SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
1
รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย
อาจารย์พิเศษคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นายเทวินทร์ แซ่แต้
นักศึกษาจีนระดับปริญญาเอก วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
และอดีตประธานสมาคมนักศึกษาจีนประจาประเทศไทย
ฉบับที่ 6 / 2558
POLICY BRIEF
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจของจีน และประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการ
ปฏิรูป” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพุธที่ 28 ม.ค. 2558 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ
ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบัน
สร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประสบการณ์การปฏิรูป
และประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป
สาธารณรัฐประชาชนจีนนับเป็นประเทศที่น่าจับตามองมากที่สุดประเทศหนึ่งในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะจีนเป็น
ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดของประเทศที่สามารถก้าวข้ามจากความยากจนและล้าหลังมาสู่การเป็นประเทศมหาอานาจได้
ในเวลาเพียงไม่กี่สิบปี จุดเปลี่ยนสาคัญที่ผลักดันให้จีนประสบความสาเร็จได้อย่างงดงามคือนโยบายการปฏิรูป
เศรษฐกิจที่ทาให้โครงสร้างและวิถีทางด้านเศรษฐกิจของจีนเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงอันส่งผลให้ประเทศพัฒนาได้อย่าง
รวดเร็วและทาให้ประชาชนหลายร้อยล้านคนหลุดพ้นจากภาวะความยากจนได้ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของจีนนี้จึง
ถือได้ว่าเป็นมหัศจรรย์ของเศรษฐกิจโลก
1. ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจจีนและการเปิ ดประเทศ
ก่อนเกิดการปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง จีนต้องประสบปัญหาความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจอยู่ไม่
น้อยจากการสูญเสียผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์หลายคนในเวลาไล่เลี่ยกัน ตลอดจนมีการจับกุมกลุ่ม 4 คน (Gang of 4)
ซึ่งเป็นกลุ่มอานาจเดิมจนนาไปสู่การเข้ามาของผู้นาคนใหม่คือเติ้งเสี่ยวผิงพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายครั้งใหญ่
ของจีนโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงนอกจากจะปฏิรูปภายในแล้ว ยังมีการเปิดประเทศเพื่อ
รองรับการเข้ามาของต่างชาติอีกด้วย โดยการอนุมัตินโยบายการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลงประเทศเริ่มต้นอย่างเป็น
ทางการครั้งแรกเมื่อการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ปีที่ 11 ครั้งที่ 3 ปลายปีคริสตศักราช 1978 ทั้งนี้ กระบวนการ
ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้ดังนี้
ทางเศรษฐกิจของจีน
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
1.1 การปฏิรูปภาคเกษตรกรรม
ในระยะแรกของการปฏิรูป จีนมีภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจที่สาคัญเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกร การปฏิรูปจึงเริ่มจากการพัฒนาระบบการรับผิดชอบในครัวเรือน (Household Responsibil-
ity System) โดยส่งเสริมให้เกษตรกรทาสัญญากับรัฐบาล และตกลงกันว่าใน ฤดูกาลหนึ่งจะส่งมอบผลผลิตให้ใน
สัดส่วนเท่าใด ส่วนที่เหลือก็สามารถนาไปจาหน่ายเองได้ นโยบายดังกล่าวทาให้ผลผลิตและรายได้เกษตรกร
ตลอดจนการจ้างงานเพิ่มขึ้นอย่างมากจนเป็นผลต่อเนื่องให้เกิดการขยายกิจการจากเมืองสู่ชนบท (Village and
Township Enterprises) สามารถสร้างความเจริญออกไปยังพื้นที่อื่นเป็นทอดๆ ได้ ระบบการรับผิดชอบในครัวเรือน
นี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจนกระทั่งเกษตรกรรมในระบบคอมมูนแบบเดิมถูกยกเลิกไปโดยปริยายในปีคริสต
ศักราช 1984
2. การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนหลังการปฏิรูป
1.2 การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมและบริการ
การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมเริ่มต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมและบริการในเมืองของผู้ประกอบการส่วนบุคคล ตั้ง
เป็นร้านค้า แผงลอย บริการต่างๆ และต่อมาได้ขยายกิจการสู่การเป็นอุตสาหกรรมโรงงาน เมื่อตลาด
ภาคอุตสาหกรรมของจีนมีขนาดใหญ่ขึ้น รัฐบาลก็เริ่มส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ซึ่งได้รับความสนใจจาก
ประเทศต่างๆ เป็นอย่างมากทั้งฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน ตลอดจนชาติตะวันตก ทั้งนี้เพราะจีนมีข้อได้เปรียบเชิง
เปรียบเทียบหลายประการ ได้แก่ การเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีแรงงานราคาถูก ทรัพยากรราคาถูก จึงดึงดูดการลงทุน
จากต่างชาติได้เป็นอย่างดี ซึ่งในเวลาเดียวกัน จีนก็ได้เริ่มดาเนินการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจด้วยการลดการช่วยเหลือและ
ควบคุมจากภาครัฐในด้านต่างๆ ส่งผลให้รัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพด้านการแข่งขันมากขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนแปลงด้านภาคการเงิน โดยปรับปรุงบทบาทของ People’s Bank of Chi-
na ให้ทาหน้าที่เป็นธนาคารกลางโดยเฉพาะเพื่อรับผิดชอบด้านนโยบายทางการเงิน การควบคุมปริมาณเงินและอัตรา
ดอกเบี้ย อีกทั้งรัฐบาลยังได้ตั้งตลาดหลักทรัพย์ขึ้นที่เมืองเซี่ยงไฮ้และเสิ่นเจิ้น ซึ่งการปฏิรูปด้านการเงินทั้งหมดล้วน
ส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมเติบโตได้อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
1.3 การปฏิรูปด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
รัฐบาลได้ผ่อนคลายการควบคุมและเปิดเสรีมากขึ้นด้วยการให้สิทธิแก่ท้องถิ่นในการค้าขายโดยอิสระ สินค้า
ที่ถูกควบคุมมีจานวนลดลง มีการค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้นจนทาให้การลงทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าไปเป็น
จานวนมาก โดยเฉพาะหลังจากที่จีนเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (World Trade Organization) ในปีคริสต
ศักราช 2001 รัฐบาลจีนจึงสร้างกลไกรองรับและส่งเสริมการลงทุนเหล่านี้โดยการเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 แห่งได้แก่
เสิ่นเจิ้น จูไห่ เซี่ยเหมิน และซ่านโถว และตามมาด้วยการสถาปนา 14 เมืองแถบชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็นประตู
ติดต่อซื้อขายลงทุนกับต่างประเทศ ต่อมาเมื่อเศรษฐกิจภายในเริ่มมั่นคงและประเทศมีความมั่งคั่งด้านการเงิน รัฐบาล
จีนได้ส่งเสริมให้มีการออกไปลงทุนนอกประเทศ (Outward Investment) เพื่อตอบสนองความต้องการขยายตลาด
ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่มีมากขึ้น ในมิติการเงินระหว่างประเทศ รัฐบาลได้ผ่อนคลายกฎระเบียบอัตราแลกเปลี่ยน
เงิน เพิ่มการลงทุนและขยายตลาดหุ้นออกไปต่างประเทศ ตลอดทั้งผลักดันเงินหยวนเข้าสู่ตลาดโลก
 จากประเทศที่ยากจนและล้าหลังสู่การเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก
การปฏิรูปเศรษฐกิจที่ผ่านมา ทาให้ในปัจจุบันจีนมี GDP สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและคาดว่า
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
การปฏิรูปที่เกิดขึ้นตลอด 30 ปีที่ผ่านมามีส่วนสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของจีน
อย่างขนานใหญ่ ระบบเศรษฐกิจแบบปิดได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดกว้าง สัดส่วนภาคการเกษตร
ของจีนลดลงไปมากจากเดิม 40% เหลืออยู่เพียง 10% ในปัจจุบันเท่านั้น ซึ่งสวนทางกับสัดส่วนภาคอุตสาหกรรม
และการบริการที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในแง่โครงสร้างการผลิตและการส่งออกจนทาให้ในขณะนี้จีนเป็นประเทศ
ที่มีมูลค่าการค้ามากที่สุดในโลก นอกจากนี้ ภาคเอกชนยังมีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจากได้
สร้างภาวะเกินดุลการค้าต่อเนื่องและดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติจานวนมหาศาล ด้วยเหตุดังกล่าว จีนจึงสามารถ
สะสมเงินทุนสารองระหว่างประเทศมากที่สุดในโลกซึ่งปัจจุบันมีมูลค่า 4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในอีกด้าน สภาพ
สังคมและความเป็นอยู่ของประชาชนก็ได้เปลี่ยนไปตามโครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นกัน จากสังคมเกษตรเปลี่ยนสู่
สังคมอุตสาหกรรม จากสังคมชนบทเปลี่ยนสู่สังคมเมือง สินค้าและบริการมีให้เลือกหลากหลายพร้อมๆ กับศักยภาพ
การบริโภคของประชาชนที่เพิ่มขึ้น
น่าจะแซงหน้าได้ในอีก 10 ปีข้างหน้า ผลจากการที่เศรษฐกิจขยายตัวประการหนึ่งคือรายได้เฉลี่ยของประชาชนจีน
เพิ่มและมีความเป็นอยู่ดีขึ้นจนสามารถหลุดพ้นจากภาวะความยากจนได้ และอาจกล่าวได้ว่าจีนเป็นประเทศที่
ประชาชนมีอานาจซื้อมากที่สุดในโลกในขณะนี้
3. บทเรียนจากการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน
3.1 ความสาคัญของแนวคิดและแนวทางในการพัฒนา
จีนประสบความสาเร็จในการปฏิรูป ในขณะที่ประเทศอื่นที่มีศักยภาพเทียบเท่าจีนและเริ่มต้นพัฒนา
พร้อมๆ กันกลับยังตามหลังจีนอยู่ไม่น้อย ข้อสังเกตดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าแนวคิดและการดาเนินโยบายมี
ความสาคัญมากต่อการเปลี่ยนแปลงประเทศ หากมีแนวคิดที่ผิดตั้งแต่แรกเริ่ม ความสาเร็จย่อมเกิดขึ้นได้ยาก
3.2 ความสาคัญของการปฏิรูปภาคการเกษตร
จีนเริ่มต้นจากการเป็นประเทศเกษตรกรรมซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรและมีฐานะ
ยากจน การปฏิรูปจึงควรเริ่มต้นจากภาคเกษตรก่อนเป็นอันดับแรกและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนได้รับ
ประโยชน์และหันมาสนับสนุนการปฏิรูป โดยสุดท้ายเมื่อภาคเกษตรเข้มแข็ง การพัฒนาก็จะมีผลต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
ไปยังภาคอื่นๆ จากภาคเกษตร ขยายไปอุตสาหกรรม ขยายไปภาคบริการ ขยายไปการขนส่ง ขยายไปการค้า
ต่างประเทศ ซึ่งสุดท้ายเศรษฐกิจของประเทศก็จะพัฒนาอย่างรอบด้าน
3.3 ความสอดคล้องกันของแนวคิดความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) กับการ
พัฒนาเศรษฐกิจ
ข้อได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของจีนคือ การเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีแรงงานและทรัพยากรราคาถูกเป็น
จานวนมาก การรู้จักใช้ข้อได้เปรียบดังกล่าวมาเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจย่อมส่งเสริมให้ความสาเร็จ
ของการปฏิรูปเห็นผลเร็วและชัดเจนยิ่งขึ้น
3.4 ผลกระทบของการเปิ ดประเทศทางเศรษฐกิจ
การเปิดประเทศอาจส่งผลกระทบต่อสังคมวัฒนธรรมโดยค่านิยมหรือสิ่งที่ไม่ดีจากต่างประเทศอาจเข้ามา
เช่น ความนิยมสินค้าฟุ่มเฟือย แต่หากมองในแง่เศรษฐกิจ ผลดีมีมากกว่าผลเสีย
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
3.5 ความสาคัญทางเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมีผลสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
จีนโชคดีที่ 60 กว่าปีที่ผ่านมาการเมืองภายในค่อนข้างมั่นคง มีเสถียรภาพ ไม่มีสงคราม จึงทาให้การ
ดาเนินการปฏิรูปเป็นไปอย่างราบรื่น
3.6 เมื่อเศรษฐกิจเจริญเติบโตถึงระดับหนึ่งแล้วจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
ปัจจุบันข้อได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของจีนในสมัยก่อนได้หมดไปจากการใช้ทรัพยากรเพื่อการปฏิรูปและ
พัฒนาเศรษฐกิจ จีนจึงต้องปรับนโยบายให้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป
4. การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน: ความคิดของนักเศรษฐศาสตร์จีน 4 คน
“การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน” เป็นหนังสือจีนเล่มสาคัญที่รวบรวมความคิดของนัก
เศรษฐศาสตร์จีนที่มีชื่อเสียงและมีบทบาทต่อการกาหนดทิศทางด้านเศรษฐกิจของจีน 4 คนซึ่งมุมมองต่อการปฏิรูป
เศรษฐกิจจีนของแต่ละคนมีข้อสังเกตที่น่าสนใจ ดังนี้
เฉิงซือเวย สะท้อนมุมมองในเรื่องการคิดค้นระบบใหม่เป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปจีน ซึ่งให้ความสนใจใน
ประเด็นความเป็นธรรมในสังคม โดยการปกครองด้วยกฎหมายถูกใช้มากขึ้นในขณะที่การปกครองโดยยึดตัวบุคคล
หรือผู้นาเป็นหลักลดความสาคัญลงไป นอกจากนี้หลักการประสิทธิภาพกับหลักความยุติธรรมยังถูกนามาใช้ โดย
รัฐบาลจะควบคุมให้การจัดสรรรายได้ครั้งแรกเน้นถึงหลักประสิทธิภาพตามศักยภาพการแข่งขัน แต่การจัดสรร
รายได้ครั้งที่ 2 และ 3 จะเน้นถึงหลักความยุติธรรมเพื่อดูแลกลุ่มคนด้อยโอกาส อีกประเด็นที่ถูกพูดถึงคือด้าน
บทบาทภาครัฐ ซึ่งเน้นไปที่การสร้างสมดุลระหว่างบทบาทของรัฐบาลและกลไกตลาดให้พอดีกัน อีกทั้งยังมีการริเริ่ม
นาหลักการบริหารแบบ Top Design มาใช้เพื่อบูรณาการบทบาทของหน่วยงานส่วนกลางให้มีความหลากหลายและ
ครอบคลุมในภาพรวมมากขึ้น
ลี่อี่หนิง เน้นการคิดค้นเพื่อสร้างข้อได้เปรียบในการพัฒนาและก่อให้เกิดผลประโยชน์ใหม่เพื่อมาทดแทนข้อ
ได้เปรียบเดิมของจีนที่กาลังจะหมดไป โดยผลักดันให้ประเทศเข้าสู่ยุควิศวกร เป็นผู้สร้างสรรค์ ผลิตเทคโนโลยีเป็น
ของตัวเอง จึงต้องส่งเสริมให้พัฒนาประชาชนให้มีความรู้ การศึกษาและมีความสามารถทางเทคโนโลยี
หูจิ้งเหลียน พูดถึงการเดินหน้าปฏิรูปจีนต่อไป สนับสนุนการบริหารแบบ Top Design เน้นให้มีองค์กรที่มี
อานาจเต็มและขึ้นตรงกับส่วนกลาง เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรจากทุกวงการ และสุดท้ายจะต้องมีประชาชนมา
ตรวจสอบความโปร่งใสด้วย
หลินอี้ฟู พูดถึงการกลับมาของเส้นทางอันรุ่งเรืองของประเทศจีน โดยเน้นการพัฒนาคนด้วยการศึกษา ใน
ด้านเศรษฐกิจใช้แนวคิดระบบการปฏิรูป 2 ช่องทาง (Dual Check) ส่งเสริมการแข่งขันในสาขาที่จีนได้เปรียบ และ
5. ข้อเสนอแนะสาหรับการปฏิรูปประเทศไทย
ปัจจุบันประเทศไทยต้องมองไปที่จีนและเรียนรู้จากจีนมากขึ้นเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่
มิเช่นนั้นไทยจะติดอยู่กับกรอบของโลกตะวันตกแต่เพียงอย่างเดียว การจะเรียนรู้จากประเทศอื่นที่ไม่ใช่ตะวันตกจึง
เป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งโดยเฉพาะในปัจจุบันที่ตะวันตกเริ่มถดถอยลง
แนวทางหนึ่งที่ไทยควรยึดจีนเป็นแบบอย่างคือการใช้พื้นที่ในการพัฒนาทั้งทางบกและทางน้าเพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด ตลอดจนสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการใช้พื้นที่อย่างแพร่หลายโดยไม่ยึดติดว่าการพัฒนาจะต้อง
ขึ้นอยู่กับสถาบันเช่น กระทรวง กรมแต่เพียงอย่างเดียว ความสาเร็จของจีนมีจุดเริ่มต้นมาจากการใช้ความได้เปรียบ
เชิงพื้นที่และทรัพยากรนี้เป็นฐานในการพัฒนา ซึ่งไทยยังมีจุดอ่อนสาคัญในการจัดการเรื่องดังกล่าว นอกจากนี้ สิ่ง
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ที่จีนทาคือการปฏิรูปแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ที่ผ่านมาสาหรับประเทศไทยยังไม่อาจเรียกว่าการปฏิวัติหรือปฏิรูปได้
เป็นเพียงการปรับใช้เท่านั้น ดังนั้นการปฏิรูปจึงควรเป็นแบบสมบูรณ์ (Comprehensive) โดยผลักดันให้กฎหมาย
แผน นโยบายบังคับใช้ได้จริงในทางปฏิบัติและไม่ถูกบิดเบือนไปเพื่อวัตถุประสงค์อื่น
*************************************************************************************
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รศ.ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย คุณเทวิน แซ่แต้
คุณสมปอง สงวนบรรพ์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ คุณพิรุณ ฉัตรวนิชกุล
ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา อ.วรศักดิ์มหัทธโนบล อ.ทนงศักดิ์วิกุล
อ.บุญส่ง ชเลธร ดร.อาจยุทธ เนติธนากูล ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์
ดร.หลี่เหรินเหลียง อ.ศิวพล ละอองสกุล อ.สุริยะใส กตะศิลา ดร.พนา สถิตศาสตร์
อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ พันเอกเวชยันต์ ชูดวง นาวาเอกภูมิใจ เลขสุนทรากร
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ:
น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
บันทึกเทปการประชุม: นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559Klangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรSarawuth Noliam
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 

Tendances (16)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชร
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 

Similaire à ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภาครัฐ)

ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนKlangpanya
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561Klangpanya
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranongNithimar Or
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนKlangpanya
 
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี Klangpanya
 

Similaire à ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภาครัฐ) (20)

ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี
จากแร้นแค้นสู่มั่งคั่ง ย้อนมองเศรษฐกิจจีนรอบ 40 ปี
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภาครัฐ)

  • 1. 1 รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย อาจารย์พิเศษคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายเทวินทร์ แซ่แต้ นักศึกษาจีนระดับปริญญาเอก วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และอดีตประธานสมาคมนักศึกษาจีนประจาประเทศไทย ฉบับที่ 6 / 2558 POLICY BRIEF วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจของจีน และประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการ ปฏิรูป” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพุธที่ 28 ม.ค. 2558 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบัน สร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประสบการณ์การปฏิรูป และประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป สาธารณรัฐประชาชนจีนนับเป็นประเทศที่น่าจับตามองมากที่สุดประเทศหนึ่งในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะจีนเป็น ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดของประเทศที่สามารถก้าวข้ามจากความยากจนและล้าหลังมาสู่การเป็นประเทศมหาอานาจได้ ในเวลาเพียงไม่กี่สิบปี จุดเปลี่ยนสาคัญที่ผลักดันให้จีนประสบความสาเร็จได้อย่างงดงามคือนโยบายการปฏิรูป เศรษฐกิจที่ทาให้โครงสร้างและวิถีทางด้านเศรษฐกิจของจีนเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงอันส่งผลให้ประเทศพัฒนาได้อย่าง รวดเร็วและทาให้ประชาชนหลายร้อยล้านคนหลุดพ้นจากภาวะความยากจนได้ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของจีนนี้จึง ถือได้ว่าเป็นมหัศจรรย์ของเศรษฐกิจโลก 1. ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจจีนและการเปิ ดประเทศ ก่อนเกิดการปฏิรูปประเทศอย่างจริงจัง จีนต้องประสบปัญหาความมั่นคงทางการเมืองและเศรษฐกิจอยู่ไม่ น้อยจากการสูญเสียผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์หลายคนในเวลาไล่เลี่ยกัน ตลอดจนมีการจับกุมกลุ่ม 4 คน (Gang of 4) ซึ่งเป็นกลุ่มอานาจเดิมจนนาไปสู่การเข้ามาของผู้นาคนใหม่คือเติ้งเสี่ยวผิงพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายครั้งใหญ่ ของจีนโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงนอกจากจะปฏิรูปภายในแล้ว ยังมีการเปิดประเทศเพื่อ รองรับการเข้ามาของต่างชาติอีกด้วย โดยการอนุมัตินโยบายการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลงประเทศเริ่มต้นอย่างเป็น ทางการครั้งแรกเมื่อการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ปีที่ 11 ครั้งที่ 3 ปลายปีคริสตศักราช 1978 ทั้งนี้ กระบวนการ ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้ดังนี้ ทางเศรษฐกิจของจีน
  • 2. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 1.1 การปฏิรูปภาคเกษตรกรรม ในระยะแรกของการปฏิรูป จีนมีภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจที่สาคัญเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกร การปฏิรูปจึงเริ่มจากการพัฒนาระบบการรับผิดชอบในครัวเรือน (Household Responsibil- ity System) โดยส่งเสริมให้เกษตรกรทาสัญญากับรัฐบาล และตกลงกันว่าใน ฤดูกาลหนึ่งจะส่งมอบผลผลิตให้ใน สัดส่วนเท่าใด ส่วนที่เหลือก็สามารถนาไปจาหน่ายเองได้ นโยบายดังกล่าวทาให้ผลผลิตและรายได้เกษตรกร ตลอดจนการจ้างงานเพิ่มขึ้นอย่างมากจนเป็นผลต่อเนื่องให้เกิดการขยายกิจการจากเมืองสู่ชนบท (Village and Township Enterprises) สามารถสร้างความเจริญออกไปยังพื้นที่อื่นเป็นทอดๆ ได้ ระบบการรับผิดชอบในครัวเรือน นี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจนกระทั่งเกษตรกรรมในระบบคอมมูนแบบเดิมถูกยกเลิกไปโดยปริยายในปีคริสต ศักราช 1984 2. การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนหลังการปฏิรูป 1.2 การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมและบริการ การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมเริ่มต้นจากธุรกิจอุตสาหกรรมและบริการในเมืองของผู้ประกอบการส่วนบุคคล ตั้ง เป็นร้านค้า แผงลอย บริการต่างๆ และต่อมาได้ขยายกิจการสู่การเป็นอุตสาหกรรมโรงงาน เมื่อตลาด ภาคอุตสาหกรรมของจีนมีขนาดใหญ่ขึ้น รัฐบาลก็เริ่มส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ซึ่งได้รับความสนใจจาก ประเทศต่างๆ เป็นอย่างมากทั้งฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน ตลอดจนชาติตะวันตก ทั้งนี้เพราะจีนมีข้อได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบหลายประการ ได้แก่ การเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีแรงงานราคาถูก ทรัพยากรราคาถูก จึงดึงดูดการลงทุน จากต่างชาติได้เป็นอย่างดี ซึ่งในเวลาเดียวกัน จีนก็ได้เริ่มดาเนินการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจด้วยการลดการช่วยเหลือและ ควบคุมจากภาครัฐในด้านต่างๆ ส่งผลให้รัฐวิสาหกิจมีประสิทธิภาพด้านการแข่งขันมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนแปลงด้านภาคการเงิน โดยปรับปรุงบทบาทของ People’s Bank of Chi- na ให้ทาหน้าที่เป็นธนาคารกลางโดยเฉพาะเพื่อรับผิดชอบด้านนโยบายทางการเงิน การควบคุมปริมาณเงินและอัตรา ดอกเบี้ย อีกทั้งรัฐบาลยังได้ตั้งตลาดหลักทรัพย์ขึ้นที่เมืองเซี่ยงไฮ้และเสิ่นเจิ้น ซึ่งการปฏิรูปด้านการเงินทั้งหมดล้วน ส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมเติบโตได้อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน 1.3 การปฏิรูปด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ รัฐบาลได้ผ่อนคลายการควบคุมและเปิดเสรีมากขึ้นด้วยการให้สิทธิแก่ท้องถิ่นในการค้าขายโดยอิสระ สินค้า ที่ถูกควบคุมมีจานวนลดลง มีการค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้นจนทาให้การลงทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้าไปเป็น จานวนมาก โดยเฉพาะหลังจากที่จีนเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (World Trade Organization) ในปีคริสต ศักราช 2001 รัฐบาลจีนจึงสร้างกลไกรองรับและส่งเสริมการลงทุนเหล่านี้โดยการเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 แห่งได้แก่ เสิ่นเจิ้น จูไห่ เซี่ยเหมิน และซ่านโถว และตามมาด้วยการสถาปนา 14 เมืองแถบชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็นประตู ติดต่อซื้อขายลงทุนกับต่างประเทศ ต่อมาเมื่อเศรษฐกิจภายในเริ่มมั่นคงและประเทศมีความมั่งคั่งด้านการเงิน รัฐบาล จีนได้ส่งเสริมให้มีการออกไปลงทุนนอกประเทศ (Outward Investment) เพื่อตอบสนองความต้องการขยายตลาด ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่มีมากขึ้น ในมิติการเงินระหว่างประเทศ รัฐบาลได้ผ่อนคลายกฎระเบียบอัตราแลกเปลี่ยน เงิน เพิ่มการลงทุนและขยายตลาดหุ้นออกไปต่างประเทศ ตลอดทั้งผลักดันเงินหยวนเข้าสู่ตลาดโลก  จากประเทศที่ยากจนและล้าหลังสู่การเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก การปฏิรูปเศรษฐกิจที่ผ่านมา ทาให้ในปัจจุบันจีนมี GDP สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและคาดว่า
  • 3. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การปฏิรูปที่เกิดขึ้นตลอด 30 ปีที่ผ่านมามีส่วนสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของจีน อย่างขนานใหญ่ ระบบเศรษฐกิจแบบปิดได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดกว้าง สัดส่วนภาคการเกษตร ของจีนลดลงไปมากจากเดิม 40% เหลืออยู่เพียง 10% ในปัจจุบันเท่านั้น ซึ่งสวนทางกับสัดส่วนภาคอุตสาหกรรม และการบริการที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในแง่โครงสร้างการผลิตและการส่งออกจนทาให้ในขณะนี้จีนเป็นประเทศ ที่มีมูลค่าการค้ามากที่สุดในโลก นอกจากนี้ ภาคเอกชนยังมีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจากได้ สร้างภาวะเกินดุลการค้าต่อเนื่องและดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติจานวนมหาศาล ด้วยเหตุดังกล่าว จีนจึงสามารถ สะสมเงินทุนสารองระหว่างประเทศมากที่สุดในโลกซึ่งปัจจุบันมีมูลค่า 4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในอีกด้าน สภาพ สังคมและความเป็นอยู่ของประชาชนก็ได้เปลี่ยนไปตามโครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นกัน จากสังคมเกษตรเปลี่ยนสู่ สังคมอุตสาหกรรม จากสังคมชนบทเปลี่ยนสู่สังคมเมือง สินค้าและบริการมีให้เลือกหลากหลายพร้อมๆ กับศักยภาพ การบริโภคของประชาชนที่เพิ่มขึ้น น่าจะแซงหน้าได้ในอีก 10 ปีข้างหน้า ผลจากการที่เศรษฐกิจขยายตัวประการหนึ่งคือรายได้เฉลี่ยของประชาชนจีน เพิ่มและมีความเป็นอยู่ดีขึ้นจนสามารถหลุดพ้นจากภาวะความยากจนได้ และอาจกล่าวได้ว่าจีนเป็นประเทศที่ ประชาชนมีอานาจซื้อมากที่สุดในโลกในขณะนี้ 3. บทเรียนจากการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน 3.1 ความสาคัญของแนวคิดและแนวทางในการพัฒนา จีนประสบความสาเร็จในการปฏิรูป ในขณะที่ประเทศอื่นที่มีศักยภาพเทียบเท่าจีนและเริ่มต้นพัฒนา พร้อมๆ กันกลับยังตามหลังจีนอยู่ไม่น้อย ข้อสังเกตดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าแนวคิดและการดาเนินโยบายมี ความสาคัญมากต่อการเปลี่ยนแปลงประเทศ หากมีแนวคิดที่ผิดตั้งแต่แรกเริ่ม ความสาเร็จย่อมเกิดขึ้นได้ยาก 3.2 ความสาคัญของการปฏิรูปภาคการเกษตร จีนเริ่มต้นจากการเป็นประเทศเกษตรกรรมซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรและมีฐานะ ยากจน การปฏิรูปจึงควรเริ่มต้นจากภาคเกษตรก่อนเป็นอันดับแรกและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนได้รับ ประโยชน์และหันมาสนับสนุนการปฏิรูป โดยสุดท้ายเมื่อภาคเกษตรเข้มแข็ง การพัฒนาก็จะมีผลต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ไปยังภาคอื่นๆ จากภาคเกษตร ขยายไปอุตสาหกรรม ขยายไปภาคบริการ ขยายไปการขนส่ง ขยายไปการค้า ต่างประเทศ ซึ่งสุดท้ายเศรษฐกิจของประเทศก็จะพัฒนาอย่างรอบด้าน 3.3 ความสอดคล้องกันของแนวคิดความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) กับการ พัฒนาเศรษฐกิจ ข้อได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของจีนคือ การเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีแรงงานและทรัพยากรราคาถูกเป็น จานวนมาก การรู้จักใช้ข้อได้เปรียบดังกล่าวมาเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจย่อมส่งเสริมให้ความสาเร็จ ของการปฏิรูปเห็นผลเร็วและชัดเจนยิ่งขึ้น 3.4 ผลกระทบของการเปิ ดประเทศทางเศรษฐกิจ การเปิดประเทศอาจส่งผลกระทบต่อสังคมวัฒนธรรมโดยค่านิยมหรือสิ่งที่ไม่ดีจากต่างประเทศอาจเข้ามา เช่น ความนิยมสินค้าฟุ่มเฟือย แต่หากมองในแง่เศรษฐกิจ ผลดีมีมากกว่าผลเสีย
  • 4. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4 3.5 ความสาคัญทางเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมีผลสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ จีนโชคดีที่ 60 กว่าปีที่ผ่านมาการเมืองภายในค่อนข้างมั่นคง มีเสถียรภาพ ไม่มีสงคราม จึงทาให้การ ดาเนินการปฏิรูปเป็นไปอย่างราบรื่น 3.6 เมื่อเศรษฐกิจเจริญเติบโตถึงระดับหนึ่งแล้วจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ปัจจุบันข้อได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของจีนในสมัยก่อนได้หมดไปจากการใช้ทรัพยากรเพื่อการปฏิรูปและ พัฒนาเศรษฐกิจ จีนจึงต้องปรับนโยบายให้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป 4. การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน: ความคิดของนักเศรษฐศาสตร์จีน 4 คน “การปฏิรูปคือผลประโยชน์ที่สูงสุดของประเทศจีน” เป็นหนังสือจีนเล่มสาคัญที่รวบรวมความคิดของนัก เศรษฐศาสตร์จีนที่มีชื่อเสียงและมีบทบาทต่อการกาหนดทิศทางด้านเศรษฐกิจของจีน 4 คนซึ่งมุมมองต่อการปฏิรูป เศรษฐกิจจีนของแต่ละคนมีข้อสังเกตที่น่าสนใจ ดังนี้ เฉิงซือเวย สะท้อนมุมมองในเรื่องการคิดค้นระบบใหม่เป็นหัวใจสาคัญในการปฏิรูปจีน ซึ่งให้ความสนใจใน ประเด็นความเป็นธรรมในสังคม โดยการปกครองด้วยกฎหมายถูกใช้มากขึ้นในขณะที่การปกครองโดยยึดตัวบุคคล หรือผู้นาเป็นหลักลดความสาคัญลงไป นอกจากนี้หลักการประสิทธิภาพกับหลักความยุติธรรมยังถูกนามาใช้ โดย รัฐบาลจะควบคุมให้การจัดสรรรายได้ครั้งแรกเน้นถึงหลักประสิทธิภาพตามศักยภาพการแข่งขัน แต่การจัดสรร รายได้ครั้งที่ 2 และ 3 จะเน้นถึงหลักความยุติธรรมเพื่อดูแลกลุ่มคนด้อยโอกาส อีกประเด็นที่ถูกพูดถึงคือด้าน บทบาทภาครัฐ ซึ่งเน้นไปที่การสร้างสมดุลระหว่างบทบาทของรัฐบาลและกลไกตลาดให้พอดีกัน อีกทั้งยังมีการริเริ่ม นาหลักการบริหารแบบ Top Design มาใช้เพื่อบูรณาการบทบาทของหน่วยงานส่วนกลางให้มีความหลากหลายและ ครอบคลุมในภาพรวมมากขึ้น ลี่อี่หนิง เน้นการคิดค้นเพื่อสร้างข้อได้เปรียบในการพัฒนาและก่อให้เกิดผลประโยชน์ใหม่เพื่อมาทดแทนข้อ ได้เปรียบเดิมของจีนที่กาลังจะหมดไป โดยผลักดันให้ประเทศเข้าสู่ยุควิศวกร เป็นผู้สร้างสรรค์ ผลิตเทคโนโลยีเป็น ของตัวเอง จึงต้องส่งเสริมให้พัฒนาประชาชนให้มีความรู้ การศึกษาและมีความสามารถทางเทคโนโลยี หูจิ้งเหลียน พูดถึงการเดินหน้าปฏิรูปจีนต่อไป สนับสนุนการบริหารแบบ Top Design เน้นให้มีองค์กรที่มี อานาจเต็มและขึ้นตรงกับส่วนกลาง เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรจากทุกวงการ และสุดท้ายจะต้องมีประชาชนมา ตรวจสอบความโปร่งใสด้วย หลินอี้ฟู พูดถึงการกลับมาของเส้นทางอันรุ่งเรืองของประเทศจีน โดยเน้นการพัฒนาคนด้วยการศึกษา ใน ด้านเศรษฐกิจใช้แนวคิดระบบการปฏิรูป 2 ช่องทาง (Dual Check) ส่งเสริมการแข่งขันในสาขาที่จีนได้เปรียบ และ 5. ข้อเสนอแนะสาหรับการปฏิรูปประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยต้องมองไปที่จีนและเรียนรู้จากจีนมากขึ้นเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ มิเช่นนั้นไทยจะติดอยู่กับกรอบของโลกตะวันตกแต่เพียงอย่างเดียว การจะเรียนรู้จากประเทศอื่นที่ไม่ใช่ตะวันตกจึง เป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งโดยเฉพาะในปัจจุบันที่ตะวันตกเริ่มถดถอยลง แนวทางหนึ่งที่ไทยควรยึดจีนเป็นแบบอย่างคือการใช้พื้นที่ในการพัฒนาทั้งทางบกและทางน้าเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ตลอดจนสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการใช้พื้นที่อย่างแพร่หลายโดยไม่ยึดติดว่าการพัฒนาจะต้อง ขึ้นอยู่กับสถาบันเช่น กระทรวง กรมแต่เพียงอย่างเดียว ความสาเร็จของจีนมีจุดเริ่มต้นมาจากการใช้ความได้เปรียบ เชิงพื้นที่และทรัพยากรนี้เป็นฐานในการพัฒนา ซึ่งไทยยังมีจุดอ่อนสาคัญในการจัดการเรื่องดังกล่าว นอกจากนี้ สิ่ง
  • 5. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 ที่จีนทาคือการปฏิรูปแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด แต่ที่ผ่านมาสาหรับประเทศไทยยังไม่อาจเรียกว่าการปฏิวัติหรือปฏิรูปได้ เป็นเพียงการปรับใช้เท่านั้น ดังนั้นการปฏิรูปจึงควรเป็นแบบสมบูรณ์ (Comprehensive) โดยผลักดันให้กฎหมาย แผน นโยบายบังคับใช้ได้จริงในทางปฏิบัติและไม่ถูกบิดเบือนไปเพื่อวัตถุประสงค์อื่น ************************************************************************************* ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รศ.ดร.สมศักดิ์แต้มบุญเลิศชัย คุณเทวิน แซ่แต้ คุณสมปอง สงวนบรรพ์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ คุณพิรุณ ฉัตรวนิชกุล ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา อ.วรศักดิ์มหัทธโนบล อ.ทนงศักดิ์วิกุล อ.บุญส่ง ชเลธร ดร.อาจยุทธ เนติธนากูล ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ ดร.หลี่เหรินเหลียง อ.ศิวพล ละอองสกุล อ.สุริยะใส กตะศิลา ดร.พนา สถิตศาสตร์ อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ พันเอกเวชยันต์ ชูดวง นาวาเอกภูมิใจ เลขสุนทรากร
  • 6. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ บันทึกเทปการประชุม: นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064