SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ฉบับที่ 5 / 2559
Policy Brief
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend)
ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและสังคมไทย
โดย
ผศ.ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์
โลกหลายขั้วอานาจที่เอียงข้างเอเชีย กับความท้าทายต่อมนุษย์
หากขนาดฐานประชากรเป็นปัจจัยสาคัญที่จะบ่งบอกศักยภาพผลักดันการเปลี่ยนแปลงทิศทางของโลกใน
อนาคต เราคงได้เห็นความเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจ การศึกษาข้อมูลประชาการของสหประชาชาติเมื่อค.ศ. 2015 เผย
ถึงศักยภาพในอนาคตของ ไนจีเรีย บังคลาเทศ จีน อินโดนีเซีย ปากีสถาน บราซิล เม็กซิโก สหรัฐอเมริกา และ
รัสเซีย1
แต่ฐานประชากรที่หมายถึงพลังแรงงานและฐานภาษีหาใช่ปัจจัยสาคัญหนึ่งเดียวของการแสดงพลังกาหนด
ทิศทางอนาคต การพิจารณาสถานะและศักยภาพทางเศรษฐกิจย่อมไม่อาจเพิกเฉยได้โดยเด็ดขาด ภาพเช่นนี้เองที่มี
ส่วนช่วยผู้วิจัยแสวงหาคาตอบต่อการวิเคราะห์แนวโน้มจากกลุ่มคาถามแรกได้ว่า แนวคิดศตวรรษแห่งชาวเอเชีย
(the Asian Century) ยังคงได้รับการให้ความสาคัญร่วมไปกับความคิดที่ว่า จีนได้รับการจับตามองในฐานะผู้ที่มี
สรุปจาก แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและ
สังคมไทย โดย ผศ.ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาภาพ : http://freedesignfile.com/144525-asia-landmark-building-colored-vector/
1
Economic and Social Affairs, U.N. (2015) World Population Prospects The 2015 Revision: Key Finding and Advance
Tables Retrieved from http://www.esa.un.org/undp/wpp/publications/files/key_finding_wpp_2015.pdf (30/1/2016)
บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก แม้จะเป็นไปท่ามกลางเสียงตั้งคาถามว่า แท้จริงแล้ว เอเชีย หมายถึง
ขอบเขตแค่ใด และศตวรรษแห่งชาวเอเชียอาจไม่จาเป็นต้องหมายถึงแค่เพียงความเด่นนาของชาวจีน
แท้จริงนั้น แนวความคิดที่เอนเอียงมายังโลกตะวันออก ยังครอบคลุมถึงแนวคิดศตวรรษแห่งแปซิฟิก
(the Pacific Century) ศตวรรษแห่งเอเชีย-แปซิฟิก (the Asia-Pacific Century) ที่มีสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และ
ญี่ปุ่น เป็นผู้ร่วมผลักดัน ร่วมกับแนวคิดศตวรรษอินโด-แปซิฟิก (the Indo-Pacific Century) ที่ทาให้อินเดียได้รับ
ความสนใจมากขึ้นในฐานะจุดตัดสาคัญของยูเรเซีย (Eurasia) ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังแอฟริกา และละตินอเมริกา
ได้ ไม่ต่างจากเส้นทางเชื่อมต่อสมัยจักรวรรดินิยม หากแต่ครั้งนี้เป็นการพัดหวนของกระแสลมแห่งบูรพาวิถี
พื้นที่ดังกล่าวยังอยู่ในแนวโอบล้อมของนโยบายที่จีนผลักดันอย่างเข้มข้นนั่นคือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” (One
Belt, One Road) โดยเฉพาะ เส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 (the 21st
Maritime Silk Road) ที่ยิ่งทา
ให้ที่ตั้งภูมิ-ยุทธศาสตร์ (geo-strategic location) ของไทยโดดเด่น
อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจากัดของกรอบการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ และความจากัดของพื้นที่นาเสนอ ทาให้
ผู้วิจัยไม่อาจมุ่งประเด็นมาที่พื้นที่หลักของดินแดนยูเรเซียนี้เพียงอย่างเดียว แม้จะได้เสนอถึงความสาคัญของพื้นที่
ดังกล่าวไว้บ้างแล้ว อาทิ ความสาคัญของ China – Pakistan Economic Corridor (CPEC) ความเชื่อมโยงกับความ
เปลี่ยนแปลงและความเป็นไปของสหภาพยุโรป ความเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน ที่เชื่อมโยง
กับพื้นที่เอเชียกลาง (ควรศึกษาความสาคัญของพื้นที่ดังกล่าวให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นหากได้รับการสนับสนุนต่อไป)
สาหรับการเชื่อมโยงกับสังคมไทยนั้น กล่าวได้ว่า ไทยควรเพิ่มการใช้ประโยชน์และพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตก
โดยเฉพาะชายฝั่ง ให้ไม่เป็นแค่เพียงแหล่งท่องเที่ยว กระชับความสัมพันธ์ (มิใช่แค่เพียงกับอินเดีย) กับอินโดนีเซีย
ให้มากขึ้นกว่าการดาเนินการภายใต้กรอบของอาเซียน ทั้งนี้การดาเนินการดังกล่าวยังอาจช่วยผ่อนคลายแรงตึง
เครียด ต่อกรณีความขัดแย้งภายในพื้นที่ภาคใต้ของไทย
ผู้วิจัยยังพบว่า ดินแดนตะวันตกทั้งสหรัฐอเมริกาและยุโรป-สหภาพยุโรป (European Union: EU)
พยายามรักษาโครงสร้างอานาจแบบเดิมที่ตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาเป็นแกนนา แม้จะมีคาถามต่อความ
แข็งแกร่งของสหรัฐอเมริกา ที่แม้การถือครองพื้นที่ทางเศรษฐกิจระดับโลกจะหดแคบลง แต่ก็ยังเป็นแหล่งดูดซับ
ทรัพยากรบุคคลที่สาคัญต่อการสรรค์สร้างและขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะในมิติของเศรษฐกิจเชิง
สร้างสรรค์(creative economy) ธุรกิจการเงิน-การธนาคาร และการที่เงินดอลลาร์สหรัฐ ยังคงสาคัญอย่างน้อยใน
อีกกึ่งศตวรรษในการกากับทิศทางเศรษฐกิจ-อุตสาหกรรมโลกทุนนิยมที่ค่อยๆ แตกร้าว2
อาจ กล่าวได้ว่า แม้“ศตวรรษแห่งอเมริกันชน” (the American Century) ยากจะหวนคืนแต่ความโดดเด่น
จากการดูดซับทรัพยากรเศรษฐกิจและสังคมก็ยังคงเป็นเครื่องยืนยันถึงพื้นฐานที่ก้าวข้ามได้ไม่ง่ายนัก จากการ
ดาเนินการแนวคิดศตวรรษแห่งอเมริกันชน การทาความเข้าใจสาระของรูปแบบ วิธีการ และพื้นฐานการก่อตัว
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
‘The shake-up of America’s strengths’ (1/10/2015) The Economist Retrieved from http://www.economist.com/blogs/
graphicdetail/2015/10/daily-chart (31/1/2016), ‘Dominant and dangerous’ (3/10/2015) The Economist Retrieved
from http://www.economist.com/news/leaders/21669875-americas-economics-supremacy-fades-primacy-dollar-
looks-unsustainable-dominant-and-dangerous (31/1/2016)
ของแนวคิดดังกล่าว อาจจะเป็นประโยชน์กับสังคมไทย ท่ามกลางกระแสคลื่นลมที่ไทย (ทั้งรัฐไทย
สังคมไทย และอาจรวมถึงคนไทยในระดับปัจเจก) ต้องปรับตัวรักษาสมดุล มิใช่เฉพาะระหว่างตะวันตก
(สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป) กับตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น) แต่อาจรวมถึงการรักษาความสัมพันธ์อัน
สมดุลระหว่าง ตะวันออกด้านแปซิฟิ ก (จีน ญี่ปุ่ น) กับตะวันออกด้านมหาสมุทรอินเดีย (อินเดีย
อินโดนีเซีย) ในการปรับจุดเน้นนโยบายมาที่อาณาบริเวณอินโด-แปซิฟิก ดังกล่าวข้างต้น
ความพยายามของยุโรปปรากฏทั้งการทบทวน และการพยายามแสวงหาหนทางในการแสดง
บทบาทระดับนา ผู้วิจัยพบว่า EU ได้เน้นไปที่เส้นทางแห่งความสาเร็จที่เคยก้าวผ่านมา ในการใช้มิติด้าน
เศรษฐกิจ และการจัดองค์กรบริหารจัดการความแตกต่างก้าวข้ามเส้นพรมแดนทางการเมืองที่มักยึดติดกับ
พื้นภูมิสังคม-วัฒนธรรม ที่ดูจะสัมพันธ์กับชาติพันธุ์เฉพาะ มากกว่าการให้คุณค่ามนุษย์โดยองค์รวม
ความสาเร็จในเส้นทางเช่นนี้เองที่อาจเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการโลกในศตวรรษที่ 21 เพราะ
ความสาเร็จของระบบบรัสเซล เกิดจากการสังเคราะห์ การให้ความสาคัญกับเสรีภาพทางการเมืองบน
พื้นฐานประชาธิปไตย เสถียรภาพ และสวัสดิการทางสังคม จะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เกิด “ศตวรรษชาว
ยุโรปใหม่” (New European Century)3
แม้กระนั้นก็ตาม ยุโรปยังมีข้อจากัดอยู่มากมายทั้งเรื่องของการ
เปลี่ยนแปลงฐานประชากร การรับมือต่อปัญหาผู้อพยพลี้ภัย ท่าทีกังขาของรัฐสมาชิกต่อ บทบาท อานาจ
หน้าที่ ที่ขยายเพิ่มมากขึ้นของบรัสเซลล์ ที่ไม่ต้องรับผิดชอบอันใดต่อฐานเสียงทางการเมือง โดยเฉพาะเมื่อ
ปัญหาต่างๆเหล่านี้ผนวกเข้ากับการยากจะผสานกลมกลืนของกลุ่มวัฒนธรรมอิสลาม4
สาหรับสังคมไทย
แล้ว แม้มิติทางเศรษฐกิจของยุโรปจะยังสาคัญ แต่เราต้องเพิ่มความเข้าใจพื้นฐานสังคม-วัฒนธรรมปัจจุบัน
ที่หลากหลาย ยุโรปจึงไม่ควรจะมีความหมายแค่เพียง EU ตามความคุ้นชินแต่เดิม
การปรับขยายพื้นฐานการศึกษาในสังคมให้ครอบคลุมพื้นที่และมิติที่หลากหลายยิ่งขึ้น เป็น
บทสรุปที่ผู้วิจัยได้จากข้อค้นพบในการศึกษาประเด็นปัญหาในกลุ่มที่สอง ที่มีมนุษย์เป็นตัวตั้ง ทั้งประเด็น
ทางด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ และประเด็นในเรื่องของเทคโนโลยี โดยที่การศึกษาในที่นี้ไม่ควร
เป็นเรื่องของการศึกษาในระบบแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรเพิ่มมิติและวิธีการศึกษาให้หลากหลาย เพื่อการ
ใช้ประโยชน์เทคโนโลยีที่ก้าวล้าอย่างเท่าทัน แนวทางเช่นนี้เสริมด้วยการเพิ่มพื้นที่ทางสังคมทั้งทาง
กายภาพและออนไลน์ อาจช่วยกระตุ้นให้ผู้คนในสังคมได้ทักษะเสริมที่จาเป็นในการทาความเข้าใจความ
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วฉับไวมากขึ้นในศตวรรษที่ 21 เช่นเดียวกับการที่สามารถเป็นช่องทางสาคัญในการ
แสวงหาความรู้ความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่างประเทศดังกล่าวข้างต้น
กล่าวได้ว่า ข้อเสนอต่อสังคมไทยจากภาพรวมการศึกษาวิจัยเบื้องต้นในครั้งนี้ ที่แม้จะเป็นการต่อ
ยอดการวิเคราะห์เนื้อหาจากความพยายามของหน่วยงานที่ปรึกษาข่าวกรองแห่งชาติ (National Intelligence
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
Martin Jacques (19/3/2005) ‘Two cheers for Europe’ The Guardian Retrieved from http://www.theguardian.com/
books/2005/mar/19/highereducation.eu (31/1/2016), John Ross Schroeder (4/5/2005) ‘A Page on the World: Why
Europe Will Run the 21st
Century’ Beyond Today Retrieved from http://www.ucg.org/world/news-and-prophecy/a-
page-of-the-world-why-europe-will-run-the-21st-century (2/2/2016)
4
Soeren Kern (26/2/2007) ‘’Why Europe Won’t Be Running the 21st
Century’ American Thinker Retrieved from http://
www.americanthinker.com/articles/2007/02/why_europe_wont_be_running_the.html (3/2/2016)
Council: NIC) ของสหรัฐอเมริกาที่ทุ่มเทงบประมาณไปไม่น้อยในการระดมสรรพกาลังในการศึกษา
คาดการณ์ และเผยแพร่แนวโน้มโลก (จากการตีความของสหรัฐอเมริกา) อย่างแพร่หลายตั้งแต่ช่วงหลัง
สงครามเย็น จนทาให้เกิดการรับรู้อยู่บ้าง (โดยเฉพาะในสังคมไทย) ถึง “Know Trends” ที่ดารงอยู่และ
แสดงแนวโน้มที่จะสืบเนื่องต่อไปในอนาคต ยังคงอยู่ที่การเสนอภาพกว้างของทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่
อาจส่งผลกระทบต่อสังคมไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก (กลุ่มคาถามแรก) และผลกระทบ
จากความท้าทายต่อความเป็นไปของมนุษย์ (กลุ่มคาถามที่สอง)
การคานึงถึงความสาคัญของภูมิศาสตร์การเมือง และยุทธศาสตร์กายภาพของไทยเป็นที่ตั้ง ทาให้ผู้
ศึกษาวิจัยเน้นย้าถึงอินโด-แปซิฟิกว่าจะเพิ่มความสาคัญขึ้นมากในอนาคต แต่ความรู้ความเข้าใจที่เป็น
ปัจจุบันของไทยต่ออาณาบริเวณดังกล่าว อาจเรียกได้ว่ายังไม่เพียงพอ และมักจะเน้นไปที่บทบาทการ
ปรับตัวเชิงรับ (defensive adjustment) ทั้งต่อเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างสังคมไทยกับสังคมต่างๆใน
อาณาบริเวณดังกล่าว และความสัมพันธ์ตลอดจนความเป็นไประหว่างในพื้นที่เหล่านั้น ไม่ว่าจะมีความ
เกี่ยวข้องโดยตรงกับไทยหรือไม่ก็ตาม แม้งานวิจัยนี้จะยังมิได้นาเสนอให้สังคมไทยมุ่งมองความสาคัญของ
ดินแดนเหล่านี้เป็นอันดับแรก เพราะเนื้อหาการวิเคราะห์อาณาบริเวณเหล่านั้นโดยตรง แต่ภาพการศึกษาใน
อาณาบริเวณที่สังคมไทยคุ้นชินโดยเฉพาะสังคมตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือทาให้เห็นถึงพลัง
ที่อ่อนล้าของดินแดนเหล่านี้ และเป็นไปได้เช่นกันว่า ความอ่อนล้าของดินแดนเหล่านี้ ทาให้อาณาบริเวณ
อินโด-แปซิฟิก อาจดูโชนแสงขึ้นมากโดยเปรียบเทียบ
งานศึกษาวิจัยในครั้งนี้จึงเรียกร้องให้ รัฐไทย สังคมไทย และชาวไทยเพิ่มความสาคัญให้กับ
ดินแดนทางตะวันตกของประเทศที่ชิดใกล้กับอินโด-แปซิฟิก จากแนวโน้มที่อินเดียดูจะเพิ่มความสาคัญ
อย่างยากจะปฏิเสธ รวมถึงเพิ่มความใส่ใจให้มากขึ้นต่อสมาชิกอาเซียนที่เชื่อมโยงกับแนวโน้มดังกล่าว
โดยเฉพาะอินโดนีเซียและเมียนมาร์ ที่เชื่อมโยงกับการโอบล้อมของผืนแผ่นดินใหญ่ยูเรเซีย และนโยบาย
หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (OBOR) จากจีน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ งานวิจัยเบื้องต้นในครั้งนี้เสนอให้สังคมไทย
(โดยเฉพาะผู้มีส่วนกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ) ปรับวิถีคิด (way of thought) ที่อาจจะ
ได้รับการปลูกฝังให้ติดยึดจนยากจะไถ่ถอน (mindset) จากการให้ความสาคัญกับวิถีความเป็นไปของโลกที่
คล้อยตาม และ/หรือตามอย่างตะวันตก ให้หันมามองเห็นและยอมรับความสาคัญของพื้นที่ดังกล่าวมากขึ้น
การวิเคราะห์เนื้อหาในกลุ่มคาถามที่สอง ยังผลักดันให้ผู้วิจัยเสนอให้ผู้คนในสังคมไทยปรับวิถีคิด
(และ/หรือวิถีดารงชีวิต) ที่มองเห็นความสาคัญของการศึกษา ว่ามิใช่เป็นแค่เพียงการไต่บันไดดาราทาง
สังคม หากแต่ยัง(และยิ่ง)เป็นพื้นที่เรียนรู้สาคัญทั้งต่อเรื่องโครงสร้างความสัมพันธ์ในระดับต่างๆ ไปจนถึง
การเป็นพื้นที่สาคัญในการบ่มเพาะคุณสมบัติของการเป็นมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งควรมีทั้งสานึกและ
ความสามารถในการเผชิญรับ (และ/หรือ อาจถึงขั้นตอบโต้) ความท้าทายต่างๆ ที่การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับ
ไวของเทคโนโลยีผลักดันให้ปรากฏอย่างเด่นชัดโดยเฉพาะในยุคสมัยของ Internet of Things (IoT)
4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์
เรียบเรียงและจัดรูปเล่ม : นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและสังคมไทย

Contenu connexe

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและสังคมไทย

  • 1. ฉบับที่ 5 / 2559 Policy Brief วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและสังคมไทย โดย ผศ.ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ โลกหลายขั้วอานาจที่เอียงข้างเอเชีย กับความท้าทายต่อมนุษย์ หากขนาดฐานประชากรเป็นปัจจัยสาคัญที่จะบ่งบอกศักยภาพผลักดันการเปลี่ยนแปลงทิศทางของโลกใน อนาคต เราคงได้เห็นความเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจ การศึกษาข้อมูลประชาการของสหประชาชาติเมื่อค.ศ. 2015 เผย ถึงศักยภาพในอนาคตของ ไนจีเรีย บังคลาเทศ จีน อินโดนีเซีย ปากีสถาน บราซิล เม็กซิโก สหรัฐอเมริกา และ รัสเซีย1 แต่ฐานประชากรที่หมายถึงพลังแรงงานและฐานภาษีหาใช่ปัจจัยสาคัญหนึ่งเดียวของการแสดงพลังกาหนด ทิศทางอนาคต การพิจารณาสถานะและศักยภาพทางเศรษฐกิจย่อมไม่อาจเพิกเฉยได้โดยเด็ดขาด ภาพเช่นนี้เองที่มี ส่วนช่วยผู้วิจัยแสวงหาคาตอบต่อการวิเคราะห์แนวโน้มจากกลุ่มคาถามแรกได้ว่า แนวคิดศตวรรษแห่งชาวเอเชีย (the Asian Century) ยังคงได้รับการให้ความสาคัญร่วมไปกับความคิดที่ว่า จีนได้รับการจับตามองในฐานะผู้ที่มี สรุปจาก แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเป็นไปของประเทศไทยและ สังคมไทย โดย ผศ.ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มาภาพ : http://freedesignfile.com/144525-asia-landmark-building-colored-vector/ 1 Economic and Social Affairs, U.N. (2015) World Population Prospects The 2015 Revision: Key Finding and Advance Tables Retrieved from http://www.esa.un.org/undp/wpp/publications/files/key_finding_wpp_2015.pdf (30/1/2016)
  • 2. บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก แม้จะเป็นไปท่ามกลางเสียงตั้งคาถามว่า แท้จริงแล้ว เอเชีย หมายถึง ขอบเขตแค่ใด และศตวรรษแห่งชาวเอเชียอาจไม่จาเป็นต้องหมายถึงแค่เพียงความเด่นนาของชาวจีน แท้จริงนั้น แนวความคิดที่เอนเอียงมายังโลกตะวันออก ยังครอบคลุมถึงแนวคิดศตวรรษแห่งแปซิฟิก (the Pacific Century) ศตวรรษแห่งเอเชีย-แปซิฟิก (the Asia-Pacific Century) ที่มีสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และ ญี่ปุ่น เป็นผู้ร่วมผลักดัน ร่วมกับแนวคิดศตวรรษอินโด-แปซิฟิก (the Indo-Pacific Century) ที่ทาให้อินเดียได้รับ ความสนใจมากขึ้นในฐานะจุดตัดสาคัญของยูเรเซีย (Eurasia) ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังแอฟริกา และละตินอเมริกา ได้ ไม่ต่างจากเส้นทางเชื่อมต่อสมัยจักรวรรดินิยม หากแต่ครั้งนี้เป็นการพัดหวนของกระแสลมแห่งบูรพาวิถี พื้นที่ดังกล่าวยังอยู่ในแนวโอบล้อมของนโยบายที่จีนผลักดันอย่างเข้มข้นนั่นคือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” (One Belt, One Road) โดยเฉพาะ เส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 (the 21st Maritime Silk Road) ที่ยิ่งทา ให้ที่ตั้งภูมิ-ยุทธศาสตร์ (geo-strategic location) ของไทยโดดเด่น อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจากัดของกรอบการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ และความจากัดของพื้นที่นาเสนอ ทาให้ ผู้วิจัยไม่อาจมุ่งประเด็นมาที่พื้นที่หลักของดินแดนยูเรเซียนี้เพียงอย่างเดียว แม้จะได้เสนอถึงความสาคัญของพื้นที่ ดังกล่าวไว้บ้างแล้ว อาทิ ความสาคัญของ China – Pakistan Economic Corridor (CPEC) ความเชื่อมโยงกับความ เปลี่ยนแปลงและความเป็นไปของสหภาพยุโรป ความเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน ที่เชื่อมโยง กับพื้นที่เอเชียกลาง (ควรศึกษาความสาคัญของพื้นที่ดังกล่าวให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นหากได้รับการสนับสนุนต่อไป) สาหรับการเชื่อมโยงกับสังคมไทยนั้น กล่าวได้ว่า ไทยควรเพิ่มการใช้ประโยชน์และพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตก โดยเฉพาะชายฝั่ง ให้ไม่เป็นแค่เพียงแหล่งท่องเที่ยว กระชับความสัมพันธ์ (มิใช่แค่เพียงกับอินเดีย) กับอินโดนีเซีย ให้มากขึ้นกว่าการดาเนินการภายใต้กรอบของอาเซียน ทั้งนี้การดาเนินการดังกล่าวยังอาจช่วยผ่อนคลายแรงตึง เครียด ต่อกรณีความขัดแย้งภายในพื้นที่ภาคใต้ของไทย ผู้วิจัยยังพบว่า ดินแดนตะวันตกทั้งสหรัฐอเมริกาและยุโรป-สหภาพยุโรป (European Union: EU) พยายามรักษาโครงสร้างอานาจแบบเดิมที่ตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาเป็นแกนนา แม้จะมีคาถามต่อความ แข็งแกร่งของสหรัฐอเมริกา ที่แม้การถือครองพื้นที่ทางเศรษฐกิจระดับโลกจะหดแคบลง แต่ก็ยังเป็นแหล่งดูดซับ ทรัพยากรบุคคลที่สาคัญต่อการสรรค์สร้างและขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะในมิติของเศรษฐกิจเชิง สร้างสรรค์(creative economy) ธุรกิจการเงิน-การธนาคาร และการที่เงินดอลลาร์สหรัฐ ยังคงสาคัญอย่างน้อยใน อีกกึ่งศตวรรษในการกากับทิศทางเศรษฐกิจ-อุตสาหกรรมโลกทุนนิยมที่ค่อยๆ แตกร้าว2 อาจ กล่าวได้ว่า แม้“ศตวรรษแห่งอเมริกันชน” (the American Century) ยากจะหวนคืนแต่ความโดดเด่น จากการดูดซับทรัพยากรเศรษฐกิจและสังคมก็ยังคงเป็นเครื่องยืนยันถึงพื้นฐานที่ก้าวข้ามได้ไม่ง่ายนัก จากการ ดาเนินการแนวคิดศตวรรษแห่งอเมริกันชน การทาความเข้าใจสาระของรูปแบบ วิธีการ และพื้นฐานการก่อตัว 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 ‘The shake-up of America’s strengths’ (1/10/2015) The Economist Retrieved from http://www.economist.com/blogs/ graphicdetail/2015/10/daily-chart (31/1/2016), ‘Dominant and dangerous’ (3/10/2015) The Economist Retrieved from http://www.economist.com/news/leaders/21669875-americas-economics-supremacy-fades-primacy-dollar- looks-unsustainable-dominant-and-dangerous (31/1/2016)
  • 3. ของแนวคิดดังกล่าว อาจจะเป็นประโยชน์กับสังคมไทย ท่ามกลางกระแสคลื่นลมที่ไทย (ทั้งรัฐไทย สังคมไทย และอาจรวมถึงคนไทยในระดับปัจเจก) ต้องปรับตัวรักษาสมดุล มิใช่เฉพาะระหว่างตะวันตก (สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป) กับตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น) แต่อาจรวมถึงการรักษาความสัมพันธ์อัน สมดุลระหว่าง ตะวันออกด้านแปซิฟิ ก (จีน ญี่ปุ่ น) กับตะวันออกด้านมหาสมุทรอินเดีย (อินเดีย อินโดนีเซีย) ในการปรับจุดเน้นนโยบายมาที่อาณาบริเวณอินโด-แปซิฟิก ดังกล่าวข้างต้น ความพยายามของยุโรปปรากฏทั้งการทบทวน และการพยายามแสวงหาหนทางในการแสดง บทบาทระดับนา ผู้วิจัยพบว่า EU ได้เน้นไปที่เส้นทางแห่งความสาเร็จที่เคยก้าวผ่านมา ในการใช้มิติด้าน เศรษฐกิจ และการจัดองค์กรบริหารจัดการความแตกต่างก้าวข้ามเส้นพรมแดนทางการเมืองที่มักยึดติดกับ พื้นภูมิสังคม-วัฒนธรรม ที่ดูจะสัมพันธ์กับชาติพันธุ์เฉพาะ มากกว่าการให้คุณค่ามนุษย์โดยองค์รวม ความสาเร็จในเส้นทางเช่นนี้เองที่อาจเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการโลกในศตวรรษที่ 21 เพราะ ความสาเร็จของระบบบรัสเซล เกิดจากการสังเคราะห์ การให้ความสาคัญกับเสรีภาพทางการเมืองบน พื้นฐานประชาธิปไตย เสถียรภาพ และสวัสดิการทางสังคม จะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เกิด “ศตวรรษชาว ยุโรปใหม่” (New European Century)3 แม้กระนั้นก็ตาม ยุโรปยังมีข้อจากัดอยู่มากมายทั้งเรื่องของการ เปลี่ยนแปลงฐานประชากร การรับมือต่อปัญหาผู้อพยพลี้ภัย ท่าทีกังขาของรัฐสมาชิกต่อ บทบาท อานาจ หน้าที่ ที่ขยายเพิ่มมากขึ้นของบรัสเซลล์ ที่ไม่ต้องรับผิดชอบอันใดต่อฐานเสียงทางการเมือง โดยเฉพาะเมื่อ ปัญหาต่างๆเหล่านี้ผนวกเข้ากับการยากจะผสานกลมกลืนของกลุ่มวัฒนธรรมอิสลาม4 สาหรับสังคมไทย แล้ว แม้มิติทางเศรษฐกิจของยุโรปจะยังสาคัญ แต่เราต้องเพิ่มความเข้าใจพื้นฐานสังคม-วัฒนธรรมปัจจุบัน ที่หลากหลาย ยุโรปจึงไม่ควรจะมีความหมายแค่เพียง EU ตามความคุ้นชินแต่เดิม การปรับขยายพื้นฐานการศึกษาในสังคมให้ครอบคลุมพื้นที่และมิติที่หลากหลายยิ่งขึ้น เป็น บทสรุปที่ผู้วิจัยได้จากข้อค้นพบในการศึกษาประเด็นปัญหาในกลุ่มที่สอง ที่มีมนุษย์เป็นตัวตั้ง ทั้งประเด็น ทางด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ และประเด็นในเรื่องของเทคโนโลยี โดยที่การศึกษาในที่นี้ไม่ควร เป็นเรื่องของการศึกษาในระบบแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรเพิ่มมิติและวิธีการศึกษาให้หลากหลาย เพื่อการ ใช้ประโยชน์เทคโนโลยีที่ก้าวล้าอย่างเท่าทัน แนวทางเช่นนี้เสริมด้วยการเพิ่มพื้นที่ทางสังคมทั้งทาง กายภาพและออนไลน์ อาจช่วยกระตุ้นให้ผู้คนในสังคมได้ทักษะเสริมที่จาเป็นในการทาความเข้าใจความ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วฉับไวมากขึ้นในศตวรรษที่ 21 เช่นเดียวกับการที่สามารถเป็นช่องทางสาคัญในการ แสวงหาความรู้ความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่างประเทศดังกล่าวข้างต้น กล่าวได้ว่า ข้อเสนอต่อสังคมไทยจากภาพรวมการศึกษาวิจัยเบื้องต้นในครั้งนี้ ที่แม้จะเป็นการต่อ ยอดการวิเคราะห์เนื้อหาจากความพยายามของหน่วยงานที่ปรึกษาข่าวกรองแห่งชาติ (National Intelligence 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 Martin Jacques (19/3/2005) ‘Two cheers for Europe’ The Guardian Retrieved from http://www.theguardian.com/ books/2005/mar/19/highereducation.eu (31/1/2016), John Ross Schroeder (4/5/2005) ‘A Page on the World: Why Europe Will Run the 21st Century’ Beyond Today Retrieved from http://www.ucg.org/world/news-and-prophecy/a- page-of-the-world-why-europe-will-run-the-21st-century (2/2/2016) 4 Soeren Kern (26/2/2007) ‘’Why Europe Won’t Be Running the 21st Century’ American Thinker Retrieved from http:// www.americanthinker.com/articles/2007/02/why_europe_wont_be_running_the.html (3/2/2016)
  • 4. Council: NIC) ของสหรัฐอเมริกาที่ทุ่มเทงบประมาณไปไม่น้อยในการระดมสรรพกาลังในการศึกษา คาดการณ์ และเผยแพร่แนวโน้มโลก (จากการตีความของสหรัฐอเมริกา) อย่างแพร่หลายตั้งแต่ช่วงหลัง สงครามเย็น จนทาให้เกิดการรับรู้อยู่บ้าง (โดยเฉพาะในสังคมไทย) ถึง “Know Trends” ที่ดารงอยู่และ แสดงแนวโน้มที่จะสืบเนื่องต่อไปในอนาคต ยังคงอยู่ที่การเสนอภาพกว้างของทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่ อาจส่งผลกระทบต่อสังคมไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก (กลุ่มคาถามแรก) และผลกระทบ จากความท้าทายต่อความเป็นไปของมนุษย์ (กลุ่มคาถามที่สอง) การคานึงถึงความสาคัญของภูมิศาสตร์การเมือง และยุทธศาสตร์กายภาพของไทยเป็นที่ตั้ง ทาให้ผู้ ศึกษาวิจัยเน้นย้าถึงอินโด-แปซิฟิกว่าจะเพิ่มความสาคัญขึ้นมากในอนาคต แต่ความรู้ความเข้าใจที่เป็น ปัจจุบันของไทยต่ออาณาบริเวณดังกล่าว อาจเรียกได้ว่ายังไม่เพียงพอ และมักจะเน้นไปที่บทบาทการ ปรับตัวเชิงรับ (defensive adjustment) ทั้งต่อเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างสังคมไทยกับสังคมต่างๆใน อาณาบริเวณดังกล่าว และความสัมพันธ์ตลอดจนความเป็นไประหว่างในพื้นที่เหล่านั้น ไม่ว่าจะมีความ เกี่ยวข้องโดยตรงกับไทยหรือไม่ก็ตาม แม้งานวิจัยนี้จะยังมิได้นาเสนอให้สังคมไทยมุ่งมองความสาคัญของ ดินแดนเหล่านี้เป็นอันดับแรก เพราะเนื้อหาการวิเคราะห์อาณาบริเวณเหล่านั้นโดยตรง แต่ภาพการศึกษาใน อาณาบริเวณที่สังคมไทยคุ้นชินโดยเฉพาะสังคมตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือทาให้เห็นถึงพลัง ที่อ่อนล้าของดินแดนเหล่านี้ และเป็นไปได้เช่นกันว่า ความอ่อนล้าของดินแดนเหล่านี้ ทาให้อาณาบริเวณ อินโด-แปซิฟิก อาจดูโชนแสงขึ้นมากโดยเปรียบเทียบ งานศึกษาวิจัยในครั้งนี้จึงเรียกร้องให้ รัฐไทย สังคมไทย และชาวไทยเพิ่มความสาคัญให้กับ ดินแดนทางตะวันตกของประเทศที่ชิดใกล้กับอินโด-แปซิฟิก จากแนวโน้มที่อินเดียดูจะเพิ่มความสาคัญ อย่างยากจะปฏิเสธ รวมถึงเพิ่มความใส่ใจให้มากขึ้นต่อสมาชิกอาเซียนที่เชื่อมโยงกับแนวโน้มดังกล่าว โดยเฉพาะอินโดนีเซียและเมียนมาร์ ที่เชื่อมโยงกับการโอบล้อมของผืนแผ่นดินใหญ่ยูเรเซีย และนโยบาย หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (OBOR) จากจีน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ งานวิจัยเบื้องต้นในครั้งนี้เสนอให้สังคมไทย (โดยเฉพาะผู้มีส่วนกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ) ปรับวิถีคิด (way of thought) ที่อาจจะ ได้รับการปลูกฝังให้ติดยึดจนยากจะไถ่ถอน (mindset) จากการให้ความสาคัญกับวิถีความเป็นไปของโลกที่ คล้อยตาม และ/หรือตามอย่างตะวันตก ให้หันมามองเห็นและยอมรับความสาคัญของพื้นที่ดังกล่าวมากขึ้น การวิเคราะห์เนื้อหาในกลุ่มคาถามที่สอง ยังผลักดันให้ผู้วิจัยเสนอให้ผู้คนในสังคมไทยปรับวิถีคิด (และ/หรือวิถีดารงชีวิต) ที่มองเห็นความสาคัญของการศึกษา ว่ามิใช่เป็นแค่เพียงการไต่บันไดดาราทาง สังคม หากแต่ยัง(และยิ่ง)เป็นพื้นที่เรียนรู้สาคัญทั้งต่อเรื่องโครงสร้างความสัมพันธ์ในระดับต่างๆ ไปจนถึง การเป็นพื้นที่สาคัญในการบ่มเพาะคุณสมบัติของการเป็นมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งควรมีทั้งสานึกและ ความสามารถในการเผชิญรับ (และ/หรือ อาจถึงขั้นตอบโต้) ความท้าทายต่างๆ ที่การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับ ไวของเทคโนโลยีผลักดันให้ปรากฏอย่างเด่นชัดโดยเฉพาะในยุคสมัยของ Internet of Things (IoT) 4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ เรียบเรียงและจัดรูปเล่ม : นางสาวปลายฟ้า บุนนาค ปีที่พิมพ์: พฤศจิกายน 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต