SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
จีนกับสหรัฐ
ใครคืออภิมหาอานาจทางวิทยาศาสตร์?
คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
รองประธาน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
รองประธาน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ที่มาภาพปก : Investor’s Business Daily ออนไลน์ https://www.investors.com/news/technology/ai-
technology-u-s-chip-stocks-vs-china/
ผู้เขียน : ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ที่ปรึกษา : ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปาณัท ทองพ่วง
อานวยการผลิตโดย : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปีที่เผยแพร่: มีนาคม 2561
www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต
จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-88
1
จีนกับสหรัฐ : ใครคืออภิมหาอานาจทางวิทยาศาสตร์?
หลังเริ่มปีใหม่ 2018 ได้เพียงไม่กี่วัน ก็มีรายงานฉบับหนึ่งออกมาให้วงการทางวิชาการโลกได้
ตื่นเต้นกันพอๆ กับช่วงปี 2014 ที่โลกตื่นเต้นกับรายงานทางเศรษฐกิจที่ชี้ว่าจีนก้าวเป็นมหาอานาจทาง
เศรษฐกิจแล้วถ้าคิดจากกาลังซื้อที่เป็นจริงทางเศรษฐกิจ สาหรับปีนี้รายงานของ The National Science Board
of the National Science Foundation (NSB, NSF) ของสหรัฐอเมริกา เพิ่งเผยแพร่ตัวชี้วัดด้านวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรมศาสตร์ในรอบสองปี (The biennial Science & Engineering Indicators)1 เป็นรายงานที่แสดงตัวเลข
เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม และวิศวกรรม
ข้อสรุปที่สาคัญในรายงานฉบับนี้คือ มีหลายประโยคที่ระบุว่า จีนได้กลายเป็นหรือเกือบจะ
กลายเป็นอภิมหาอานาจทางวิทยาศาสตร์และทางวิชาการ ซึ่งทาให้ความปรารถนาของจีนที่จะเป็น
ผู้นาทางการทหารและทางเศรษฐกิจใกล้ความเป็นจริงขึ้นทุกทีด้วย
ตัวชี้วัดที่สะท้อนความน่าทึ่งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนวันนี้ คือ
จีนกลายเป็นผู้ลงทุนด้านวิจัยและพัฒนารายใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลก คิดเป็น
21 %ของการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของโลก (เกือบ 2 ล้านล้านดอลลาร์ ข้อมูลปี 2015) แม้ว่าสหรัฐยัง
เป็นผู้ลงทุนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็น 26 % แต่ถ้าอัตราการเติบโตของเงินทุนวิจัยยังคงอยู่ในระดับนี้
อีกไม่นานจีนก็จะไล่ทันขึ้นเป็นผู้ลงทุนด้านการวิจัยรายใหญ่ที่สุดของโลก ดูจากข้อมูลในช่วงปี 2000 ถึง
2015 การใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนาของจีนเติบโตในอัตราเฉลี่ย 18 % ต่อปี มากกว่าอัตราการเติบโตของ
สหรัฐถึง 4 เท่า ซึ่งอยู่ที่ 4% เท่านั้น (ดูรูปที่ 1)
รูปที่ 1 แสดงรายจ่ายด้านวิจัยและพัฒนาของสหรัฐ EU จีนและประเทศอื่นๆ ตั้งแต่ปี 1981–2015
ที่มา : NSF 2018
2
บทความทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนได้รับการตีพิมพ์มากที่สุด
เป็นครั้งแรก (ดูรูปที่ 2) มากกว่าสหรัฐ แต่น้อยกว่ากลุ่ม EU (ซึ่งนับรวมหลายประเทศ) ทั้งนี้ สหรัฐและ
กลุ่ม EU เน้นผลิตผลงานทางการวิจัยมากในด้านชีวการแพทย์ (Biomedical Sciences) แต่จีนเน้นผลิตผลงาน
และเป็นผู้นาในด้านวิศวกรรมศาสตร์
รูปที่ 2 แสดงบทความทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แบ่งตามสัดส่วนของโลกตามประเทศและ
ภูมิภาค ระหว่างปี 2006-2016
ที่มา : NSF 2018
กาลังคนทางด้านวิชาการของจีนกาลังขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก จากข้อมูลระหว่างปี 2000
ถึง 2014 ผู้จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรีของจีนเพิ่มจาก 359,000
คน เป็น 1.65 ล้านคน เปรียบเทียบกับสหรัฐในช่วงเวลาเดียวกัน มีผู้จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรมในระดับปริญญาตรีจาก 483,000 คนเป็น 742,000 คน (ดูรูปที่ 3) ทานองเดียวกันกับระดับปริญญา
เอก (ดูรูปที่ 4)
รูปที่ 3 แสดง ผู้มีการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติรายประเทศ
ระหว่างปี 2000-2014
ที่มา : NSF 2018
3
รูปที่ 4 แสดง ผู้มีการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติรายประเทศ
ระหว่างปี 2000-2014
ที่มา : NSF 2018
จะเห็นว่า จีนไม่เพียงขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในทางเทคโนโลยี ขณะเดียวกัน จีนยังมีความ
ทะเยอทะยานมากขึ้นด้วย หากมองลึกลงไปภายในประเทศจีนเวลานี้ เราจะเห็นว่า รัฐบาลกลางของจีน
ได้หว่านเมล็ดพันธุ์ลงทุนสร้างศูนย์กลางทางเศรษฐกิจไว้หลายพื้นที่2 เช่น
เขตเศรษฐกิจใหม่สงอาน (Xiong-an) ที่รวบรวมเมืองเล็กๆ และหลายพื้นที่เข้าด้วยกัน อยู่ทาง
ตะวันตกเฉียงใต้ของปักกิ่งห่างออกมา 100 กิโลเมตร ถูกออกแบบให้เป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ มีการพูดถึง
การย้ายหรือขยายพื้นที่มหาวิทยาลัยไปที่สงอาน และมีข่าวว่ามหาวิทยาลัยปักกิ่งก็กาลังสนใจ ซึ่งที่แห่ง
นี้กาลังจะได้รับการส่งเสริมให้เป็นเมืองแห่งนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอีกด้วย
รัฐบาลจีนเองก็มุ่งหวังในอนาคตว่าเขตเศรษฐกิจใหม่นี้จะสามารถพัฒนาให้ทัดเทียมกับเขตเศรษฐกิจ
พิเศษเซินเจิ้นและเขตเศรษฐกิจใหม่ผู่ตงของเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่ประสบความสาเร็จสูงที่สุด
ของจีน
เฉิงตู เมืองหลวงของมณฑลเสฉวน เป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยี
ชั้นสูง ปัจจุบันมี 500 บริษัทเปิดดาเนินการอยู่ และจีนยังวางแผนให้เมืองนี้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีชั้นสูงที่จะเชื่อมโยงออกไปยังเอเชียกลาง ผ่านความริเริ่ม Belt and Road
Initiative (BRI)
ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลกุ้ยโจว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ยากแค้น จีนได้เริ่มดาเนินการที่จะ
เปลี่ยนเมืองหลวงของมณฑลคือเมืองกุ้ยหยางและพื้นที่โดยรอบให้เป็น Big Data Valley ของจีน โดยออก
มาตรการจูงใจทางภาษีและมาตรการสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อดึงดูดบริษัทอย่าง Microsoft, Huawei, Hyundai
Motor, Tencent, Qualcomm, และ Alibaba ไปตั้งสานักงานในเขตเศรษฐกิจใหม่ของเมืองกุ้ยอาน อีกเมืองหนึ่งใน
มณฑลกุ้ยโจว เพื่อสร้างแรงจูงใจดึงดูดบริษัทด้านเทคโนโลยีชั้นสูง รัฐบาลท้องถิ่นคาดหวังว่าการลงทุน
ในพื้นที่แห่งนี้จะสูงถึง 3.34 พันล้านดอลลาร์ในปีนี้ และจะเพิ่มตาแหน่งงานสูงถึง 30,000 ตาแหน่ง (Jack Ma
4
กล่าวไว้ในหนังสือพิมพ์ China Daily ว่า ถ้าเราพลาดโอกาสการลงทุนในมณฑลกวางตุ้งหรือเจ้อเจียงเมื่อ 30
ปีก่อน วันนี้เราไม่ควรพลาดการลงทุนที่กุ้ยโจว)
รัฐบาลจีนคงไม่หยุดที่เซินเจิ้นและกุ้ยหยางเพียงเท่านี้ เราจะเห็นแบบแผนการดาเนินงาน
ลักษณะนี้ได้ในอีกหลายเมืองในจีน ซึ่งกาลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเมืองที่พัฒนาโดยเน้นการขับเคลื่อน
ด้านนวัตกรรม อนึ่ง การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และเทคโนโลยีชั้นสูงนี้เป็นสิ่งที่รัฐบาลจีนจะ
ทุ่มเททั้งเงินทุนและทรัพยากรลงไปอีกมหาศาล เพราะเป็นหนึ่งในความฝันจีน (China Dream)
มีข้อคิดจากนักการเงินและนักลงทุน Dr. Jim Rogers อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่วันนี้ได้
ย้ายครอบครัวมาอยู่ที่สิงคโปร์ ท่านมองว่า ตัวท่านเป็นชาวตะวันตก และอยากให้ลูกๆ ได้รับการศึกษา
และวัฒนธรรมแบบตะวันออกคือจีน3 เพราะท่านเห็นแล้วว่า ศตวรรษที่ 19 เป็นของอังกฤษ ศตวรรษที่ 20
เป็นของอเมริกา และศตวรรษที่ 21 เป็นของจีน และนี่คือปรากฏการณ์บูรพาภิวัตน์ ที่ ศ.(พิเศษ) ดร.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้เสนอแนวคิดนี้ไว้ให้สังคมไทยเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ที่กาลังเกิดขึ้นจริง
สิงคโปร์ในวันนี้ได้จัดระบบการศึกษาของตนให้รับประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์แล้ว ซึ่งยิ่งได้รับ
การตอกย้าจากการจัดอันดับเมืองของโลกในการลงทุนวิจัยและพัฒนาทางด้าน Life Sciences โดย fDi
Intelligence ที่พบว่าสิงคโปร์ติดอันดับหนึ่ง (รองลงมาตามลาดับคือ เมืองเซี่ยงไฮ้ เมืองซูโจว เมืองดับลิน
(ไอร์แลนด์) เมืองเคลย์ตัน และซานฟรานซิสโก (สหรัฐ) เมืองอิสกันดาร์ (มาเลเซีย) เมืองดูไบ (สหรัฐ
อาหรับเอมิเรตส์) เมืองปักกิ่ง เมือง Luterbach (สวิตเซอร์แลนด์) และเมืองหางโจว เป็นอันดับที่ 11
ตามลาดับ)4
เมื่อเห็นข้อมูลข้างต้นแล้ว การวิจัยและการศึกษาไทยอาจต้องกลับมาคิดทบทวนอย่างจริงจังว่า
เพียงไม่ถึงหนึ่งในสี่ของศตวรรษแห่งการพัฒนา เหตุใดจีนจึงเติบโตทะยานขึ้นมาและกาลังจะกลายเป็น
ผู้นาในหลายๆ ด้าน ดร. Yukon Huang นักเศรษฐศาสตร์ชื่อดังชาวอเมริกันแห่งสถาบัน Carnegie ของสหรัฐ
ตั้งข้อสังเกตว่า แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ทั่วไปที่ใช้อธิบายจีนน่าจะผิด ท่านชี้ให้เห็นว่า ประเทศต่างๆ
โดยเฉพาะสหรัฐ ถ้าไม่เข้าใจวิถีการพัฒนาที่นามาสู่ความสาเร็จของจีนวันนี้ การทานโยบายสาธารณะ
ของประเทศก็จะผิดพลาด และจะยิ่งพัฒนาก้าวไม่ทันจีน5
ดังนั้น แทนการพร่าบ่นเกรงกลัวว่าจีนจะคุกคาม ไทยเราควรหันมาเร่งเรียนรู้ ปรับตัว และสร้าง
เสริมร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์กับจีนและโลกตะวันออกเพื่อปรับสมดุลการพัฒนาให้เข้ากับยุคบูรพาภิวัตน์
1 National Science Board. Science & Engineering Indicators 2018. ออนไลน์
https://www.nsf.gov/statistics/2018/nsb20181/
2 Flynn Murphy. The Innovation Hubs that drive China. Macmillan. ออนไลน์
https://www.nature.com/magazine-assets/d41586-018-00546-z/d41586-018-00546-z.pdf.
3 SupChina. Learn Mandarin from Jim Rogers’s daughters! ออนไลน์
https://www.youtube.com/watch?v=5bSXOHAC7K0.
4fDi Intelligence. Asian cities loom large in life sciences. ออนไลน์
https://www.fdiintelligence.com/Sectors/Asian-cities-loom-large-in-life-sciences
5 Yukon Huang. Chatham House Primer: China’s Economy. Chatham House. ออนไลน์
https://www.chathamhouse.org/event/chatham-house-primer-china-s-economy

Contenu connexe

Similaire à จีนกับสหรัฐ ใครคืออภิมหาอำนาจทางวิทยาศาสตร์

Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Pun-Arj Chairatana
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
20120417 nstda-history-harit
20120417 nstda-history-harit20120417 nstda-history-harit
20120417 nstda-history-haritValaipornChangkid
 

Similaire à จีนกับสหรัฐ ใครคืออภิมหาอำนาจทางวิทยาศาสตร์ (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 
รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560
 
รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมิถุนายน 2559
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
20120417 nstda-history-harit
20120417 nstda-history-harit20120417 nstda-history-harit
20120417 nstda-history-harit
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

จีนกับสหรัฐ ใครคืออภิมหาอำนาจทางวิทยาศาสตร์

  • 2. คุณยุวดี คาดการณ์ไกล รองประธาน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ที่มาภาพปก : Investor’s Business Daily ออนไลน์ https://www.investors.com/news/technology/ai- technology-u-s-chip-stocks-vs-china/ ผู้เขียน : ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล ที่ปรึกษา : ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปาณัท ทองพ่วง อานวยการผลิตโดย : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่เผยแพร่: มีนาคม 2561 www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-88
  • 3. 1 จีนกับสหรัฐ : ใครคืออภิมหาอานาจทางวิทยาศาสตร์? หลังเริ่มปีใหม่ 2018 ได้เพียงไม่กี่วัน ก็มีรายงานฉบับหนึ่งออกมาให้วงการทางวิชาการโลกได้ ตื่นเต้นกันพอๆ กับช่วงปี 2014 ที่โลกตื่นเต้นกับรายงานทางเศรษฐกิจที่ชี้ว่าจีนก้าวเป็นมหาอานาจทาง เศรษฐกิจแล้วถ้าคิดจากกาลังซื้อที่เป็นจริงทางเศรษฐกิจ สาหรับปีนี้รายงานของ The National Science Board of the National Science Foundation (NSB, NSF) ของสหรัฐอเมริกา เพิ่งเผยแพร่ตัวชี้วัดด้านวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ในรอบสองปี (The biennial Science & Engineering Indicators)1 เป็นรายงานที่แสดงตัวเลข เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม และวิศวกรรม ข้อสรุปที่สาคัญในรายงานฉบับนี้คือ มีหลายประโยคที่ระบุว่า จีนได้กลายเป็นหรือเกือบจะ กลายเป็นอภิมหาอานาจทางวิทยาศาสตร์และทางวิชาการ ซึ่งทาให้ความปรารถนาของจีนที่จะเป็น ผู้นาทางการทหารและทางเศรษฐกิจใกล้ความเป็นจริงขึ้นทุกทีด้วย ตัวชี้วัดที่สะท้อนความน่าทึ่งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนวันนี้ คือ จีนกลายเป็นผู้ลงทุนด้านวิจัยและพัฒนารายใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลก คิดเป็น 21 %ของการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาของโลก (เกือบ 2 ล้านล้านดอลลาร์ ข้อมูลปี 2015) แม้ว่าสหรัฐยัง เป็นผู้ลงทุนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็น 26 % แต่ถ้าอัตราการเติบโตของเงินทุนวิจัยยังคงอยู่ในระดับนี้ อีกไม่นานจีนก็จะไล่ทันขึ้นเป็นผู้ลงทุนด้านการวิจัยรายใหญ่ที่สุดของโลก ดูจากข้อมูลในช่วงปี 2000 ถึง 2015 การใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนาของจีนเติบโตในอัตราเฉลี่ย 18 % ต่อปี มากกว่าอัตราการเติบโตของ สหรัฐถึง 4 เท่า ซึ่งอยู่ที่ 4% เท่านั้น (ดูรูปที่ 1) รูปที่ 1 แสดงรายจ่ายด้านวิจัยและพัฒนาของสหรัฐ EU จีนและประเทศอื่นๆ ตั้งแต่ปี 1981–2015 ที่มา : NSF 2018
  • 4. 2 บทความทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนได้รับการตีพิมพ์มากที่สุด เป็นครั้งแรก (ดูรูปที่ 2) มากกว่าสหรัฐ แต่น้อยกว่ากลุ่ม EU (ซึ่งนับรวมหลายประเทศ) ทั้งนี้ สหรัฐและ กลุ่ม EU เน้นผลิตผลงานทางการวิจัยมากในด้านชีวการแพทย์ (Biomedical Sciences) แต่จีนเน้นผลิตผลงาน และเป็นผู้นาในด้านวิศวกรรมศาสตร์ รูปที่ 2 แสดงบทความทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แบ่งตามสัดส่วนของโลกตามประเทศและ ภูมิภาค ระหว่างปี 2006-2016 ที่มา : NSF 2018 กาลังคนทางด้านวิชาการของจีนกาลังขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก จากข้อมูลระหว่างปี 2000 ถึง 2014 ผู้จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรีของจีนเพิ่มจาก 359,000 คน เป็น 1.65 ล้านคน เปรียบเทียบกับสหรัฐในช่วงเวลาเดียวกัน มีผู้จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมในระดับปริญญาตรีจาก 483,000 คนเป็น 742,000 คน (ดูรูปที่ 3) ทานองเดียวกันกับระดับปริญญา เอก (ดูรูปที่ 4) รูปที่ 3 แสดง ผู้มีการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติรายประเทศ ระหว่างปี 2000-2014 ที่มา : NSF 2018
  • 5. 3 รูปที่ 4 แสดง ผู้มีการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติรายประเทศ ระหว่างปี 2000-2014 ที่มา : NSF 2018 จะเห็นว่า จีนไม่เพียงขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในทางเทคโนโลยี ขณะเดียวกัน จีนยังมีความ ทะเยอทะยานมากขึ้นด้วย หากมองลึกลงไปภายในประเทศจีนเวลานี้ เราจะเห็นว่า รัฐบาลกลางของจีน ได้หว่านเมล็ดพันธุ์ลงทุนสร้างศูนย์กลางทางเศรษฐกิจไว้หลายพื้นที่2 เช่น เขตเศรษฐกิจใหม่สงอาน (Xiong-an) ที่รวบรวมเมืองเล็กๆ และหลายพื้นที่เข้าด้วยกัน อยู่ทาง ตะวันตกเฉียงใต้ของปักกิ่งห่างออกมา 100 กิโลเมตร ถูกออกแบบให้เป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ มีการพูดถึง การย้ายหรือขยายพื้นที่มหาวิทยาลัยไปที่สงอาน และมีข่าวว่ามหาวิทยาลัยปักกิ่งก็กาลังสนใจ ซึ่งที่แห่ง นี้กาลังจะได้รับการส่งเสริมให้เป็นเมืองแห่งนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอีกด้วย รัฐบาลจีนเองก็มุ่งหวังในอนาคตว่าเขตเศรษฐกิจใหม่นี้จะสามารถพัฒนาให้ทัดเทียมกับเขตเศรษฐกิจ พิเศษเซินเจิ้นและเขตเศรษฐกิจใหม่ผู่ตงของเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่ประสบความสาเร็จสูงที่สุด ของจีน เฉิงตู เมืองหลวงของมณฑลเสฉวน เป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยี ชั้นสูง ปัจจุบันมี 500 บริษัทเปิดดาเนินการอยู่ และจีนยังวางแผนให้เมืองนี้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีชั้นสูงที่จะเชื่อมโยงออกไปยังเอเชียกลาง ผ่านความริเริ่ม Belt and Road Initiative (BRI) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลกุ้ยโจว ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ยากแค้น จีนได้เริ่มดาเนินการที่จะ เปลี่ยนเมืองหลวงของมณฑลคือเมืองกุ้ยหยางและพื้นที่โดยรอบให้เป็น Big Data Valley ของจีน โดยออก มาตรการจูงใจทางภาษีและมาตรการสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อดึงดูดบริษัทอย่าง Microsoft, Huawei, Hyundai Motor, Tencent, Qualcomm, และ Alibaba ไปตั้งสานักงานในเขตเศรษฐกิจใหม่ของเมืองกุ้ยอาน อีกเมืองหนึ่งใน มณฑลกุ้ยโจว เพื่อสร้างแรงจูงใจดึงดูดบริษัทด้านเทคโนโลยีชั้นสูง รัฐบาลท้องถิ่นคาดหวังว่าการลงทุน ในพื้นที่แห่งนี้จะสูงถึง 3.34 พันล้านดอลลาร์ในปีนี้ และจะเพิ่มตาแหน่งงานสูงถึง 30,000 ตาแหน่ง (Jack Ma
  • 6. 4 กล่าวไว้ในหนังสือพิมพ์ China Daily ว่า ถ้าเราพลาดโอกาสการลงทุนในมณฑลกวางตุ้งหรือเจ้อเจียงเมื่อ 30 ปีก่อน วันนี้เราไม่ควรพลาดการลงทุนที่กุ้ยโจว) รัฐบาลจีนคงไม่หยุดที่เซินเจิ้นและกุ้ยหยางเพียงเท่านี้ เราจะเห็นแบบแผนการดาเนินงาน ลักษณะนี้ได้ในอีกหลายเมืองในจีน ซึ่งกาลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเมืองที่พัฒนาโดยเน้นการขับเคลื่อน ด้านนวัตกรรม อนึ่ง การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรม และเทคโนโลยีชั้นสูงนี้เป็นสิ่งที่รัฐบาลจีนจะ ทุ่มเททั้งเงินทุนและทรัพยากรลงไปอีกมหาศาล เพราะเป็นหนึ่งในความฝันจีน (China Dream) มีข้อคิดจากนักการเงินและนักลงทุน Dr. Jim Rogers อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่วันนี้ได้ ย้ายครอบครัวมาอยู่ที่สิงคโปร์ ท่านมองว่า ตัวท่านเป็นชาวตะวันตก และอยากให้ลูกๆ ได้รับการศึกษา และวัฒนธรรมแบบตะวันออกคือจีน3 เพราะท่านเห็นแล้วว่า ศตวรรษที่ 19 เป็นของอังกฤษ ศตวรรษที่ 20 เป็นของอเมริกา และศตวรรษที่ 21 เป็นของจีน และนี่คือปรากฏการณ์บูรพาภิวัตน์ ที่ ศ.(พิเศษ) ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้เสนอแนวคิดนี้ไว้ให้สังคมไทยเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ที่กาลังเกิดขึ้นจริง สิงคโปร์ในวันนี้ได้จัดระบบการศึกษาของตนให้รับประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์แล้ว ซึ่งยิ่งได้รับ การตอกย้าจากการจัดอันดับเมืองของโลกในการลงทุนวิจัยและพัฒนาทางด้าน Life Sciences โดย fDi Intelligence ที่พบว่าสิงคโปร์ติดอันดับหนึ่ง (รองลงมาตามลาดับคือ เมืองเซี่ยงไฮ้ เมืองซูโจว เมืองดับลิน (ไอร์แลนด์) เมืองเคลย์ตัน และซานฟรานซิสโก (สหรัฐ) เมืองอิสกันดาร์ (มาเลเซีย) เมืองดูไบ (สหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์) เมืองปักกิ่ง เมือง Luterbach (สวิตเซอร์แลนด์) และเมืองหางโจว เป็นอันดับที่ 11 ตามลาดับ)4 เมื่อเห็นข้อมูลข้างต้นแล้ว การวิจัยและการศึกษาไทยอาจต้องกลับมาคิดทบทวนอย่างจริงจังว่า เพียงไม่ถึงหนึ่งในสี่ของศตวรรษแห่งการพัฒนา เหตุใดจีนจึงเติบโตทะยานขึ้นมาและกาลังจะกลายเป็น ผู้นาในหลายๆ ด้าน ดร. Yukon Huang นักเศรษฐศาสตร์ชื่อดังชาวอเมริกันแห่งสถาบัน Carnegie ของสหรัฐ ตั้งข้อสังเกตว่า แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ทั่วไปที่ใช้อธิบายจีนน่าจะผิด ท่านชี้ให้เห็นว่า ประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐ ถ้าไม่เข้าใจวิถีการพัฒนาที่นามาสู่ความสาเร็จของจีนวันนี้ การทานโยบายสาธารณะ ของประเทศก็จะผิดพลาด และจะยิ่งพัฒนาก้าวไม่ทันจีน5 ดังนั้น แทนการพร่าบ่นเกรงกลัวว่าจีนจะคุกคาม ไทยเราควรหันมาเร่งเรียนรู้ ปรับตัว และสร้าง เสริมร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์กับจีนและโลกตะวันออกเพื่อปรับสมดุลการพัฒนาให้เข้ากับยุคบูรพาภิวัตน์ 1 National Science Board. Science & Engineering Indicators 2018. ออนไลน์ https://www.nsf.gov/statistics/2018/nsb20181/ 2 Flynn Murphy. The Innovation Hubs that drive China. Macmillan. ออนไลน์ https://www.nature.com/magazine-assets/d41586-018-00546-z/d41586-018-00546-z.pdf. 3 SupChina. Learn Mandarin from Jim Rogers’s daughters! ออนไลน์ https://www.youtube.com/watch?v=5bSXOHAC7K0. 4fDi Intelligence. Asian cities loom large in life sciences. ออนไลน์ https://www.fdiintelligence.com/Sectors/Asian-cities-loom-large-in-life-sciences 5 Yukon Huang. Chatham House Primer: China’s Economy. Chatham House. ออนไลน์ https://www.chathamhouse.org/event/chatham-house-primer-china-s-economy