SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
1
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ยะลา...เมืองยุคใหม่
กับทิศทางการพัฒนาเมืองเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สิงหาคม 2559
1
บรรยากาศในย่านเมืองเก่าของยะลา
แนวโน้มของโลกในปัจจุบันและอนาคตนั้น พบว่า “เมือง” มีความสาคัญมากขึ้น “ท้องถิ่น” มีความสาคัญมากขึ้น ใน
การพัฒนาบ้านเมืองและประเทศชาติไม่ได้มีแต่ “ชาติ” หรือ “ส่วนกลาง” ถือธงนาคนเดียวอีกต่อไป สถาบันคลังปัญญาด้าน
ยุทธศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้ศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาของเมืองยะลาในปัจจุบันเพื่อก้าวไปสู่การ
เป็นเมืองระดับภูมิภาคที่เชื่อมต่อภูมิภาคโลกมาเลย์ อันได้แก่ คาบสมุทรภาคใต้ตอนล่างของไทย ประเทศมาเลเซีย
อินโดนีเซีย สิงคโปร์และฟิลิปปินส์
ยะลา เป็นหนึ่งในเมืองที่มีบทบาทโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในด้านการพัฒนาเมือง แม้จะต้องเผชิญกับอุปสรรค
หลายประการที่ฉุดรั้ง ไม่ว่าจากความท้าทายทางเศรษฐกิจของเมือง อันเป็นผลจากบริบทของเมืองและของภูมิภาคเองที่
เปลี่ยนแปลงไป และผลกระทบจากความไม่สงบในสามจังหวัดภาคใต้ในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา กระนั้น ยะลาในวันนี้ก็ไม่
หยุดที่จะพัฒนาตนเองไปข้างหน้า โดยกรอบคิดหนึ่งในการพัฒนาเมืองของยะลาคือ การเชื่อมตนเองให้เป็นส่วนหนึ่ง
ของภูมิภาคมากขึ้น โดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว ภาษา การศึกษา และวัฒนธรรม โดย
อาศัยการเปลี่ยนมุมมองจากการมองยะลาในฐานะเมืองชายแดนของไทยที่ห่างไกลศูนย์กลางคือกรุงเทพฯ หันมาเห็นว่า
ยะลาใกล้กับทางมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ซึ่งมีกาลังทางเศรษฐกิจสูง และจะเติบโตไปได้อีกมาก ซึ่งยะลามี
ทุนเดิมทางที่ตั้ง และภาษาวัฒนธรรม สายใยของผู้คนใกล้ชิดอยู่แล้ว สามารถพัฒนาตัวเองไปสู่การเป็นเมืองระดับภูมิภาค
ได้ในประเด็นที่สาคัญ ดังนี้
_________________________________________________________
*สรุปจากการลงพื้นที่ จ.ยะลา ระหว่างวันที่ 13-15 ก.ค. 2559 ของสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติและศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และจากการประชุมระดมสมอง เรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของภูมิภาค ร่วมกับเทศบาล
นครยะลา เมื่อวันพุธที่ 13 ก.ค. 2559 ณ ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา อ.เมือง จ.ยะลา
2
การเชื่อมโยงด้านภาษา การพัฒนาคน และสังคมพหุวัฒนธรรม
ลูกค้าชาวมุสลิมในร้านทองของชาวไทยเชื้อสายจีนในเมืองยะลา
เอกลักษณ์หนึ่งของยะลาคือเป็นเมืองที่ผู้คนอยู่กันอย่างสังคมพหุวัฒนธรรม ผู้คนหลากเชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรม อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขมาช้านาน ทั้งคนไทย คนจีน คนมลายู ทั้งชาวพุทธและมุสลิม ดังนั้น นอกเหนือจาก
เชื่อมต่อทางกายภาพ ทางโครงสร้างการคมนาคมแล้ว ยะลาจึงมีศักยภาพที่จะเชื่อมต่อกับภูมิภาคอาเซียนทางทะเล กับ
คนจีนและมลายู ในมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านต้นทุนทางวัฒนธรรมนี้ด้วย
ข้อที่ชัดเจนข้อหนึ่ง คือ เรื่องภาษาในเมืองยะลา กล่าวได้ว่ายะลาเป็นเมือง “สี่ภาษา” อย่างแท้จริง เพราะใครไป
เยือนยะลาจะพบว่ามีการใช้ภาษาไทย จีน มลายู และอังกฤษ เป็นปกติทั่วไปในเมือง ที่ชัดเจนที่สุดคือ ป้ายชื่อถนนในตัว
เมืองจะเขียนด้วยอักษรสี่ภาษานี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมของคนยะลาเอง และเป็นพื้นฐานความ
เป็น “อินเตอร์” ที่เชื่อมโยงกับคนในภูมิภาคอาเซียนตอนใต้ได้ นอกจากนี้ ยังแสดงให้เห็นด้วยว่าผู้บริหารเมืองยะลามี
ความตระหนักและได้ชูความสาคัญของเรื่องพหุวัฒนธรรมทางภาษาขึ้นมาเป็นเวลานานก่อนที่กระแสอาเซียนนิยมจะ
เฟื่องฟูขึ้นมาในระยะหลังนี้ด้วย
อีกข้อหนึ่งที่เป็นเอกลักษณ์ทาให้เมืองยะลาต่างจากเมืองอื่นๆ ในประเทศไทย คือมีต้นทุนเรื่องวัฒนธรรมมลายู
ซึ่งผู้บริหารเมืองคือเทศบาลนครยะลาก็ได้ตระหนักและมีโครงการจะดึงต้นทุนนี้มาใช้ประโยชน์ โดยการจัดงาน “มลายู
เดย์” เป็นเทศกาลทางวัฒนธรรมของมลายู โดยจะขยายไปจับมือกับประเทศที่อยู่ใน “โลกมลายู (Malay World)” ใน
เบื้องต้นคือบรูไนและฟิลิปปินส์ โดยมีเป้าหมายสาคัญคือชูจุดแข็งทางวัฒนธรรมมลายูของเมืองเพื่อเปลี่ยนภาพลักษณ์
(Re-Image) ของเมืองยะลาในสายตาคนภายนอก
3
การเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์แห่งหนึ่ง นามาสู่แนวคิดการสร้างคนยะลาให้เป็นเอกลักษณ์เช่นกัน
เพราะการพัฒนาเมืองในระยะยาวที่สุดก็คือการสร้างคน ซึ่งส่วนสาคัญที่สุดก็คือ การศึกษา ในอดีตนั้นยะลาเป็นมีชื่อเสียง
ว่าเป็นเมือง “ตักศิลา” ศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ แต่ก็ยังเป็นการจัดการศึกษาตามแบบของชาติ แต่วันนี้ทิศทางการ
พัฒนาการศึกษาของยะลาคือการชู “การศึกษาแบบยะลา” อันหมายถึงการศึกษาที่เน้นอัตลักษณ์ท้องถิ่น สร้างให้คน
ยะลาเป็นคนของท้องถิ่น เป็นคนยะลา เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องยะลามากที่สุด เช่น รู้สี่ภาษา เพื่อเชื่อมโยงติดต่อกับเพื่อน
บ้านในภูมิภาค รู้จักของดีของยะลาให้ลึกซึ้งที่สุด เช่น การจัดวางผังเมืองที่สะอาดเป็นระเบียบ วัฒนธรรมมลายู สังคมพหุ
วัฒนธรรม และธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นต้น
การพัฒนายะลาให้เป็นเมืองศึกษาดูงานของโลกด้าน Harmonized City
วิธีของชาวยะลาในการปรับภูมิทัศน์เมืองให้สดใสด้วยการทาสีอาคาร
หนึ่งในแนวคิดเพื่อการปรับภาพลักษณ์เมืองของเทศบาลนครยะลา คือการชูเมืองยะลาให้เป็นเมือง Harmonized
City เมืองที่คนหลากหลายวัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข และไม่เฉพาะการอยู่ร่วมกันระหว่าง
คน แต่หมายถึงการอยู่ร่วมกันได้อย่างดีระหว่างคนกับธรรมชาติด้วย เพราะยะลายังมีเอกลักษณ์สาคัญอีกอย่างคือ มี
สิ่งแวดล้อมที่ดี ทั้งสภาพแวดล้อมในเมืองและธรรมชาติอันบริสุทธิ์และอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าบาลาฮาลา ผู้บริหารเมือง
ยะลาจึงตระหนักว่า ในขณะที่ทุกวันนี้ โลกมีวิกฤตของการอยู่ร่วมกันทั่วไปหมด ทั้งในยุโรป ตะวันออกกลาง
สหรัฐอเมริกาก็ดี กาลังเผชิญความขัดแย้งไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา หรือสีผิว แต่ยะลากาลังจะก้าวข้ามความขัดแย้ง
ยะลากาลังดีขึ้น ดังนั้น จากเมื่อก่อนยะลาที่เป็นเมืองดูงานเรื่องเมืองสะอาด ผังเมืองเป็นระเบียบเรียบร้อย วันนี้ยะลา
สามารถต่อยอดให้เป็นเมืองดูงานด้านการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข (Harmonized City) เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส โดยเอา
4
ประสบการณ์ที่ยะลาผ่านความไม่สงบมากว่าสิบปี แต่คนในเมืองยังอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข มาเป็นถ่ายทอดให้เมือง
อื่นๆ ในโลกมาศึกษาดูงานได้ ในลักษณะเดียวกับที่เมืองกว่างโจว ของจีนซึ่งเคยมีการลุกฮือของนักศึกษา แต่วันนี้
กลายเป็นเมืองที่จัดประชุมเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นประจาทุกปี หรือเมืองอาเจะห์ที่เมื่อก่อนเคยรู้จักกันว่าเป็นพื้นที่สู้รบ
แบ่งแยกระหว่างกลุ่มเรียกร้องเอกราชกับรัฐบาลอินโดนีเซียมาหลายทศวรรษ แต่หลังจากบรรลุข้อตกลงสันติภาพกับ
รัฐบาล วันนี้กลายเป็นที่ศึกษาดูงานของทั่วโลกในเรื่องการสร้างสันติภาพ เป็นต้น
การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคมขนส่ง
บรรยากาศถนนใน จ.ยะลา
ในอดีตราว 50-60 ปีก่อน ยะลาคือศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของสามจังหวัดภาคใต้ เพราะเป็นเมืองเดียวใน
สามจังหวัดที่มีรถไฟจากกรุงเทพฯ วิ่งเข้าถึงใจกลางเมือง จึงเป็น Logistic hub ที่สินค้าและผู้คนจากกรุงเทพฯ และภาค
อื่นๆ ที่จะมายังสามจังหวัดต้องมาลงก่อนจะกระจายไปสู่ที่อื่น การเป็นศูนย์กลางทางคมนาคมของภูมิภาคทาให้เมือง
ยะลาเป็นศูนย์กลางในด้านอื่นๆ เช่น การศึกษา การปกครอง ในยุคนั้นไปด้วย แต่ปัจจุบันรูปแบบการคมนาคมที่
เปลี่ยนไป ที่สาคัญคือการตัดถนนตรงเข้าสู่จังหวัดต่างๆ โดยตรง และการเฟื่องฟูขึ้น (ในระยะไม่นานมานี้) ของสายการ
บินต้นทุนต่า ทาให้ทางรถไฟของยะลาเสื่อมความสาคัญลง เช่นเดียวกับฐานะความเป็นศูนย์กลางในด้านต่างๆ ที่กล่าว
มาของเมือง เศรษฐกิจของยะลาในวันนี้จึงซบเซาลง
ปัจจุบัน ผู้บริหารเมืองยะลา นาโดยเทศบาลนครยะลา จึงมีแนวคิดที่จะฟื้นเมืองยะลาให้กลับมาคึกคัก เป็น
ศูนย์กลางการคมนาคมอีกครั้ง แต่ในครั้งนี้เป้าหมายของการเชื่อมต่อหลักไม่ใช่กรุงเทพ แต่คือ ภูมิภาคอาเซียนตอนใต้
หรืออาเซียนทางทะเล (Maritime ASEAN) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางความเจริญใหม่ในยุคบูรพาภิวัตน์ อันประกอบด้วย
ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านแนวคิดในสองโครงการสาคัญ ดังนี้
5
1) แนวคิดโครงการสร้างเส้นทางยะลา - เบตง ด้วยการตัดถนนและอุโมงค์เพื่อร่นระยะเวลาเดินทาง เพราะ
ข้อได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์ของยะลาคือเป็นเมืองชายแดน แต่ยะลามีลักษณะพิเศษคือ ชายแดนที่คึกคักทางการค้า
และการท่องเที่ยวไปอยู่ที่ อ.เบตง แต่เบตงนั้นเหมือนว่าไม่เชื่อมกับยะลา เพราะห่างกันราว 140 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา
กว่าสองชั่วโมงในการเดินทาง เพราะถนนคดเคี้ยวไปตามแนวสันเขา ดังนั้น เทศบาลนครยะลาจึงเสนอให้ลดระยะเวลา
การเดินทางลงครึ่งหนึ่ง เหลือราวหนึ่งชั่วโมง ด้วยการทาถนนสี่ช่องจราจรจากยะลาไปยังอาเภอธารโต และเจาะอุโมงค์
ต่อจากธารโตถึงเบตง ปัจจุบันกาลังอยู่ในขั้นผลักดันและศึกษาหารูปแบบงบประมาณ หากทาได้สาเร็จก็จะช่วยดึง
นักท่องเที่ยวจากเบตง ซึ่งส่วนใหญ่คือนักท่องเที่ยวจากมาเลเซียและสิงคโปร์ที่มีกาลังซื้อสูงให้เข้ามาสู่ยะลามากขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน ที่เบตงอยู่ระหว่างการสร้างสนามบินคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2561 น่าจะทาให้มี
นักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆ เดินทางมายังเบตงมากขึ้น และถ้ายะลาเชื่อมกับเบตงได้สะดวกขึ้น เศรษฐกิจของเมืองก็จะ
ได้รับประโยชน์จากกาลังของจังหวัดอื่นของไทย และจากมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ผ่านเบตงได้ดีขึ้น ในข้อนี้ รศ.
ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการกากับทิศสถาบันคลังปัญญาฯ และกรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย
เสริมว่า ถ้าทาให้โครงการตัดถนนตรงเชื่อมจากเบตงมายะลานั้น ต่อไปยังหาดใหญ่ได้อีก ก็น่าจะกลายเป็นเส้นทางใหม่
คือ ปีนัง-เบตง-ยะลา-หาดใหญ่ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เพราะเส้นทางทุกวันนี้ คนจากหาดใหญ่ที่จะไปปีนังหรือ
นักท่องเที่ยวจากปีนังที่จะมาหาดใหญ่ต้องไปผ่านทางเมืองปาดังเบซาร์ (อ.สะเดา จ.สงขลา) ด้วยเส้นทางใหม่นี้จะทาให้
คนที่มาจากปีนังจะไปหาดใหญ่หรือหาดใหญ่ไปปีนัง แวะเที่ยวที่เบตงและยะลาได้ด้วย น่าจะทาให้ยะลากลับมาเป็นชุม
ทางคมนาคมได้อีกครั้ง
2) แนวคิดโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ยะลา-สุไหงโกลก นอกจากเบตง อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาสก็เป็น
เมืองชายแดนอีกแห่งที่ยะลาหวังจะเชื่อมต่อด้วยเพื่อเปิดเป็นประตูสู่ภูมิภาคอาเซียนทางทะเล (มาเลเซีย สิงคโปร์
อินโดนีเซีย) อีกทาง ปัจจุบัน การเดินทางโดยรถยนต์จากยะลาไปสุไหงโกลกใช้ระยะทางราว 200 กิโลเมตร เทศบาล
นครยะลาจึงมีแนวคิดในโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ซึ่งจะช่วยร่นระยะทางลงได้ครึ่งหนึ่ง เหลือประมาณ 100 กิโลเมตร
ช่วยอานวยความสะดวกในการไปหามาสู่และการทาธุรกิจการค้าข้ามชายแดนไทย-มาเลเซียมากยิ่งขึ้น
อนึ่ง ต่อเรื่องรถไฟ รศ.ดร. จานง เสนอว่าควรจะต่อยอดด้วยการทาให้เชื่อมกับเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่มีอยู่
แล้วของมาเลเซียซึ่งวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์มาถึง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา รวมทั้งไปเชื่อมกับเส้นทางรถไฟความสูงระดับชาติ
ของไทย หากว่ารัฐบาลไทยขยายโครงการรถไฟความเร็วสูงลงมายังคาบสมุทรภาคใต้ (ซึ่งปัจจุบัน มีแต่สายที่เชื่อม
กรุงเทพกับภาคเหนือและอีสาน) ก็น่าจะช่วยเพิ่มการคมนาคมขนส่งให้มาสู่ยะลาได้อีกมาก
6
นักท่องเที่ยวชาวยะลาเที่ยวชมเขื่อนบางลางช่วงเทศกาลรายอแน
บทสรุป
แม้คนภายนอกจะยังติดภาพว่า “ยะลา” เป็นเมืองอันตราย รุนแรง แต่วันนี้ยะลาได้ก้าวข้ามและวางทิศทางการ
พัฒนาเมืองของตนไปสู่การเป็นเมือง “อินเตอร์” เป็นเมืองระดับภูมิภาค ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว
กรอบคิดการพัฒนาเมืองของยะลาที่ได้เลือกชูความเป็นเมืองชายแดนของตน -จากสิ่งที่เคยมองกันว่าเป็น
จุดอ่อน ห่างไกลความเจริญในอดีต- นามาเป็นจุดแข็งและเป็นโอกาสในปัจจุบันนั้น เป็นสิ่งที่สอดคล้องกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันที่เข้าสู่ยุคบูรพาภิวัตน์ อันหมายถึงยุคที่ซีกตะวันออกของโลกรุ่งเรืองเติบโตก้าวหน้า
ขึ้นมาบ้าง ไม่ได้มีแต่ตะวันตกที่เจริญอยู่ซีกเดียว ผลก็คือทาให้ตัวแบบของคาว่า “การพัฒนา” “ความก้าวหน้า” “ความ
เจริญ” ไม่ได้มีแนวทางเดียวอีกต่อไป อย่างเช่น แนวทางการพัฒนาเมืองในวันนี้ก็ไม่ได้จาเป็นต้องเดินตามรอยตะวันตก
หรือตามส่วนกลางของชาติเท่านั้น แต่เมืองต่างๆ จะพัฒนาอย่างเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น ใช้ความถนัด ข้อได้เปรียบที่
เมืองมีในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะเรื่องภูมิศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้เป็นประโยชน์กับการพัฒนาเมืองมากยิ่งขึ้น
เมืองและท้องถิ่นจะขึ้นมามีบทบาทร่วมกับหรือนาหน้าชาติได้มากขึ้น อัตลักษณ์ ความแตกต่างของเมืองแต่ละเมืองจะ
กลายเป็นข้อได้เปรียบที่ต้องยิ่งส่งเสริมมากกว่าจะเป็นจุดอ่อน คนท้องถิ่น ผู้นาท้องถิ่น ผู้นาเมืองจะก้าวขึ้นมากาหนด
ทิศทางของบ้านเมืองได้มากขึ้น โดยไม่ต้องรอให้ส่วนกลางคิดและทาให้อย่างเดียวอีกต่อไป ทั้งหมดนี้ ดังที่เมืองยะลาได้
แสดงให้เห็นผ่านสิ่งที่กาลังทาอยู่แล้วในวันนี้
* * * *
7
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
ประธานสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ: ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง : นายปาณัท ทองพ่วง
เผยแพร่เมื่อ: 18 สิงหาคม 2559

Contenu connexe

En vedette

เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 

En vedette (20)

เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์

  • 2. 1 บรรยากาศในย่านเมืองเก่าของยะลา แนวโน้มของโลกในปัจจุบันและอนาคตนั้น พบว่า “เมือง” มีความสาคัญมากขึ้น “ท้องถิ่น” มีความสาคัญมากขึ้น ใน การพัฒนาบ้านเมืองและประเทศชาติไม่ได้มีแต่ “ชาติ” หรือ “ส่วนกลาง” ถือธงนาคนเดียวอีกต่อไป สถาบันคลังปัญญาด้าน ยุทธศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จึงได้ศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาของเมืองยะลาในปัจจุบันเพื่อก้าวไปสู่การ เป็นเมืองระดับภูมิภาคที่เชื่อมต่อภูมิภาคโลกมาเลย์ อันได้แก่ คาบสมุทรภาคใต้ตอนล่างของไทย ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์และฟิลิปปินส์ ยะลา เป็นหนึ่งในเมืองที่มีบทบาทโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในด้านการพัฒนาเมือง แม้จะต้องเผชิญกับอุปสรรค หลายประการที่ฉุดรั้ง ไม่ว่าจากความท้าทายทางเศรษฐกิจของเมือง อันเป็นผลจากบริบทของเมืองและของภูมิภาคเองที่ เปลี่ยนแปลงไป และผลกระทบจากความไม่สงบในสามจังหวัดภาคใต้ในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา กระนั้น ยะลาในวันนี้ก็ไม่ หยุดที่จะพัฒนาตนเองไปข้างหน้า โดยกรอบคิดหนึ่งในการพัฒนาเมืองของยะลาคือ การเชื่อมตนเองให้เป็นส่วนหนึ่ง ของภูมิภาคมากขึ้น โดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ การคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว ภาษา การศึกษา และวัฒนธรรม โดย อาศัยการเปลี่ยนมุมมองจากการมองยะลาในฐานะเมืองชายแดนของไทยที่ห่างไกลศูนย์กลางคือกรุงเทพฯ หันมาเห็นว่า ยะลาใกล้กับทางมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ซึ่งมีกาลังทางเศรษฐกิจสูง และจะเติบโตไปได้อีกมาก ซึ่งยะลามี ทุนเดิมทางที่ตั้ง และภาษาวัฒนธรรม สายใยของผู้คนใกล้ชิดอยู่แล้ว สามารถพัฒนาตัวเองไปสู่การเป็นเมืองระดับภูมิภาค ได้ในประเด็นที่สาคัญ ดังนี้ _________________________________________________________ *สรุปจากการลงพื้นที่ จ.ยะลา ระหว่างวันที่ 13-15 ก.ค. 2559 ของสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติและศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และจากการประชุมระดมสมอง เรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของภูมิภาค ร่วมกับเทศบาล นครยะลา เมื่อวันพุธที่ 13 ก.ค. 2559 ณ ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา อ.เมือง จ.ยะลา
  • 3. 2 การเชื่อมโยงด้านภาษา การพัฒนาคน และสังคมพหุวัฒนธรรม ลูกค้าชาวมุสลิมในร้านทองของชาวไทยเชื้อสายจีนในเมืองยะลา เอกลักษณ์หนึ่งของยะลาคือเป็นเมืองที่ผู้คนอยู่กันอย่างสังคมพหุวัฒนธรรม ผู้คนหลากเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขมาช้านาน ทั้งคนไทย คนจีน คนมลายู ทั้งชาวพุทธและมุสลิม ดังนั้น นอกเหนือจาก เชื่อมต่อทางกายภาพ ทางโครงสร้างการคมนาคมแล้ว ยะลาจึงมีศักยภาพที่จะเชื่อมต่อกับภูมิภาคอาเซียนทางทะเล กับ คนจีนและมลายู ในมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านต้นทุนทางวัฒนธรรมนี้ด้วย ข้อที่ชัดเจนข้อหนึ่ง คือ เรื่องภาษาในเมืองยะลา กล่าวได้ว่ายะลาเป็นเมือง “สี่ภาษา” อย่างแท้จริง เพราะใครไป เยือนยะลาจะพบว่ามีการใช้ภาษาไทย จีน มลายู และอังกฤษ เป็นปกติทั่วไปในเมือง ที่ชัดเจนที่สุดคือ ป้ายชื่อถนนในตัว เมืองจะเขียนด้วยอักษรสี่ภาษานี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมของคนยะลาเอง และเป็นพื้นฐานความ เป็น “อินเตอร์” ที่เชื่อมโยงกับคนในภูมิภาคอาเซียนตอนใต้ได้ นอกจากนี้ ยังแสดงให้เห็นด้วยว่าผู้บริหารเมืองยะลามี ความตระหนักและได้ชูความสาคัญของเรื่องพหุวัฒนธรรมทางภาษาขึ้นมาเป็นเวลานานก่อนที่กระแสอาเซียนนิยมจะ เฟื่องฟูขึ้นมาในระยะหลังนี้ด้วย อีกข้อหนึ่งที่เป็นเอกลักษณ์ทาให้เมืองยะลาต่างจากเมืองอื่นๆ ในประเทศไทย คือมีต้นทุนเรื่องวัฒนธรรมมลายู ซึ่งผู้บริหารเมืองคือเทศบาลนครยะลาก็ได้ตระหนักและมีโครงการจะดึงต้นทุนนี้มาใช้ประโยชน์ โดยการจัดงาน “มลายู เดย์” เป็นเทศกาลทางวัฒนธรรมของมลายู โดยจะขยายไปจับมือกับประเทศที่อยู่ใน “โลกมลายู (Malay World)” ใน เบื้องต้นคือบรูไนและฟิลิปปินส์ โดยมีเป้าหมายสาคัญคือชูจุดแข็งทางวัฒนธรรมมลายูของเมืองเพื่อเปลี่ยนภาพลักษณ์ (Re-Image) ของเมืองยะลาในสายตาคนภายนอก
  • 4. 3 การเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์แห่งหนึ่ง นามาสู่แนวคิดการสร้างคนยะลาให้เป็นเอกลักษณ์เช่นกัน เพราะการพัฒนาเมืองในระยะยาวที่สุดก็คือการสร้างคน ซึ่งส่วนสาคัญที่สุดก็คือ การศึกษา ในอดีตนั้นยะลาเป็นมีชื่อเสียง ว่าเป็นเมือง “ตักศิลา” ศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ แต่ก็ยังเป็นการจัดการศึกษาตามแบบของชาติ แต่วันนี้ทิศทางการ พัฒนาการศึกษาของยะลาคือการชู “การศึกษาแบบยะลา” อันหมายถึงการศึกษาที่เน้นอัตลักษณ์ท้องถิ่น สร้างให้คน ยะลาเป็นคนของท้องถิ่น เป็นคนยะลา เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องยะลามากที่สุด เช่น รู้สี่ภาษา เพื่อเชื่อมโยงติดต่อกับเพื่อน บ้านในภูมิภาค รู้จักของดีของยะลาให้ลึกซึ้งที่สุด เช่น การจัดวางผังเมืองที่สะอาดเป็นระเบียบ วัฒนธรรมมลายู สังคมพหุ วัฒนธรรม และธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นต้น การพัฒนายะลาให้เป็นเมืองศึกษาดูงานของโลกด้าน Harmonized City วิธีของชาวยะลาในการปรับภูมิทัศน์เมืองให้สดใสด้วยการทาสีอาคาร หนึ่งในแนวคิดเพื่อการปรับภาพลักษณ์เมืองของเทศบาลนครยะลา คือการชูเมืองยะลาให้เป็นเมือง Harmonized City เมืองที่คนหลากหลายวัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข และไม่เฉพาะการอยู่ร่วมกันระหว่าง คน แต่หมายถึงการอยู่ร่วมกันได้อย่างดีระหว่างคนกับธรรมชาติด้วย เพราะยะลายังมีเอกลักษณ์สาคัญอีกอย่างคือ มี สิ่งแวดล้อมที่ดี ทั้งสภาพแวดล้อมในเมืองและธรรมชาติอันบริสุทธิ์และอุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าบาลาฮาลา ผู้บริหารเมือง ยะลาจึงตระหนักว่า ในขณะที่ทุกวันนี้ โลกมีวิกฤตของการอยู่ร่วมกันทั่วไปหมด ทั้งในยุโรป ตะวันออกกลาง สหรัฐอเมริกาก็ดี กาลังเผชิญความขัดแย้งไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา หรือสีผิว แต่ยะลากาลังจะก้าวข้ามความขัดแย้ง ยะลากาลังดีขึ้น ดังนั้น จากเมื่อก่อนยะลาที่เป็นเมืองดูงานเรื่องเมืองสะอาด ผังเมืองเป็นระเบียบเรียบร้อย วันนี้ยะลา สามารถต่อยอดให้เป็นเมืองดูงานด้านการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข (Harmonized City) เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส โดยเอา
  • 5. 4 ประสบการณ์ที่ยะลาผ่านความไม่สงบมากว่าสิบปี แต่คนในเมืองยังอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข มาเป็นถ่ายทอดให้เมือง อื่นๆ ในโลกมาศึกษาดูงานได้ ในลักษณะเดียวกับที่เมืองกว่างโจว ของจีนซึ่งเคยมีการลุกฮือของนักศึกษา แต่วันนี้ กลายเป็นเมืองที่จัดประชุมเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นประจาทุกปี หรือเมืองอาเจะห์ที่เมื่อก่อนเคยรู้จักกันว่าเป็นพื้นที่สู้รบ แบ่งแยกระหว่างกลุ่มเรียกร้องเอกราชกับรัฐบาลอินโดนีเซียมาหลายทศวรรษ แต่หลังจากบรรลุข้อตกลงสันติภาพกับ รัฐบาล วันนี้กลายเป็นที่ศึกษาดูงานของทั่วโลกในเรื่องการสร้างสันติภาพ เป็นต้น การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคมขนส่ง บรรยากาศถนนใน จ.ยะลา ในอดีตราว 50-60 ปีก่อน ยะลาคือศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของสามจังหวัดภาคใต้ เพราะเป็นเมืองเดียวใน สามจังหวัดที่มีรถไฟจากกรุงเทพฯ วิ่งเข้าถึงใจกลางเมือง จึงเป็น Logistic hub ที่สินค้าและผู้คนจากกรุงเทพฯ และภาค อื่นๆ ที่จะมายังสามจังหวัดต้องมาลงก่อนจะกระจายไปสู่ที่อื่น การเป็นศูนย์กลางทางคมนาคมของภูมิภาคทาให้เมือง ยะลาเป็นศูนย์กลางในด้านอื่นๆ เช่น การศึกษา การปกครอง ในยุคนั้นไปด้วย แต่ปัจจุบันรูปแบบการคมนาคมที่ เปลี่ยนไป ที่สาคัญคือการตัดถนนตรงเข้าสู่จังหวัดต่างๆ โดยตรง และการเฟื่องฟูขึ้น (ในระยะไม่นานมานี้) ของสายการ บินต้นทุนต่า ทาให้ทางรถไฟของยะลาเสื่อมความสาคัญลง เช่นเดียวกับฐานะความเป็นศูนย์กลางในด้านต่างๆ ที่กล่าว มาของเมือง เศรษฐกิจของยะลาในวันนี้จึงซบเซาลง ปัจจุบัน ผู้บริหารเมืองยะลา นาโดยเทศบาลนครยะลา จึงมีแนวคิดที่จะฟื้นเมืองยะลาให้กลับมาคึกคัก เป็น ศูนย์กลางการคมนาคมอีกครั้ง แต่ในครั้งนี้เป้าหมายของการเชื่อมต่อหลักไม่ใช่กรุงเทพ แต่คือ ภูมิภาคอาเซียนตอนใต้ หรืออาเซียนทางทะเล (Maritime ASEAN) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางความเจริญใหม่ในยุคบูรพาภิวัตน์ อันประกอบด้วย ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านแนวคิดในสองโครงการสาคัญ ดังนี้
  • 6. 5 1) แนวคิดโครงการสร้างเส้นทางยะลา - เบตง ด้วยการตัดถนนและอุโมงค์เพื่อร่นระยะเวลาเดินทาง เพราะ ข้อได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์ของยะลาคือเป็นเมืองชายแดน แต่ยะลามีลักษณะพิเศษคือ ชายแดนที่คึกคักทางการค้า และการท่องเที่ยวไปอยู่ที่ อ.เบตง แต่เบตงนั้นเหมือนว่าไม่เชื่อมกับยะลา เพราะห่างกันราว 140 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา กว่าสองชั่วโมงในการเดินทาง เพราะถนนคดเคี้ยวไปตามแนวสันเขา ดังนั้น เทศบาลนครยะลาจึงเสนอให้ลดระยะเวลา การเดินทางลงครึ่งหนึ่ง เหลือราวหนึ่งชั่วโมง ด้วยการทาถนนสี่ช่องจราจรจากยะลาไปยังอาเภอธารโต และเจาะอุโมงค์ ต่อจากธารโตถึงเบตง ปัจจุบันกาลังอยู่ในขั้นผลักดันและศึกษาหารูปแบบงบประมาณ หากทาได้สาเร็จก็จะช่วยดึง นักท่องเที่ยวจากเบตง ซึ่งส่วนใหญ่คือนักท่องเที่ยวจากมาเลเซียและสิงคโปร์ที่มีกาลังซื้อสูงให้เข้ามาสู่ยะลามากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัน ที่เบตงอยู่ระหว่างการสร้างสนามบินคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2561 น่าจะทาให้มี นักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆ เดินทางมายังเบตงมากขึ้น และถ้ายะลาเชื่อมกับเบตงได้สะดวกขึ้น เศรษฐกิจของเมืองก็จะ ได้รับประโยชน์จากกาลังของจังหวัดอื่นของไทย และจากมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ผ่านเบตงได้ดีขึ้น ในข้อนี้ รศ. ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการกากับทิศสถาบันคลังปัญญาฯ และกรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย เสริมว่า ถ้าทาให้โครงการตัดถนนตรงเชื่อมจากเบตงมายะลานั้น ต่อไปยังหาดใหญ่ได้อีก ก็น่าจะกลายเป็นเส้นทางใหม่ คือ ปีนัง-เบตง-ยะลา-หาดใหญ่ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เพราะเส้นทางทุกวันนี้ คนจากหาดใหญ่ที่จะไปปีนังหรือ นักท่องเที่ยวจากปีนังที่จะมาหาดใหญ่ต้องไปผ่านทางเมืองปาดังเบซาร์ (อ.สะเดา จ.สงขลา) ด้วยเส้นทางใหม่นี้จะทาให้ คนที่มาจากปีนังจะไปหาดใหญ่หรือหาดใหญ่ไปปีนัง แวะเที่ยวที่เบตงและยะลาได้ด้วย น่าจะทาให้ยะลากลับมาเป็นชุม ทางคมนาคมได้อีกครั้ง 2) แนวคิดโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ยะลา-สุไหงโกลก นอกจากเบตง อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาสก็เป็น เมืองชายแดนอีกแห่งที่ยะลาหวังจะเชื่อมต่อด้วยเพื่อเปิดเป็นประตูสู่ภูมิภาคอาเซียนทางทะเล (มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย) อีกทาง ปัจจุบัน การเดินทางโดยรถยนต์จากยะลาไปสุไหงโกลกใช้ระยะทางราว 200 กิโลเมตร เทศบาล นครยะลาจึงมีแนวคิดในโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ซึ่งจะช่วยร่นระยะทางลงได้ครึ่งหนึ่ง เหลือประมาณ 100 กิโลเมตร ช่วยอานวยความสะดวกในการไปหามาสู่และการทาธุรกิจการค้าข้ามชายแดนไทย-มาเลเซียมากยิ่งขึ้น อนึ่ง ต่อเรื่องรถไฟ รศ.ดร. จานง เสนอว่าควรจะต่อยอดด้วยการทาให้เชื่อมกับเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่มีอยู่ แล้วของมาเลเซียซึ่งวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์มาถึง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา รวมทั้งไปเชื่อมกับเส้นทางรถไฟความสูงระดับชาติ ของไทย หากว่ารัฐบาลไทยขยายโครงการรถไฟความเร็วสูงลงมายังคาบสมุทรภาคใต้ (ซึ่งปัจจุบัน มีแต่สายที่เชื่อม กรุงเทพกับภาคเหนือและอีสาน) ก็น่าจะช่วยเพิ่มการคมนาคมขนส่งให้มาสู่ยะลาได้อีกมาก
  • 7. 6 นักท่องเที่ยวชาวยะลาเที่ยวชมเขื่อนบางลางช่วงเทศกาลรายอแน บทสรุป แม้คนภายนอกจะยังติดภาพว่า “ยะลา” เป็นเมืองอันตราย รุนแรง แต่วันนี้ยะลาได้ก้าวข้ามและวางทิศทางการ พัฒนาเมืองของตนไปสู่การเป็นเมือง “อินเตอร์” เป็นเมืองระดับภูมิภาค ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว กรอบคิดการพัฒนาเมืองของยะลาที่ได้เลือกชูความเป็นเมืองชายแดนของตน -จากสิ่งที่เคยมองกันว่าเป็น จุดอ่อน ห่างไกลความเจริญในอดีต- นามาเป็นจุดแข็งและเป็นโอกาสในปัจจุบันนั้น เป็นสิ่งที่สอดคล้องกับกระแสการ เปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันที่เข้าสู่ยุคบูรพาภิวัตน์ อันหมายถึงยุคที่ซีกตะวันออกของโลกรุ่งเรืองเติบโตก้าวหน้า ขึ้นมาบ้าง ไม่ได้มีแต่ตะวันตกที่เจริญอยู่ซีกเดียว ผลก็คือทาให้ตัวแบบของคาว่า “การพัฒนา” “ความก้าวหน้า” “ความ เจริญ” ไม่ได้มีแนวทางเดียวอีกต่อไป อย่างเช่น แนวทางการพัฒนาเมืองในวันนี้ก็ไม่ได้จาเป็นต้องเดินตามรอยตะวันตก หรือตามส่วนกลางของชาติเท่านั้น แต่เมืองต่างๆ จะพัฒนาอย่างเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น ใช้ความถนัด ข้อได้เปรียบที่ เมืองมีในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะเรื่องภูมิศาสตร์ และวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้เป็นประโยชน์กับการพัฒนาเมืองมากยิ่งขึ้น เมืองและท้องถิ่นจะขึ้นมามีบทบาทร่วมกับหรือนาหน้าชาติได้มากขึ้น อัตลักษณ์ ความแตกต่างของเมืองแต่ละเมืองจะ กลายเป็นข้อได้เปรียบที่ต้องยิ่งส่งเสริมมากกว่าจะเป็นจุดอ่อน คนท้องถิ่น ผู้นาท้องถิ่น ผู้นาเมืองจะก้าวขึ้นมากาหนด ทิศทางของบ้านเมืองได้มากขึ้น โดยไม่ต้องรอให้ส่วนกลางคิดและทาให้อย่างเดียวอีกต่อไป ทั้งหมดนี้ ดังที่เมืองยะลาได้ แสดงให้เห็นผ่านสิ่งที่กาลังทาอยู่แล้วในวันนี้ * * * *
  • 8. 7 รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864 ประธานสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ: ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง : นายปาณัท ทองพ่วง เผยแพร่เมื่อ: 18 สิงหาคม 2559