั่ง และยังมีคนอีกบางส่วนที่ยังไม่ได้รับผลประโยชน์เท่าที่ควร เมื่อวันนี้ประเทศชาติมั่งคั่งแล้ว จึงหันมากระจายความเท่าเทียมให้เกิดขึ้นในสังคม โดยใช้คาว่า “น้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ ต่า”คือ จากความมั่งคั่งของประเทศซึ่งหมายถึงส่วนรวม พัดพาความมั่งคั่งไหลไปสู่ปัจเจก บุคคล นั่นก็คือประชาชนที่เป็นองค์ประกอบหลักของชาตินั่นเอง ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง การพัฒนาในแต่ละภูมิภาคของจีน เราจะเห็นได้ว่าในแถบภาคตะวันออกของจีน จะพัฒนา ล้าหน้ากว่าทางภาคตะวันตก อันเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่ติดทะเล ทั้งนี้และ ทั้งนั้น ตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 จีนมีนโยบายเริ่มบุกเบิกทางภาคตะวันตกมากขึ้น อาทิ ฉงชิ่ง เสฉวน ดังแนวคิด “สองเส้นทางหนึ่งสาย” ที่ได้กล่าวไปข้างต้น 3. การจัดการความสัมพันธ์เพื่อบรรลุเป้าหมายในแผนฯ 13 อย่างไรก็ตาม ในการทาให้แผนฯ13 บรรลุวัตถุประสงค์และบรรลุเป้าหมาย จะต้องอยู่บน พื้นฐานของการจัดการความสัมพันธ์ของทั้ง 3 คู่ให้ดี ได้แก่  คู่ที่ 1 การพัฒนากับความมั่นคั่ง จากที่กล่าวมาในหัวข้อที่แล้ว เราจะเห็นได้ว่าขณะที่การพัฒนาของจีน รุดหน้าไปอย่าง รวดเร็ว แต่ประชาชนยังไม่ได้รับผลประโยชน์เท่าที่ควร จึงนามาซึ่งการจัดการความสัมพันธ์กัน ระหว่างการพัฒนาความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศ ให้สมดุลกับผลประโยชน์และความมั่งคั่ง ของประชาชนด้วย ในที่นี้ขอยกตัวอย่าง ยุทธศาสตร์การสร้างเมืองขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อย คือ การสร้างเมืองอีกหนึ่งระดับขึ้นมาเพื่อเชื่อมระหว่างชนบทกับเมืองขนาดกลางและเมือง ขนาดย่อย ซึ่งจะทาให้คนชนบทไม่ต้องอพยพเข้าไปในเมืองขนาดใหญ่เพื่อหาความเจริญอย่าง ที่เคยเป็นมา จนทาให้เกิดความไม่สมดุลของจานวนประชากรกับพื้นที่ และทั้งเมืองขนาดใหญ่ จะได้ไม่ต้องขยายตัวมากจนยากต่อการจัดการ การสร้างเมืองหลากหลายขนาดในหลากหลายพื้นที่ ยังเป็นการกระจายและพัฒนา ความเจริญออกไป โดยไม่ปล่อยให้กระจุกตัวอยู่แค่ในเมืองใหญ่ๆอย่างเช่น เซี่ยงไฮ้ เท่านั้น ยกตัวอย่าง การกระจายและพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา การสาธารณสุข และสวัสดิการ 6 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 7. สังคมต่างๆ ในการสร้างเมืองดังกล่าวจะต้องใช้งบประมาณในการลงทุน จึงส่งผลให้เกิดการ กระตุ้นและการขยายตัวทางเศรษฐกิจไปในอีกทางหนึ่ง  คู่ที่ 2 อัตราการเจริญเติบโตที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วกับผลสาเร็จทางคุณภาพ ภายหลังการเปิดประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน เกิดการพัฒนาที่รวดเร็วเป็น อย่างมาก ตลอดสามสิบถึงสี่สิบปีที่ผ่านมา ในขณะเดียวกัน ได้เกิดปัญหาที่ตามมาอีกเป็น จานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเหลื่อมล้าทางสังคม จึงถูกมองว่า เป็นการพัฒนาในเชิงปริมาณมากกว่าคุณภาพที่จะได้รับ เพราะฉะนั้นสิ่งที่แผนฯ13 นี้จะต้อง เน้นให้มากขึ้น คือการรักษาสัดส่วนระหว่างการลงทุน การบริโภค การส่งออก และการนาเข้า ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้ได้มาซึ่งการพัฒนาที่มีคุณภาพ ได้ผลสาเร็จทั้งด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม  คู่ที่ 3 เศรษฐกิจ สังคมกับธรรมชาติ จากที่กล่าวมาทั้งหมด เราจะเห็นได้ว่า ภายหลังการเปิดประเทศตลอด 30-40 ปีที่ ผ่านมานี้ จีนได้พัฒนาประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ทรัพยากรต่างๆก็ถูกนามาใช้อย่างสิ้นเปลือง เช่นกัน นอกเหนือจากนี้ ถึงแม้อัตราความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีของจีน จะเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังมีบางสิ่งที่กลับสวนทางกัน นั่นก็คือ จิตใจของคนในสังคม ดังนั้น จึงนามาซึ่งการจัดการความสัมพันธ์ของหลักการทางเศรษฐกิจ หลักการทางสังคม และ หลักการทางธรรมชาติให้สมดุลกัน หลักการทางเศรษฐกิจ หมายถึง หลักการพัฒนาเศรษฐกิจในแนวทางลัทธิ มากซ์และระบอบทุนนิยม หลักการทางสังคม หมายถึง แนวความคิดแบบปรัชญาจีน อาทิ ลัทธิขงจื๊อ หลักการทางธรรมชาติ หมายถึง การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ อาทิ การรักษา สิ่งแวดล้อม ไม่ทาลายธรรมชาติ เป็นต้น ยกตัวอย่าง การรักษาความสัมพันธ์ในการดาเนินเศรษฐกิจให้มีประสิทธิภาพและ เหมาะสม ไม่เบียดเบียนธรรมชาติและทาลายสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ต้องควบคู่ไปกับการยกระดับ และขัดเกลาจิตใจของคนในสังคม ดังคากล่าวของผู้นาจีนว่า “ต้องจับมือทั้ง 2 ข้าง (两手抓)” คือ มือข้างหนึ่งจับวัตถุ ในขณะเดียวกันอีกข้างหนึ่งก็ต้องไม่ละทิ้งออกจากจิตใจ ดังนั้น ในการจัดการความสัมพันธ์ของทั้งสามสิ่ง คือ การปรับปรุง ดัดแปลง และ คัดเลือก หลักการที่สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด และ สอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะนั้น ยกตัวอย่าง การใช้ระบอบทุนนิยมแบบผสมผสานกับ แนวทางลัทธิมากซ์ โดยมีระบอบการบริหารงานทางเศรษฐกิจชนิดวางแผนจากส่วนกลาง (Central Planning) 7 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 8. 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเชิงพื้นที่ นอกจากมีการทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับประเทศแล้ว จีนยังจัดทาแผนฯของแต่ ละพื้นที่ด้วย อาทิ มณฑล เมือง เป็นต้น โดยแผนดังกล่าวจะต้องมีเนื้อหาที่ล้อไปกับแผนฯใหญ่ ใน ขณะเดียวกัน ก็ต้องคานึงถึงมิติเชิงพื้นที่ โดยจะต้องจัดทาให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ของแต่ละพื้นที่ ด้วย หากไทยต้องการวางยุทธศาสตร์ ทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนกับทางใต้ของจีน เช่น ยูนนาน ก็ จะต้องไปศึกษาแผนฯของมณฑลยูนนานด้วย 5. สรุปและข้อเสนอแนะ จากที่กล่าวมาทั้งหมด เราจะเห็นได้ถึงกระบวนการในการจัดทาแผนฯที่เป็นระบบ เอาจริงเอา จัง มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน มีการประเมินผลตลอดระยะเวลาในการนาแผนฯมาปฏิบัติ เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชนสามารถคาดคะเนระยะเวลาที่เหลือ และเตรียมตัววางแผนเพื่อเร่งรัดสู่การบรรลุ เป้าหมายได้อย่างทันเวลาร่วมกัน อีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข้อมูลการจัดทาแผนฯในทุกขั้นตอนสู่ สาธารณชนอย่างเป็นระยะ ยกตัวอย่าง การเผยแพร่ Blue Book ในทุกปี และการรายผลการจัดทาแผน ฯต่อที่ประชุมสภา เป็นต้น การศึกษาการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่าเป็น ประโยชน์ต่อแนวทางในการจัดทาแผนฯของไทยเป็นอย่างมาก นอกเหนือจากนี้ ไทยควรรู้ว่าจีนจะ ดาเนินนโยบายและยุทธศาสตร์ไปในทิศทางใด เพื่อปรับตัวและกาหนดยุทธศาสตร์ของตนเองให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจีน ทั้งนี้เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของทั้งสองฝ่าย อาทิ การเพิ่มและให้ น้าหนักยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น ******************************************** ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.หลี่ เหรินเหลียง ศาสตราจารย์ ดร. ชลธิรา สัตยาวัฒนา ศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ สุขสาราญ รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ อาจารย์ พิรุณ ฉัตรวนิชกุล ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์อาจารย์ ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อาจารย์ อัครเดช สุภัคกุล อาจารย์ ศิวพล ละอองสกุล นาย ทนงศักดิ์ วิกุล นาย บุญส่ง ชเลธร นาย เทวินทร์ แซ่แต้ นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล 8 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 9. ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com 9 ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต