SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
ปี ที่ 3 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2560
เบื้องลึกมหายุทธศาสตร์ บทสรุปปาฐกถานาการประชุม
Belt and Road Forum
หนิงโป กับ One Belt One Road ความสัมพันธ์ จีน-ตุรกี
ภายใต้One Belt One Road
เส้นทางสายไหมใหม่ของจีน
i | WORLD THINK TANK Monitor MAY 2017
ยุวดี คาดการณ์ไกล
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปลายฟ้า บุนนาค
ปาณัท ทองพ่วง
อุสมาน วาจิ
ปลายฟ้า บุนนาค
https://fruitofadventure.com/2012/01/
http://www.gtreview.com/news/asia/belt-and-
road-forum-five-things-we-learned/
พฤษภาคม 2560
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
http://rsu-brain.com/
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
บรรณาธิการ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการ
ออกแบบปกและรูปเล่ม
ภาพปก
ภาพปกใน
เผยแพร่
CONTACT US
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | ii
ในช่วงที่ผ่านมา จีนได้จัดการประชุมครั้งยิ่งใหญ่ คือ The Belt And Road Forum (BRF) for Inter-
national Cooperation ในการนี้ World Think Tank Monitor ฉบับนี้ของเรา จึงได้รวบรวมเนื้อหาสาระสาคัญที่
เกี่ยวกับ One Belt One Road ได้แก่ สรุปปาฐกถานาการประชุม Belt and Road Forum (BRF) เบื้องลึกมหา
ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ของจีน ความสัมพันธ์จีน—ตุรกี ภายใต้ Belt and Road และหนิงโปกับ One Belt
One Road
เชิญติดตามเนื้อหาด้านในได้เลยค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
เบื้องลึก
เส้นทางสายไหมใหม่
1
ของจีน
หนิงโป กับ
One Belt One Road
4
11
จีน - ตุรกี
ภายใต้ Belt & Road
Belt
Road
7
Forum
CPWI Bookstore
12
&
1 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
14-15 พ.ค.ที่ผ่านมา จีนจัดการประชุม
Belt & Road Forum อย่างใหญ่โตมโหฬาร มี
ผู้นาและตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมกว่า 130
ประเทศ และ 70 องค์กรระหว่างประเทศ จึงขอ
นาเสนอสาระในเรื่องนี้ที่เกี่ยวกับประเทศไทย จากเวที
ยุทธศาสตร์ เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt
and Road ของจีน ซึ่งสถาบันคลังปัญญาฯ จัดขึ้น
เมื่อเร็วๆ นี้ โดยมีอดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล
อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน
คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO บริษัทStrategy613
บริษัทที่ปรึกษาด้านธุรกิจผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีน และ
ผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ครั้ง
นี้ โดยพูดถึงเบื้องหลังของวัตถุประสงค์ทางการเมือง
เศรษฐกิจ และความมั่นคงของจีนในการทายุทธศาสตร์
Belt and Road /One Belt One Road
(OBOR) หรือที่เรียกว่า ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหม
ใหม่ ซึ่งเป็นนโยบายที่จะเชื่อมจีนเข้ากับส่วนอื่นๆ ของ
เอเชีย และกับยุโรป และแอฟริกา ผ่านการพัฒนา
โครงข่ายคมนาคมขนส่งทางบกและทะเล เพื่อกระตุ้น
การค้าในภูมิภาคนี้ของโลก
คุณวิบูลย์ คูสกุล กล่าวว่า ในภาพรวม จีนคิด
OBOR เป็นยุทธศาสตร์เพื่อไปสู่เป้าหมายความฝันจีน
(China Dream) ซึ่งจีนตั้งใจจะก้าวไปเป็นสังคม
กินดีอยู่ดีปานกลางในปี 2021 และเป็นประเทศ
พัฒนาแล้วในปี 2049 โดยการหันทิศทางของประเทศ
ที่มา : https://media.licdn.com/mpr/mpr/AAEAAQAAAAAAAAe6AAAAJDAzOTU5YzEzLTViMTItNDQzMC05OWI5LTgxMjA3MzBiOTgwMg.jpg
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 2
ออกไปสัมพันธ์กับโลกภายนอกอย่างเต็มรูปแบบ ในอีก
20-30 ปีต่อจากนี้ นอกจากนี้ OBOR ยังตอบโจทย์
ทางการเมืองและความมั่นคงของจีนด้วย เช่น ตอบโต้
นโยบาย Pivot/Rebalance to Asia ของสหรัฐ
ในช่วงต้นของการประกาศแผน OBOR เมื่อปี 2013
ตอบโต้การกดดันของสหรัฐต่อจีนในทะเลจีนใต้ และ
ภาพลักษณ์ที่จีนคุกคามเพื่อนบ้าน ด้วยการทาให้เห็นว่า
จีนมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่นุ่มนวลและเกื้อกูลกับ
ประเทศอื่นๆ ได้ผ่านข้อเสนอ OBOR
ทางเศรษฐกิจ คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO
บริษัท Strategy613 มองว่า OBOR ตอบโจทย์
จีนยุคนี้ที่ต้องการออกหาตลาดในต่างประเทศมากขึ้น
เพื่อระบาย over-capacity ของเศรษฐกิจจีน ด้วย
การออกไปขายโครงสร้างพื้นฐานในต่างประเทศโดยใช้
แรงงานจีนเพื่อสร้างการจ้างงานให้คนจีน และเพื่อ
แปลงทุนสารองเงินตราต่างประเทศและพันธบัตรสหรัฐที่
จีนถือไว้ล้นเหลือให้เป็นสินทรัพย์ที่จับต้องได้ เช่น ถนน
รางรถไฟ ท่าเรือ ในประเทศต่างๆ รวมทั้งผลักดันให้
การใช้เงินหยวนในโลกแพร่หลายและเพื่อให้บริษัทจีน
ขยายสัดส่วนรายได้ให้มาจากนอกประเทศมากขึ้น
ในปัจจุบัน นโยบาย OBOR ได้เดินหน้าทาไป
แล้ว และจะเป็นทิศทางระยะยาวที่จีนจะเดินอีก 20-
30 ปีดังที่กล่าวไป แต่เวลานี้การอนุมัติโครงการต่างๆ
ต้องชะลอตัวลงชั่วคราว เนื่องจากจีนอยู่ในช่วงชะลอการ
ใช้จ่าย เพราะค่าเงินหยวนอ่อนลงทาให้เงินสารอง
ต่างประเทศหายไปถึง 1 ล้านล้านเหรียญ เมื่อใดที่จีน
พร้อม การขับเคลื่อน OBOR ก็จะเดินหน้าต่อไปอย่าง
แน่นอน
ข้อเสนอท่าทีของไทยต่อ OBOR จากที่ประชุม
1. ให้ไทยยึดหลักทาความร่วมมือแบบ win-
win กับจีน สนองประโยชน์ทั้งสองฝ่ายอย่างเท่าเทียม
อะไรที่ไม่ดีกับเราก็ไม่จาเป็นต้องทา แน่นอนว่าไทยต้อง
รักษามิตรภาพที่ดีมากกับจีนไว้ในภาพรวม โดยเฉพาะ
เมื่อจีนมีน้าหนักกับเศรษฐกิจไทยมากในปัจจุบัน
อย่างไรก็ตาม เราต้องไม่เกรงใจจีนจนเกินไป โครงการ
ใดที่สนองประโยชน์ฝ่ายหนึ่งมากกว่าอีกฝ่ายย่อมไม่อาจ
สาเร็จหรือหากสาเร็จก็ไม่ยั่งยืน เราไม่จาเป็นต้อง
ร่วมมือตามวาระของจีนอย่างเดียว แต่ควรต่อรองจนเรา
ได้ประโยชน์เต็มที่ และควรเป็นฝ่ายริเริ่มความร่วมมือ
จากเรื่องที่เป็นข้อได้เปรียบของเราด้วย
ความร่วมมือรถไฟไทย-จีน เป็นตัวอย่างของ
โครงการที่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะสนองประโยชน์
และวาระของจีนมากกว่าไทย จีนต้องการสร้างรถไฟ
ความเร็วสูงเพื่อจะได้ประโยชน์จากการสร้าง (ระบาย
ศักยภาพการก่อสร้างและแรงงานจีน) มากกว่า
ประโยชน์จากการใช้ แต่รถไฟความเร็วสูงนั้นคานวณ
แล้วไม่คุ้มค่ากับประเทศไทย เพราะจะมีคนใช้ไม่มาก
พอจะคุ้มทุน ทั้งจากเหตุผลเรื่องเส้นทางที่ไม่ตอบสนอง
ความต้องการของไทย ซึ่งจีนต้องการให้สร้างเส้น
กรุงเทพฯ-หนองคาย เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟที่จีนสร้างต่อ
เข้ามาในลาว แต่ไทยไม่ได้จาเป็นต้องมีรถไฟความเร็ว
สูงในเส้นทางนี้ ถ้าต้องทา ไทยจะได้ประโยชน์จาก
เส้นทางอย่าง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ มากกว่า ประกอบ
กับเมื่อคานวณต้นทุนแล้ว ราคาตั๋วรถไฟจะแพงกว่า
หรือไม่ถูกกว่าเครื่องบินเท่าใดนัก ดังนั้นก็จะแข่งกับการ
เดินทางที่มีอยู่โดยสายการบินหรือรถทัวร์ไม่ได้
อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ เสนอว่า การร่วมมือ
กับจีนในโครงการ OBOR ต้องสนองประโยชน์ทั้งสอง
ฝ่ายและมีความเป็นไปได้ทางธุรกิจ แนวทางการใช้
โอกาสจาก OBOR คือไทยควรรู้ว่าตัวเองต้องการ
ประโยชน์อะไรจากจีน เช่น หากต้องการเทคโนโลยีรถ
พลังงานไฟฟ้า (EV) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ หรือ
ชิ้นส่วนอากาศยาน และหากจีนมีเทคโนโลยีด้านนี้อยู่ ก็
มีความเป็นไปได้ทางธุรกิจ โครงการแบบนี้มีโอกาสที่จะ
ขอเงินกู้จากธนาคาร AIIB ได้
2. พัฒนาคนไทยและดึงดูดคนจีนเข้ามาลงทุนใน
ไทย OBOR มิได้หมายถึงเพียงการสร้างทางรถไฟ
หรือ ขุดคอคอดกระ เท่านั้น แต่ OBOR ใน
ความหมายกว้างกว่านั้น คือธงนาว่าจีนจะออกนอก
ประเทศอย่างเป็นระบบ ซึ่งหมายถึงทุนและคนมหาศาล
ที่จะออกมา ไทยสามารถได้ประโยชน์จาก OBOR ได้
โดยการดูดซับทุนและคนที่ไหลออกจากจีนมากมายนี้
โดยมิต้องสร้างทางรถไฟหรือขุดคอคอดกระหากเราไม่
เต็มใจ โดยใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่มีอยู่
โดยเฉพาะที่ตั้งของประเทศ ด้วยการเชื่อมโครงสร้าง
3 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
พื้นฐานภายใต้กรอบ ASEAN Connectivity (ที่
ไทยร่วมกับประเทศอาเซียนสร้างมาระยะหนึ่งแล้ว) เข้า
กับโครงสร้างพื้นฐานของ OBOR พร้อมเพิ่มการ
อานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจจีนและต่างชาติอื่นด้วย
มาตรการทางกฎหมายและภาษี เพื่อดึงดูดทุนและผู้มี
ความสามารถจากจีนและชาติอื่นๆ มาเสริมในการ
พัฒนาประเทศ เช่น ลดภาษีแก่บุคลากรต่างชาติที่มี
ความสามารถสูงให้เข้ามาทางานในอุตสาหกรรม
เป้าหมายในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของ EEC
(Eastern Economic Corridor) ปรับปรุง
กฎหมายประกอบธุรกิจต่างด้าว (FBA) หรือระเบียบ
การต่อใบอนุญาตทางาน (work permit) ให้
สะดวก รวมถึงการสร้างสังคมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตและ
ทางานระยะยาวของนักธุรกิจจีนในไทย เป็นต้น
มาตรการดึงดูดนี้จาเป็น แม้เราจะมีชัยภูมิของประเทศที่
ดีหรือมีความพร้อมต่างๆ เพราะหลายประเทศต่าง
ต้องการดึงดูดจีนเช่นกัน เช่น มาเลเซียเพิ่งได้เงินกู้จีนมา
ทาโครงการสร้างทางรถไฟจากท่าเรือเคลัง (Klang)
ถึงท่าเรือกวนตัน (Kauntan) เป็นสะพานทางบก
เชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ที่อาจสามารถ by-
pass ช่องแคบมะละกา และเชื่อมการขนส่งไปถึงนคร
เซินเจิ้นได้ นอกจากนี้ แม้เราจะได้เปรียบเรื่องที่ตั้ง แต่
นอกจากทางบกและทะเลแล้ว OBOR ยังมีมิติของ E
-Silk Road เช่น E-commerce ด้วย ในมิตินี้
ชัยภูมิอาจไม่ได้ทาให้ได้เปรียบเท่าไรนัก เพราะเป็น
การค้าไร้พรมแดน
พื้นฐานภายใต้กรอบ ASEAN Connec-
tivity (ที่ไทยร่วมกับประเทศอาเซียนสร้างมาระยะ
หนึ่งแล้ว) เข้ากับโครงสร้างพื้นฐานของ OBOR
พร้อมเพิ่มการอานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจจีนและ
ต่างชาติอื่นด้วยมาตรการทางกฎหมายและภาษี เพื่อ
ดึงดูดทุนและผู้มีความสามารถจากจีนและชาติอื่นๆ มา
เสริมในการพัฒนาประเทศ เช่น ลดภาษีแก่บุคลากร
ต่างชาติที่มีความสามารถสูงให้เข้ามาทางานใน
อุตสาหกรรมเป้าหมายในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของ
EEC (Eastern Economic Corridor)
ปรับปรุงกฎหมายประกอบธุรกิจต่างด้าว (FBA) หรือ
ระเบียบการต่อใบอนุญาตทางาน (work permit)
ให้สะดวก รวมถึงการสร้างสังคมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตและ
ทางานระยะยาวของนักธุรกิจจีนในไทย เป็นต้น
มาตรการดึงดูดนี้จาเป็น แม้เราจะมีชัยภูมิของประเทศที่
ดีหรือมีความพร้อมต่างๆ เพราะหลายประเทศต่าง
ต้องการดึงดูดจีนเช่นกัน เช่น มาเลเซียเพิ่งได้เงินกู้จีนมา
ทาโครงการสร้างทางรถไฟจากท่าเรือเคลัง (Klang)
ถึงท่าเรือกวนตัน (Kauntan) เป็นสะพานทางบก
เชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ที่อาจสามารถ by-
pass ช่องแคบมะละกา และเชื่อมการขนส่งไปถึงนคร
เซินเจิ้นได้ นอกจากนี้ แม้เราจะได้เปรียบเรื่องที่ตั้ง แต่
นอกจากทางบกและทะเลแล้ว OBOR ยังมีมิติของ E
-Silk Road เช่น E-commerce ด้วย ในมิตินี้
ชัยภูมิอาจไม่ได้ทาให้ได้เปรียบเท่าไรนัก เพราะเป็น
การค้าไร้พรมแดน
3. ดาเนินความร่วมมือกับจีนโดยยึดประโยชน์
แห่งชาติมิให้ไทยเสียเปรียบ ผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบลได้
ชี้ว่า หลายโครงการที่จีนผลักดันให้ไทยทา เช่น การขุด
คอคอดกระ และการระเบิดเกาะแก่งในแม่น้าโขง
เพื่อให้เรือขนาดใหญ่ของจีนแล่นเข้ามาได้นั้น มีประเด็น
ทางภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคง รวมถึงผลกระทบทาง
สิ่งแวดล้อมร่วมด้วย นอกเหนือจากเรื่องเศรษฐกิจ ไทย
จึงควรระมัดระวังในการดาเนินความร่วมมือกับจีนให้ไม่
เสียเปรียบ เพราะผลประโยชน์หลายเรื่องไม่ตรงกัน
อย่างประเด็นการขุดคอคอดกระ ซึ่งถกเถียงกันมานาน
การศึกษาครั้งล่าสุดของไทยในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ได้ผลว่าไม่คุ้มค่า คลองที่ขุดจะไม่ได้ช่วยย่นเวลาการ
เดินเรือได้มากอย่างที่คาด เพราะเหตุผลเชิงเทคนิคว่า
เรือต้องลดความเร็วลงเมื่อเข้ามาในคลอง เมื่อไม่คุ้มใน
เชิงเศรษฐศาสตร์ ก็เป็นไปได้ว่าที่จีนผลักดันมากเพราะมี
ผลประโยชน์ทางความมั่นคง
4. ไทยควรใช้บทบาทร่วมหลายฝ่ายทั้ง รัฐ
มหาวิทยาลัย Think Tank ภาคธุรกิจ กองทัพ และ
กระทรวงการต่างประเทศ ในการคิดเรื่องยุทธศาสตร์ใหญ่
การทาหรือกาหนดท่าทีสนองยุทธศาสตร์ใหญ่เช่นนี้ต้อง
ระดมความเห็นและความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่จะช่วยกัน
คิด ส่งเสริม และผลักดัน เพื่อให้ไทยมีบทบาทที่
เหมาะสมและได้ประโยชน์จากมหายุทธศาสตร์นี้อย่าง
เต็มที่
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 4
หนิงโป (宁波 Ningbo) เป็นเมืองใหญ่อันดับ
สองและร่ารวยอันดับสองของมณฑลเจ้อเจียง
(Zhejiang) ทางตะวันออกของจีน รองจากเมืองเอก
คือหางโจว หนิงโปอยู่ไม่ไกลจากเซี่ยงไฮ้ และเป็นเมือง
ท่ามาแต่โบราณ เก่าแก่กว่าเซี่ยงไฮ้มากในแง่อายุของ
เมืองและการเป็นเมืองท่าการค้า เซี่ยงไฮ้ กลายเป็น
เมืองท่าสาคัญก็เมื่อไม่ถึง 200 ปีมานี้เอง หลังจากจีน
แพ้สงครามฝิ่น ส่วนหนิงโปนั้นเป็นเมืองท่าสาคัญติดต่อ
กับญี่ปุ่น เกาหลี ยุโรป อาหรับ เอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ อย่างช้าตั้งแต่สมัยราชวงศ์ถังกว่าพันปีมาแล้ว
หนิงโป ถูกกล่าวถึงตอนหนึ่งในสุนทรพจน์เปิด
การประชุม Belt and Road Forum for In-
ternational cooperationโดยประธานาธิบดีสี จิ้
นผิง เมื่อวันที่ 14 พ.ค. ที่ผ่านมา ในตอนที่เขา
เท้าความถึงคุณค่าเส้นทางสายไหมในอดีตที่เป็นก้าว
สาคัญในประวัติศาสตร์ความก้าวหน้าของมนุษย์ ใน
ฐานะที่การติดต่อเชื่อมโยงทาให้อารยธรรมต่างๆ เจริญ
เศรษฐกิจของโลกรุ่งเรือง และความรู้ของโลกเบ่งบาน
“ใ น วั น นี้ เ มื อ ง โ บ ร า ณ อ ย่ า ง Jiuquan,
Dunhuang, Tulufan, Kashi, Samarkand,
Baghdad และ Constantinople กับบรรดา
เมืองท่าโบราณอย่าง Ningbo, Quanzhou,
Guangzhou, Beihai, Colombo, Jeddah
และ Alexandria ล้วนยืนหยัดเป็นอนุสาวรีย์ที่มีชีวิต
ของปฏิสัมพันธ์ในอดีต”1 ที่เกิดจากเส้นทางสายไหมทั้ง
บกและทะเล สีจิ้นผิงกล่าว
หนิงโปกับเส้นทางสายไหมทางทะเลโบราณ
จากการศึกษาทางโบราณคดีในอดีต เมืองกวาน
โจวและกวางโจว (Quanzhou และ Guang-
zhou) เป็นที่ถือกันว่าเป็นจุดตั้งต้นสาหรับเส้นทางสาย
ไหมทางทะเลในสมัยโบราณออกจากแผ่นดินจีน
อย่างไรก็ตาม อย่างน้อยตั้งแต่ปี 2001 นักโบราณคดี
ของจีนพิสูจน์ว่า หนิงโป เป็นเมืองท่าอีกแห่งหนึ่ง ซึ่ง
เป็นจุดตั้งต้นของการเดินเรือจากจีนไปตามเส้นทางสาย
ไหมในทะเลเช่นกัน บ้างก็ว่าหนิงโปมีการแลกเปลี่ยน
สินค้าและวัฒนธรรมกับเกาหลีและญี่ปุ่นตั้งแต่สมัย
ราชวงศ์ถัง (ปกครองจีนระหว่าง ค.ศ. 618-907)
โดยพบหลักฐานเช่น ผ้าไหมและเครื่องเคลือบที่ขนส่ง
มาจากเมืองหนิงโปที่ถูกเก็บรักษาไว้ที่เมืองนาราของ
ญี่ปุ่น นอกจากนี้ ใจกลางเมืองหนิงโป ยังมีเจดีย์
โบราณซึ่งใช้เป็นประภาคารในสมัยราชวงศ์ถังด้วย และ
ยังพบบ้านพักของทูตเกาหลีและเปอร์เซียในสมัยโบราณ
ที่เมืองหนิงโปด้วย ยืนยันถึงการเป็นเมืองตั้งต้น-
จุดหมายปลายทางในเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีต
ขณะที่ศาสตราจารย์ Chen Yan แห่ง
มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ผู้ทาวิจัยเรื่องเส้นทางสายไหมทาง
ทะเลในสมัยโบราณยืนยันว่า ธุรกิจการขนส่งทางเรือ
ของหนิงโปมีขึ้นตั้งแต่ก่อนสมัยราชวงศ์ถังเสียอีก โดย
พบบันทึกโบราณที่ชี้ว่าชาวเมืองหนิงโปมีเทคโนโลยีการ
ต่อเรือเดินทะเลมาอย่างน้อยย้อนไปตั้งแต่ 1 พันปีก่อน
คริสตกาล (สามพันปีมาแล้ว) นอกจากนั้น ยังพบ
หลักฐานว่าเครื่องเคลือบที่ผลิตจากหนิงโปถูกส่งไปขาย
ยัง 17 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชีย
กลาง และไปไกลถึงแอฟริกา2
ภาพ : สีจิ้นผิง พูดถึง หนิงโป ในสุนทรพจน์เปิด
งาน Belt & Road Forum
1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road
forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/
c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-b182d7286068ff4101843e17368e4b10
2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์
http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
5 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
ไม่เพียงเป็นเมืองท่าสาคัญของเส้นทางสาย
ไหมทางทะเลในอดีต ในปัจจุบันหนิงโปก็ยังมีสถานะ
เช่นนั้น และกาลังเพิ่มความสาคัญมากขึ้นเมื่อระดับชาติ
ของจีนมีนโยบายสร้างเส้นทางสายไหมทางบกและทะเล
แห่งศตวรรษที่ 21 ขึ้น ข้อได้เปรียบที่สุดของหนิงโปก็
คือภูมิศาสตร์ที่เป็นอ่าวและท่าเรือ และความเชี่ยวชาญ
ของการดาเนินกิจการท่าเรือค้าขายกับโลกภายนอกมาก
ว่าพันปี ซึ่งได้สร้างให้เกิดวัฒนธรรมของเมืองที่สัมพันธ์
กับเรื่องการค้าอย่างเข้มแข็ง ความเกี่ยวข้องหลักของห
นิงโปกับ Belt and Road ในยุคนี้ก็คือ การเพิ่ม
ความสัมพันธ์ทางการค้าการลงทุนกับประเทศที่อยู่บน
OBOR มากขึ้น และการปรับปรุงขยายท่าเรือหนิงโป-
โจวชาน (Zhoushan) สองท่าเรือหลักของเมืองที่ถูก
รวมกันในปี 2015 เพื่อเสริมศักยภาพของการเป็นหนึ่ง
ในท่าเรือหลักของจีนรองรับการสร้างเส้นทางสายไหม
ทางทะเลในศตวรรษที่ 21 จากข้อมูลล่าสุดในปี 2015
ท่าเรือหนิงโป – โจวชาน เป็นท่าเรือที่คึกคักอันดับ 4
ของโลก (รองจากเซี่ยงไฮ้ สิงคโปร์ และเสิ่นเจิ้น
ตามลาดับ) มีเส้นทางเดินเรือกว่า 235 เส้นทาง เชื่อม
กับท่าเรือกว่า 600 แห่งในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก3
แผนปฏิบัติการของเมืองหนิงโปในการเตรียม
ความพร้อมรองรับเส้นทางสายไหมใหม่ทางทะเลนั้น
เป็นไปตามแผนใหญ่ของมณฑลเจ้อเจียง ที่มีชื่อว่า แผน
610 ผ่านการพัฒนาใน 6 ด้าน แต่ละด้าน
ประกอบด้วย 10 โครงการ 6 ด้านนี้ประกอบด้วย 1)
การกระชับความร่วมมือกับท่าเรือต่างชาติ 2) การขยาย
และอานวยความสะดวกช่องทางการทาธุรกิจใน
ต่างประเทศ 3) กระตุ้นการค้ากับต่างประเทศ 4)
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม 5) ส่งเสริม E-
commerce ข้ามชาติ และ 6) ส่งเสริมการปฏิรูป
เชิงโครงสร้าง4
ในเรื่องท่าเรือ นอกจากการปรับปรุงในด้าน
กายภาพแล้ว ยังมีการประสานข้อมูลเพื่ออานวยความ
สะดวกธุรกิจขนส่งสินค้าทางเรือจากหนิงโปสู่ประเทศ
ต่างๆ ผ่านความร่วมมือระหว่าง Ningbo Ship-
ping Exchange รัฐวิสาหกิจของเมืองหนิงโปที่เป็น
ฐานข้อมูลและให้คาปรึกษาด้านธุรกิจขนส่ง กับ Baltic
Exchange ศูนย์กลางข้อมูลการขนส่งสินค้าทางเรือ
ใหญ่สุดของโลก ซึ่งตั้งอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ
ในปี 2015 เพื่ออานวยความสะดวกการค้าและการ
ขนส่งทางเรือระหว่างจีนกับประเทศต่างๆ มากขึ้น5
ภาพ : ท่าเรือหนิงโป—โจวชาน
ที่มา : http://container-news.com/wp-content/uploads/2016/04/6-Ningbo-Zhoushan-660x330.jpg
หนิงโปกับเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21
3Ningbo plans for Belt and Road construction. ออนไลน์ http://www.chinadaily.com.cn/
m/ningbo/2015-11/23/content_22510425.htm
4Ji Xiang. Ningbo sees growth potential with Europe from Belt and Road initiative.
ออนไลน์http://www.shanghaidaily.com/city-specials/ningbo/Ningbo-sees-growth-
potential-with-Europe-from-Belt-and-Road-initiative/shdaily.shtml.
5Baltic Exchange collaborates with Ningbo Shipping Exchange. ออนไลน์http://
www.hellenicshippingnews.com/baltic-exchange-collaborates-with-ningbo-shipping-
exchange/
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 6
ในด้านการลงทุน ตามข้อมูลของกรรมาธิการด้านพาณิชย์ของรัฐบาลเมืองหนิงโป จนถึงปี 2015 เมืองหนิง
โปลงทุนเกือบ 2 พันล้าน ในการก่อตั้งบริษัทและองค์กรกว่า 500 แห่งในประเทศต่างๆ บนเส้นทาง OBOR
นอกจากนี้ แม้จะเป็นเมืองท่า แต่หนิงโปยังอยู่ใกล้เมืองอี้อู (Yiwu) เมืองค้าส่งใหญ่ที่สุดของจีน ซึ่งมีทาง
รถไฟขนส่งสินค้าที่เชื่อมต่อไปยังลอนดอนได้ภายใน 17 วัน เริ่มวิ่งในต้นปี 2017 ในปี 2016 เมืองหนิงโปสร้าง
ทางรถไฟสายใหม่ชื่อ Yongjin เพื่อเชื่อมไปถึงเมืองอี้อู6 เพื่อมิให้ตกขบวนเส้นทางสายไหมทางบกด้วย
ในด้านการค้า ภูมิภาคสาคัญที่หนิงโปค้าขายด้วยและกาลังดาเนินการกระตุ้นความร่วมมือทางการค้าเพิ่มขึ้น
ได้แก่ ยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก และอาเซียน ในครึ่งปีแรกของปี 2015 การส่งออกของหนิงโปไปยังสามภูมิภาค
นี้คิดเป็นราว 37 เปอร์เซ็นต์ของการส่งออกต่างชาติทั้งหมดของหนิงโป ในปัจจุบัน อาเซียนเป็นคู่ค้าลาดับสามของหนิง
โป เมืองหนิงโปกาลังก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับอุตสาหกรรมชั้นสูงและธุรกิจที่มีนวัตกรรมจากสิงคโปร์
ขณะเดียวกัน ธุรกิจจีนหลายแห่งของเมืองหนิงโปก็ขยายสาขาและฐานไปทาการค้าและลงทุนในอาเซียน โดยเฉพาะ
ในเวียดนามและกัมพูชา ซึ่งมีแรงงานราคาถูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้า ซึ่งเป็น
อุตสาหกรรมดั้งเดิมของเมือง7
นอกจากนี้ ด้าน E-commerce ภาพลักษณ์ของมณฑลเจ้อเจียงในปัจจุบันเป็นเมืองแห่ง E-
commerce ไปแล้ว ส่วนหนิงโปซึ่งเป็นเมืองอันดับสองในเจ้อเจียงก็เป็น 1 ใน 5 เมืองแรกที่ได้รับอนุญาตให้ทา
การค้า E-commerce ข้ามชาติได้ โดยปัจจุบันหนิงโปมีบริษัททาการค้า E-commerce ระหว่างประเทศกว่า
200 แห่ง และในปี 2015 ก็ทาสถิติเป็นเมืองแรกในประเทศจีนที่มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศผ่าน E-
commerce เกิน 1 พันล้านหยวน
โดยสรุป พันปีผ่านไป หนิงโป ก็ยังคงเป็นเมืองท่าและนครการค้าสาคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลที่
เชื่อมโยงจีนกับส่วนอื่นๆ ของโลกเฉกเช่นเดียวกับเมื่อพันปีก่อน แต่ได้เพิ่มประเภทและปริมาณการค้ามากขึ้นใน
ปัจจุบัน จากที่เคยขนส่งสินค้าทางเรืออย่างเดียว ก็มีการขยายไปลงทุน และค้าขายผ่าน E-commerce ด้วย
6Ji Xiang. Ningbo sees growth potential with Europe from Belt and Road
initiative. ออนไลน์http://www.shanghaidaily.com/city-specials/ningbo/Ningbo
-sees-growth-potential-with-Europe-from-Belt-and-Road-initiative/
shdaily.shtml
7เพิ่งอ้าง
7 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีแห่ง
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน ได้กล่าวปาฐกถา
เปิดการประชุม Belt and Road Forum เพื่อ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ (the Belt and
Road Forum (BRF) for International
Cooperation) ณ ก รุ ง ปั ก กิ่ ง ส า ธ า ร ณ รั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนจีน เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม
2560 ที่ผ่านมา
นาย สี จิ้นผิง ได้เริ่มต้นการกล่าวปาฐกถา
ด้วยการต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมจากกว่า 100 ประเทศ
ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นผู้นาประเทศ คณะรัฐมนตรี
ตลอดจนบุคคลชั้นนาทั้งจากจากภาครัฐและเอกชน ที่มา
ร่วมกันเพื่อสร้างความร่วมมือที่ดีและเจริญก้าวหน้าอันจะ
เป็นประโยชน์ต่อชาติสมาชิกและประชาคมโลกโดยรวม
สืบไป จากนั้นได้กล่าวถึงความริเริ่มของผู้คนในอดีตที่ก่อ
ร่างเส้นทางสายไหมเมื่อกว่า 2,000 ปีที่แล้วด้วยความ
ยากลาบาก ทั้งเส้นทางทางบกและทางทะเล จนกระทั่ง
เส้นทางสายไหมได้เกิดขึ้นอันเป็นเส้นทางแห่งความ
ร่วมมือ เปิดกว้าง ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สะท้อน
ถึงความมีอารยะของมนุษยชาติ
สันติภาพและความร่วมมือ
นับแต่อดีตมาแล้วที่จีนนั้นได้แสวงหาความ
ร่วมมือกับโลกด้วยวิถีแห่งสันติ เช่น กว่าเมื่อ 140 ปี
ก่อนคริสตกาล Zhang Qian ซึ่งเป็นราชทูตในยุค
สมัยราชวงศ์ฮั่น ได้เดินทางจากเมืองฉางอานเพื่อภารกิจ
ในการเชื่อมสัมพันธ์โลกตะวันออกและตะวันตกไว้
ด้วยกัน และในช่วงต้นของศตวรรษที่ 15 เจิ้ง เหอ นัก
เดินเรือนามอุโฆษได้เดินเรือกว่า 7 ครั้งไปยังทิศ
ตะวันตก ซึ่งยังเป็นที่กล่าวขานจนทุกวันนี้ จะเห็นว่าการ
เดินทางในเส้นทางสายไหมนั้นล้วนเป็นการสานสัมพันธ์
ระหว่างกันที่ไร้ซึ่งความรุนแรงใดๆ
เปิดกว้างและยอมรับความหลากหลาย
เส้นทางสายไหมได้แผ่ขยายไปถึงแม่น้าไนล์
ไทกริซและยูเฟรนติซ สินธุ คงคา ฮวงโห และ แยงซี
ซึ่งแม่น้าเหล่านี้เป็นอู่อารยธรรมสาคัญของโลกทั้งสิ้น
ตลอดจนศาสนาสาคัญของโลกด้วยเช่นกัน เส้นทางสาย
ไหมจึงเป็นสะพานที่เชื่อมต่อผู้คนที่หลากหลายชาติพันธุ์
วัฒนธรรมและความเชื่อไว้ด้วยกัน ในปัจจุบันมหานคร
และเมืองท่าที่สาคัญของโลกที่อยู่ในเส้นทางนี้ เช่น
หนิงโบ โคลอมโบ แบกแดด และอเลกซานเดรีย
ยังคงเป็นภาพสะท้อนถึงความหลากหลายนี้ไว้ว่าความ
เจริญรุ่งเรืองทั้งหลายนั้นล้วนเกิดขึ้นจากการเปิดใจ
ยอมรับความแตกต่างระหว่างกัน
ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทางสายไหมแต่โบราณนั้นใช่แต่มีเรื่องการ
แลกเปลี่ยนสินค้าเท่านั้น ยังมีการร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ระหว่างกันอีกด้วย ด้วยเส้นทางนี้เองที่ผ้าไหม
เครื่องเคลือบดินเผา เครื่องไม้เคลือบเงา เครื่องเหล็ก
ได้ถูกส่งไปยังโลกตะวันตก ในขณะที่กระดาษ ใยป่าน
เครื่องเทศ องุ่น และทับทิม ได้เข้าสู่จีน เช่นเดียวกับ
ดาราศาสตร์ การทาปฏิทิน แพทยศาสตร์ จากอาหรับ
ได้เข้าสู่ประเทศจีนเช่นกัน และในทางกลับกันนวัตกรรม
อันยิ่งใหญ่ทั้ง 4 ประการ(เข็มทิศ ดินปืน การทา
แปลและเรียบเรียงจาก "Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum."
Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum - Xinhua | Eng-
lish.news.cn. May 27, 2017. Accessed May 25, 2017. http://news.xinhuanet.com/
english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-b182d7286068ff4101843e17368e4b10.
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 8
กระดาษ : ผู้แปล) และการพิมพ์ และการเลี้ยงหม่อน
ไหมได้กระจายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก ไม่เพียงเกิด
การแลกเปลี่ยนแต่ยังมีการผสมผสานจนเกิดสิ่งใหม่ขึ้น
แนวคิดของลัทธิขงจื้อที่เกิดในจีนได้แพร่ไปยังนักคิด
ยุโรป เช่น Leibniz และ Voltaire จนเกิดเป็น
ความคิดใหม่ ๆ ขึ้นอีกขั้นหนึ่งอันเป็นผลจากการ
ผสมผสานความรู้ระหว่างกัน
สี ยังกล่าวย้าว่าความเจริญรุ่งเรืองในอดีตนั้น
เป็นผลจากความร่วมมืออันดีระหว่างกัน และในปัจจุบัน
เราอยู่ในยุคที่มนุษย์และรัฐชาติต่าง ๆ พึ่งพาอาศัยซึ่ง
กันและกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน และการพัฒนาเพื่อ
ยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างสันติภาพของผู้คนนั้นก็มี
อยู่อย่างเข้มแข็ง แต่ตอนนี้โลกกาลังเผชิญกับความท้า
ทายต่าง ๆ มากมาย เราต้องการการพัฒนาที่สมดุลและ
เสมอภาค เราพบปัญหาการก่อการร้ายและความไม่สงบ
ในบางพื้นที่ ฉะนั้นเราจึงต้องการจักรกลตัวใหม่ที่จะ
ผลักดันให้โลกก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง ในปี 2013 ที่ผ่านมา
จีนจึงได้เสนอการสร้างแผนยุทธศาสตร์ One Belt
One Road ขึ้น ซึ่งเป็นโครงข่ายการเชื่อมต่อระหว่าง
โลกตะวันออกและโลกตะวันตก โดยที่โครงการนี้มิใช่
การเริ่มต้นจากศูนย์ หากแต่เป็นการเติมเต็มความ
พยายามของชาติต่าง ๆ ที่จะเชื่อมถึงกันมาตลอด โดย
ได้รับความร่วมมือจากชาติต่าง ๆ เป็นอย่างดี และได้มี
ข้อตกลงกับชาติต่าง ๆ มากกว่า 40 ชาติแล้ว และใน
การประชุมครั้งนี้จะเป็นการสร้างข้อตกลงกับชาติต่าง ๆ
เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งจะเสริมความเข้มแข็งให้กับชาติที่ร่วมมือ
กันเป็นสมาชิกในแผนยุทธศาสตร์นี้ จะเห็นว่าตลอด 4
ปีที่ผ่านมานั้นได้มีความคืบหน้าที่เป็นรูปธรรมของ
ยุทธศาสตร์ Belt and Road แล้ว เช่น การ
เชื่อมต่อทางรถไฟระหว่างลาวและจีน การยกระดับ
ท่าเรือ Gwada ในปากีสถาน และยังมีแผนพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ในอนาคตอีกด้วย ซึ่งจะช่วยให้
การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนที่อยู่ห่างไกลกันเป็นไปได้ง่ายขึ้น
ไม่เพียงจะส่งเสริมด้านการค้าเท่านั้นแต่ยังส่งผลต่อ
การศึกษา สาธารณสุข และด้านอื่น ๆ อีกด้วย
9 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
อุตสาหกรรมและการเงิน
สี ยังได้เน้นย้าว่าอุตสาหกรรมคือรากฐานของ
เศรษฐกิจ การประสานงานระหว่างชาติต่าง ๆ จะช่วย
ให้แต่ละชาติสามารถเน้นพัฒนา อุตสาหกรรมในด้านที่
ตนถนัดและพึ่งพากันและกันในด้านอื่น ๆ อันจะเป็น
โอกาสอันดีในการยกระดับการพัฒนาอีกครั้งหนึ่ง เป็น
การเปิดฉากให้ธุรกิจยุคใหม่ได้เกิดขึ้นซึ่งจะยกระดับ
เศรษฐกิจต่อไป ส่วนการเงินนั้นเป็นเหมือนเลือดที่หล่อ
เลี้ยงให้ระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันดาเนินไปด้วยดี สี ได้
เสนอให้พัฒนาระบบการเงินให้เน้นไปที่การมี
เสถียรภาพและความยั่งยืนมากขึ้น และมีการร่วมมือ
ระหว่างรัฐและเอกชนมากขึ้น และเปิดกว้างให้มีความ
หลากหลายและมีการเข้าถึงได้มากขึ้นด้วย
โครงสร้างพื้นฐาน
โครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกันคือ
รากฐานของการพัฒนา เราควรยกระดับการเชื่อมโยงทั้ง
ในทางบก ทะเล และอากาศ และอวกาศ นอกจากนี้
ยังได้เน้นย้าถึงความสาคัญของการพัฒนาพลังงาน
ทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย รวมถึงการ
สร้างมาตรการกลางที่เป็นสากล ร่วมกันทาให้การ
เดินทางระหว่างรัฐต่าง ๆ นั้นเป็นไปด้วยง่าย สร้าง
โครงข่ายการเชื่อมต่อข้ามพื้นที่ และนโยบายที่ก้าวพ้น
เขนแดนมากขึ้นด้วย
การเปิดกว้าง
เราควรเปิดกว้างมากกว่าเลือกที่จะปิดกั้นโดด
เดี่ยวตัวเอง การเปิดรับโลกาภิวัตน์นั้นแม้จะมีปัญหา
ตามมาบ้าง แต่ในระยะยาวแล้วจะนามาซึ่งความ
เจริญก้าวหน้า Belt and Road จะเป็นโครงข่ายที่
จะนามาสู่ความร่วมมือที่จะกระตุ้นการพัฒนาเศรษฐกิจที่
มีความยั่งยืนได้ ในขณะเดียวกันก็ต้องตระหนักถึงภาวะ
ของชาติต่าง ๆ ที่มีความจาเป็นต้องเปิดรับเฉพาะใน
ระดับที่มีความเหมาะกับพื้นฐานของชาติ ด้วยการร่วมมือ
กันชาติต่าง ๆ สามารถสร้างแบบแผนแห่งความร่วมมือ
ที่ให้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างแท้จริง
การค้า
การค้านั้นเป็นจักรกลสาคัญที่จะพัฒนา
เศรษฐกิจ ทั้งนี้ต้องเปิดรับโลกาภิวัฒน์และส่งเสริม
การค้าเสรีซึ่งจะช่วยการลงทุนและการค้านั้นมีความ
คล่องตัว และต้องเน้นการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าด้วย
อันจะทาให้เกิดประโยชน์กับทุกคนอย่างแท้จริง การ
ร่วมมือกันยังนามาสู่การสร้างนวัตกรรมซึ่งจะช่วยผลักดัน
เศรษฐกิจยุคใหม่ เช่น digital economy และ
big data ซึ่งจะเป็นเส้นทางสายไหมดิจิตัลแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ด้วยอีกทั้งต้องมีการผนวกเอา
วิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยีเข้ากับการอุตสาหกรรม
นอกจากนี้เราควรสร้างพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่ในชาติต่าง ๆ
ได้ฝึกความเป็นผู้ประกอบการและทดลองทาธุรกิจที่เป็น
การค้นหาฝันของตัว และยังต้องคาถึงการสร้าง
เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วย การพัฒนาที่
คานึงถึงสิ่งแวดล้อมนั้นคือกุญแจสาคัญของการพัฒนาที่
รอบด้านและยั่งยืน โดยยึดตามกระบวนทัศน์การพัฒนา
อย่างยั่งยืน 2030 (2030 Agenda for Sus-
tainable Development)
การศึกษาและคลังปัญญา
เราควรทาให้ Belt and Road เป็น
หนทางที่จะเชื่อมอารยธรรมต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งจะ
ทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนแทนความขัดแย้ง
ด้วยการสร้างกลไกต่าง ๆ ที่จะเชื่อมวัฒนธรรมและผู้คน
เข้าไว้ด้วยกัน ควรส่งเสริมการร่วมมือกันทางการศึกษา
ระหว่างชาติ และสถาบันคลังปัญญาต่าง ๆ ควรมี
บทบาทมากขึ้นและการเชื่อมโยงสร้างเป็นเครือข่าย
กว้างขวาง นอกจากนี้ในควรมีการสร้างความร่วมมือใน
ด้านวัฒนธรรม การกีฬา การท่องเที่ยว การเมือง และ
NGOs ด้วย
ก้าวพ้น New Normal
จีนได้มาถึงการพยายามครั้งใหม่ในการผลักดัน
เศรษฐกิจโลกให้พ้นจาก new normal โดยให้
คามั่นว่าจะสนับสนุนโครงสร้างต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาที่
ยั่งยืน พร้อมจะร่วมมือกับทุกชาติที่ยอมรับในหลัก
พื้นฐาน 5 ประการแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ โดย
WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 10
จีนจะไม่แทรกแซงกิจการภายในของชาติต่าง ๆ เพื่อให้
เป็นการร่วมมือที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์อย่างแท้จริง
โดยปัจจุบันได้มีความร่วมมือกับนานาชาติที่ครอบคลุม
ทั้งในมิติของสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น การสร้างโครงสร้าง
พื้นฐานต่าง ๆ และในด้านข้อมูลรวมถึงข้อกฎหมายด้วย
นอกจากนี้ยังให้คามั่นว่าจะเพิ่มเงินลงทุนโดยรัฐบาลจีน
เองรวมถึงสถาบันการเงิน เช่น AIIB ที่จะสนับสนุน
เงินกู้ที่รวมกันแล้วมีมูลค่าหลายร้อยล้านหยวน ในด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองจีนก็จะสนับสนุนด้วย
เช่นกัน ทั้งในรูปของการให้ทุนระยะสั้นเพื่อเข้ามาทา
วิจัยในประเทศจีน และการสนับสนุนโครงการวิจัยต่าง
ๆ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการพัฒนาที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและ
ลดปัญหาโลกร้อนด้วย นอกจากนี้จีนยังให้คามั่นว่าจะให้
งบประมาณกว่า 60,000 ล้านหยวนเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้คน โดยจะมอบแก่ประเทศและ
องค์กรระหว่างประเทศตลอด 3 ปีต่อจากนี้ไป
ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้การดาเนินการหลังจากนี้เป็นไปด้วยดี
จีนจะสร้างศูนย์ประสานงานต่าง ๆ ที่เอื้อให้การสร้าง
ความร่วมมือกับชาติและองค์กรต่าง ๆ เป็นไปอย่าง
ราบรื่น เช่น ศูนย์ล่ามเพื่อการติดตามงานต่อเนื่องจาก
การประชุม ศูนย์ประสานงานระหว่างจีนและ IMF
นอกจากนี้ยังให้ความสาคัญกับการสร้างความร่วมมือกับ
กลุ่ม NGO ต่าง ๆ เพื่อเป็นหนทางในการประสาน
ระหว่างประชาชนในแต่ละชาติได้โดยตรง
ท้ายที่สุดสีได้ฝากไว้ว่าจีนและชาติสมาชิก
ทั้งหลายจะร่วมสร้าง Belt and Road ไปด้วยกัน
ซึ่งในท้ายที่สุดแล้วความสาเร็จของโครงการนี้จะนามาซึ่ง
ผลประโยชน์แก่โลกตลอดจนประชาชนทั้งหลายเช่นกัน
11 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017
ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง แห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน และประธานาธิบดี เรเซพ ตอยยิบ อัรโด
กัน (Recep Tayyip Erdogan) ได้แสดงความ
มั่นใจว่าทั้งสองชาติจะกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น
ยิ่งขึ้นภายใต้กรอบของยุทธศาสตร์ Belt and Road
โดย สี ได้กล่าวชื่นชมถึงความกระตือรือร้น
ของตุรกีในการมีส่วนร่วมในยุทธศาสตร์นี้ และยังกล่าว
ว่าจีนพร้อมแล้วที่จะยกระดับความร่วมมือในโปรเจคครั้ง
ใหญ่นี้อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นในด้านออนไลน์ การ
ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การร่วมมือในทาง
อุตสาหกรรมและนโยบายรัฐ และการค้าที่สมดุล โดย
ทั้งสองชาติควรจะร่วมมือกันบนฐานของความเสมอภาค
และผลประโยชน์ร่วมกัน นอกจากนี้ สียังกล่าวว่า
ทางการจีนยังมีความยินดีที่รัฐบาลตุรกีมีความประสงค์จะ
จัดงานส่งเสริมการท่องเที่ยวตุรกีในประเทศจีนในปี
2018 อันจะเป็นการเชื่อมโยงประชาชนของทั้งสองชาติ
เข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้งยังได้บรรลุข้อตกลงที่จะแลกเปลี่ยน
สร้างศูนย์เผยแพร่วัฒนธรรมของทั้งสองประเทศด้วย
ท้ายที่สุด สี ยังกล่าวว่าทั้งสองชาติควรกระชับ
ความสัมพันธ์ในด้านความมั่งคงปลอดภัยและการต่อต้าน
การก่อการร้ายให้มากขึ้น โดยจีนมีความพร้อมที่จะเป็น
ผู้ประสานการพูดคุยระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เพื่อนามาซึ่ง
ความสงบในภูมิภาคตะวันออกกลางให้เกิดขึ้นอีกครั้ง
หนึ่ง1
ส่วน อัรโดกัน ได้กล่าวว่าตุรกีได้ตอบรับการ
ร่วมมือเชิงปฏิบัติการกับจีนด้วยดี และมีความพร้อม
อย่างมากที่จะสร้างความร่วมมือกับจีนในด้านต่าง ๆ
เช่น การลงทุน เครือข่ายการขนส่ง และการก่อสร้าง
โครงสร้างพื้นฐาน และยินดีเปิดรับการลงทุนจากนัก
ลงทุนจีน และยังกล่าวด้วยว่าจะกระชับความร่วมมือกับ
จีนในประเด็นปัญหาในตะวันออกกลาง เขายังย้าว่าเขา
เชื่อมั่นว่าเส้นทางสายไหมใหม่ซึ่งเชื่อมทวีปเอเชีย ยุโรป
แอฟริกา และอเมริกาใต้ จะเป็นสิ่งที่มีผลต่อการ
กาหนดอนาคตโลกอย่างแน่นอน และยังเชื่อว่าโครงการ
นี้จะเป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายกระทั่งกลายเป็นต้นแบบ
สาคัญของความร่วมมือที่ประสบความสาเร็จ
อัรโดกัน ยังกล่าวด้วยว่าการที่ชาติต่าง ๆ ซึ่ง
อยู่ในเส้นทางของ Belt and Road ได้มีส่วนร่วมใน
การสนับสนุนงบประมาณแก่โครงการ Belt and
Road นั้นเป็นเรื่องสาคัญที่จะทาให้โครงการนี้ประสบ
ความสาเร็จด้วยดี หากคานึงว่าเส้นทางนี้จะครอบคลุม
ไปถึงคนกว่า 4.5 พันล้านคนแล้วมีการประเมินว่า
ประเทศเอเชียซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตดี
ที่สุดควรเพิ่มงบการลงทุนแต่ละปีรวมกันกว่า 1.7 ล้าน
ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปีกระทั่งปี 2030 เพื่อเพิ่มการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ การแก้ปัญหาความยากจน และ
ปัญหาภูมิอากาศแปรปรวน การร่วมกันลงทุนเพื่อพัฒนา
นี้ควรจะเป็นการร่วมกันในบรรยากาศแห่งความร่วมมือ
มิใช่การเป็นคู่แข่งกัน ซึ่งจะช่วยให้การรวมกลุ่มทาง
การเงินและการร่วมมือระหว่างรัฐบาลประเทศต่าง ๆ
และส่งผลให้บรรยากาศแห่งความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกันได้เกิดขึ้นในภาคการเมืองด้วย โดยที่ตุรกีเอง
เป็นผู้ริเริ่มรายใหญ่ในธนาคาร AIIB ด้วยเงินลงทุนกว่า
2.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ2
1"China, Turkey to strengthen cooperation under Belt and Road Initiative." China, Turkey to strengthen co-
operation under Belt and Road Initiative - Xinhua | English.news.cn. May 17, 2017. Accessed May 25, 2017.
http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/13/c_136279883.htm.
2"Erdoğan emphasizes importance of adopting win-win approach in New Silk Road project." DailySabah. May
14, 2017. Accessed May 26, 2017. https://www.dailysabah.com/economy/2017/05/15/erdogan-emphasizes-
importance-of-adopting-win-win-approach-in-new-silk-road-project/amp.
ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บูรพาภิวัตน์
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
เพ่งประชาธิปไตยโลก
พิศประชาธิปไตยไทย
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State)
อาทิตย์ ทองอินทร์
Coming soon
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
CPWI Bookstore
วิทยาลัย
รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน
จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ
ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ
ดังนี้
เพื่อการพัฒนา
ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์
ระหว่างสถาบันทาง
วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา
เชิงยุทธศาสตร์
เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์
เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย
ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้
และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์
ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้
กับสังคมในวงกว้าง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ
ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี
ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที
การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Contenu connexe

Plus de Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 

World Think Tank Monitor ฉบับที่ 22 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560

  • 1. ปี ที่ 3 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2560 เบื้องลึกมหายุทธศาสตร์ บทสรุปปาฐกถานาการประชุม Belt and Road Forum หนิงโป กับ One Belt One Road ความสัมพันธ์ จีน-ตุรกี ภายใต้One Belt One Road เส้นทางสายไหมใหม่ของจีน
  • 2. i | WORLD THINK TANK Monitor MAY 2017 ยุวดี คาดการณ์ไกล อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปลายฟ้า บุนนาค ปาณัท ทองพ่วง อุสมาน วาจิ ปลายฟ้า บุนนาค https://fruitofadventure.com/2012/01/ http://www.gtreview.com/news/asia/belt-and- road-forum-five-things-we-learned/ พฤษภาคม 2560 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 http://rsu-brain.com/ Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ออกแบบปกและรูปเล่ม ภาพปก ภาพปกใน เผยแพร่ CONTACT US
  • 3. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | ii ในช่วงที่ผ่านมา จีนได้จัดการประชุมครั้งยิ่งใหญ่ คือ The Belt And Road Forum (BRF) for Inter- national Cooperation ในการนี้ World Think Tank Monitor ฉบับนี้ของเรา จึงได้รวบรวมเนื้อหาสาระสาคัญที่ เกี่ยวกับ One Belt One Road ได้แก่ สรุปปาฐกถานาการประชุม Belt and Road Forum (BRF) เบื้องลึกมหา ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ของจีน ความสัมพันธ์จีน—ตุรกี ภายใต้ Belt and Road และหนิงโปกับ One Belt One Road เชิญติดตามเนื้อหาด้านในได้เลยค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ เบื้องลึก เส้นทางสายไหมใหม่ 1 ของจีน หนิงโป กับ One Belt One Road 4 11 จีน - ตุรกี ภายใต้ Belt & Road Belt Road 7 Forum CPWI Bookstore 12 &
  • 4. 1 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 14-15 พ.ค.ที่ผ่านมา จีนจัดการประชุม Belt & Road Forum อย่างใหญ่โตมโหฬาร มี ผู้นาและตัวแทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมกว่า 130 ประเทศ และ 70 องค์กรระหว่างประเทศ จึงขอ นาเสนอสาระในเรื่องนี้ที่เกี่ยวกับประเทศไทย จากเวที ยุทธศาสตร์ เรื่อง โอกาสของไทยกับยุทธศาสตร์ Belt and Road ของจีน ซึ่งสถาบันคลังปัญญาฯ จัดขึ้น เมื่อเร็วๆ นี้ โดยมีอดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO บริษัทStrategy613 บริษัทที่ปรึกษาด้านธุรกิจผู้เชี่ยวชาญเรื่องจีน และ ผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ครั้ง นี้ โดยพูดถึงเบื้องหลังของวัตถุประสงค์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคงของจีนในการทายุทธศาสตร์ Belt and Road /One Belt One Road (OBOR) หรือที่เรียกว่า ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหม ใหม่ ซึ่งเป็นนโยบายที่จะเชื่อมจีนเข้ากับส่วนอื่นๆ ของ เอเชีย และกับยุโรป และแอฟริกา ผ่านการพัฒนา โครงข่ายคมนาคมขนส่งทางบกและทะเล เพื่อกระตุ้น การค้าในภูมิภาคนี้ของโลก คุณวิบูลย์ คูสกุล กล่าวว่า ในภาพรวม จีนคิด OBOR เป็นยุทธศาสตร์เพื่อไปสู่เป้าหมายความฝันจีน (China Dream) ซึ่งจีนตั้งใจจะก้าวไปเป็นสังคม กินดีอยู่ดีปานกลางในปี 2021 และเป็นประเทศ พัฒนาแล้วในปี 2049 โดยการหันทิศทางของประเทศ ที่มา : https://media.licdn.com/mpr/mpr/AAEAAQAAAAAAAAe6AAAAJDAzOTU5YzEzLTViMTItNDQzMC05OWI5LTgxMjA3MzBiOTgwMg.jpg
  • 5. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 2 ออกไปสัมพันธ์กับโลกภายนอกอย่างเต็มรูปแบบ ในอีก 20-30 ปีต่อจากนี้ นอกจากนี้ OBOR ยังตอบโจทย์ ทางการเมืองและความมั่นคงของจีนด้วย เช่น ตอบโต้ นโยบาย Pivot/Rebalance to Asia ของสหรัฐ ในช่วงต้นของการประกาศแผน OBOR เมื่อปี 2013 ตอบโต้การกดดันของสหรัฐต่อจีนในทะเลจีนใต้ และ ภาพลักษณ์ที่จีนคุกคามเพื่อนบ้าน ด้วยการทาให้เห็นว่า จีนมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่นุ่มนวลและเกื้อกูลกับ ประเทศอื่นๆ ได้ผ่านข้อเสนอ OBOR ทางเศรษฐกิจ คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย CEO บริษัท Strategy613 มองว่า OBOR ตอบโจทย์ จีนยุคนี้ที่ต้องการออกหาตลาดในต่างประเทศมากขึ้น เพื่อระบาย over-capacity ของเศรษฐกิจจีน ด้วย การออกไปขายโครงสร้างพื้นฐานในต่างประเทศโดยใช้ แรงงานจีนเพื่อสร้างการจ้างงานให้คนจีน และเพื่อ แปลงทุนสารองเงินตราต่างประเทศและพันธบัตรสหรัฐที่ จีนถือไว้ล้นเหลือให้เป็นสินทรัพย์ที่จับต้องได้ เช่น ถนน รางรถไฟ ท่าเรือ ในประเทศต่างๆ รวมทั้งผลักดันให้ การใช้เงินหยวนในโลกแพร่หลายและเพื่อให้บริษัทจีน ขยายสัดส่วนรายได้ให้มาจากนอกประเทศมากขึ้น ในปัจจุบัน นโยบาย OBOR ได้เดินหน้าทาไป แล้ว และจะเป็นทิศทางระยะยาวที่จีนจะเดินอีก 20- 30 ปีดังที่กล่าวไป แต่เวลานี้การอนุมัติโครงการต่างๆ ต้องชะลอตัวลงชั่วคราว เนื่องจากจีนอยู่ในช่วงชะลอการ ใช้จ่าย เพราะค่าเงินหยวนอ่อนลงทาให้เงินสารอง ต่างประเทศหายไปถึง 1 ล้านล้านเหรียญ เมื่อใดที่จีน พร้อม การขับเคลื่อน OBOR ก็จะเดินหน้าต่อไปอย่าง แน่นอน ข้อเสนอท่าทีของไทยต่อ OBOR จากที่ประชุม 1. ให้ไทยยึดหลักทาความร่วมมือแบบ win- win กับจีน สนองประโยชน์ทั้งสองฝ่ายอย่างเท่าเทียม อะไรที่ไม่ดีกับเราก็ไม่จาเป็นต้องทา แน่นอนว่าไทยต้อง รักษามิตรภาพที่ดีมากกับจีนไว้ในภาพรวม โดยเฉพาะ เมื่อจีนมีน้าหนักกับเศรษฐกิจไทยมากในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม เราต้องไม่เกรงใจจีนจนเกินไป โครงการ ใดที่สนองประโยชน์ฝ่ายหนึ่งมากกว่าอีกฝ่ายย่อมไม่อาจ สาเร็จหรือหากสาเร็จก็ไม่ยั่งยืน เราไม่จาเป็นต้อง ร่วมมือตามวาระของจีนอย่างเดียว แต่ควรต่อรองจนเรา ได้ประโยชน์เต็มที่ และควรเป็นฝ่ายริเริ่มความร่วมมือ จากเรื่องที่เป็นข้อได้เปรียบของเราด้วย ความร่วมมือรถไฟไทย-จีน เป็นตัวอย่างของ โครงการที่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะสนองประโยชน์ และวาระของจีนมากกว่าไทย จีนต้องการสร้างรถไฟ ความเร็วสูงเพื่อจะได้ประโยชน์จากการสร้าง (ระบาย ศักยภาพการก่อสร้างและแรงงานจีน) มากกว่า ประโยชน์จากการใช้ แต่รถไฟความเร็วสูงนั้นคานวณ แล้วไม่คุ้มค่ากับประเทศไทย เพราะจะมีคนใช้ไม่มาก พอจะคุ้มทุน ทั้งจากเหตุผลเรื่องเส้นทางที่ไม่ตอบสนอง ความต้องการของไทย ซึ่งจีนต้องการให้สร้างเส้น กรุงเทพฯ-หนองคาย เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟที่จีนสร้างต่อ เข้ามาในลาว แต่ไทยไม่ได้จาเป็นต้องมีรถไฟความเร็ว สูงในเส้นทางนี้ ถ้าต้องทา ไทยจะได้ประโยชน์จาก เส้นทางอย่าง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ มากกว่า ประกอบ กับเมื่อคานวณต้นทุนแล้ว ราคาตั๋วรถไฟจะแพงกว่า หรือไม่ถูกกว่าเครื่องบินเท่าใดนัก ดังนั้นก็จะแข่งกับการ เดินทางที่มีอยู่โดยสายการบินหรือรถทัวร์ไม่ได้ อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ เสนอว่า การร่วมมือ กับจีนในโครงการ OBOR ต้องสนองประโยชน์ทั้งสอง ฝ่ายและมีความเป็นไปได้ทางธุรกิจ แนวทางการใช้ โอกาสจาก OBOR คือไทยควรรู้ว่าตัวเองต้องการ ประโยชน์อะไรจากจีน เช่น หากต้องการเทคโนโลยีรถ พลังงานไฟฟ้า (EV) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ หรือ ชิ้นส่วนอากาศยาน และหากจีนมีเทคโนโลยีด้านนี้อยู่ ก็ มีความเป็นไปได้ทางธุรกิจ โครงการแบบนี้มีโอกาสที่จะ ขอเงินกู้จากธนาคาร AIIB ได้ 2. พัฒนาคนไทยและดึงดูดคนจีนเข้ามาลงทุนใน ไทย OBOR มิได้หมายถึงเพียงการสร้างทางรถไฟ หรือ ขุดคอคอดกระ เท่านั้น แต่ OBOR ใน ความหมายกว้างกว่านั้น คือธงนาว่าจีนจะออกนอก ประเทศอย่างเป็นระบบ ซึ่งหมายถึงทุนและคนมหาศาล ที่จะออกมา ไทยสามารถได้ประโยชน์จาก OBOR ได้ โดยการดูดซับทุนและคนที่ไหลออกจากจีนมากมายนี้ โดยมิต้องสร้างทางรถไฟหรือขุดคอคอดกระหากเราไม่ เต็มใจ โดยใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่มีอยู่ โดยเฉพาะที่ตั้งของประเทศ ด้วยการเชื่อมโครงสร้าง
  • 6. 3 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 พื้นฐานภายใต้กรอบ ASEAN Connectivity (ที่ ไทยร่วมกับประเทศอาเซียนสร้างมาระยะหนึ่งแล้ว) เข้า กับโครงสร้างพื้นฐานของ OBOR พร้อมเพิ่มการ อานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจจีนและต่างชาติอื่นด้วย มาตรการทางกฎหมายและภาษี เพื่อดึงดูดทุนและผู้มี ความสามารถจากจีนและชาติอื่นๆ มาเสริมในการ พัฒนาประเทศ เช่น ลดภาษีแก่บุคลากรต่างชาติที่มี ความสามารถสูงให้เข้ามาทางานในอุตสาหกรรม เป้าหมายในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของ EEC (Eastern Economic Corridor) ปรับปรุง กฎหมายประกอบธุรกิจต่างด้าว (FBA) หรือระเบียบ การต่อใบอนุญาตทางาน (work permit) ให้ สะดวก รวมถึงการสร้างสังคมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตและ ทางานระยะยาวของนักธุรกิจจีนในไทย เป็นต้น มาตรการดึงดูดนี้จาเป็น แม้เราจะมีชัยภูมิของประเทศที่ ดีหรือมีความพร้อมต่างๆ เพราะหลายประเทศต่าง ต้องการดึงดูดจีนเช่นกัน เช่น มาเลเซียเพิ่งได้เงินกู้จีนมา ทาโครงการสร้างทางรถไฟจากท่าเรือเคลัง (Klang) ถึงท่าเรือกวนตัน (Kauntan) เป็นสะพานทางบก เชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ที่อาจสามารถ by- pass ช่องแคบมะละกา และเชื่อมการขนส่งไปถึงนคร เซินเจิ้นได้ นอกจากนี้ แม้เราจะได้เปรียบเรื่องที่ตั้ง แต่ นอกจากทางบกและทะเลแล้ว OBOR ยังมีมิติของ E -Silk Road เช่น E-commerce ด้วย ในมิตินี้ ชัยภูมิอาจไม่ได้ทาให้ได้เปรียบเท่าไรนัก เพราะเป็น การค้าไร้พรมแดน พื้นฐานภายใต้กรอบ ASEAN Connec- tivity (ที่ไทยร่วมกับประเทศอาเซียนสร้างมาระยะ หนึ่งแล้ว) เข้ากับโครงสร้างพื้นฐานของ OBOR พร้อมเพิ่มการอานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจจีนและ ต่างชาติอื่นด้วยมาตรการทางกฎหมายและภาษี เพื่อ ดึงดูดทุนและผู้มีความสามารถจากจีนและชาติอื่นๆ มา เสริมในการพัฒนาประเทศ เช่น ลดภาษีแก่บุคลากร ต่างชาติที่มีความสามารถสูงให้เข้ามาทางานใน อุตสาหกรรมเป้าหมายในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของ EEC (Eastern Economic Corridor) ปรับปรุงกฎหมายประกอบธุรกิจต่างด้าว (FBA) หรือ ระเบียบการต่อใบอนุญาตทางาน (work permit) ให้สะดวก รวมถึงการสร้างสังคมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตและ ทางานระยะยาวของนักธุรกิจจีนในไทย เป็นต้น มาตรการดึงดูดนี้จาเป็น แม้เราจะมีชัยภูมิของประเทศที่ ดีหรือมีความพร้อมต่างๆ เพราะหลายประเทศต่าง ต้องการดึงดูดจีนเช่นกัน เช่น มาเลเซียเพิ่งได้เงินกู้จีนมา ทาโครงการสร้างทางรถไฟจากท่าเรือเคลัง (Klang) ถึงท่าเรือกวนตัน (Kauntan) เป็นสะพานทางบก เชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ที่อาจสามารถ by- pass ช่องแคบมะละกา และเชื่อมการขนส่งไปถึงนคร เซินเจิ้นได้ นอกจากนี้ แม้เราจะได้เปรียบเรื่องที่ตั้ง แต่ นอกจากทางบกและทะเลแล้ว OBOR ยังมีมิติของ E -Silk Road เช่น E-commerce ด้วย ในมิตินี้ ชัยภูมิอาจไม่ได้ทาให้ได้เปรียบเท่าไรนัก เพราะเป็น การค้าไร้พรมแดน 3. ดาเนินความร่วมมือกับจีนโดยยึดประโยชน์ แห่งชาติมิให้ไทยเสียเปรียบ ผศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบลได้ ชี้ว่า หลายโครงการที่จีนผลักดันให้ไทยทา เช่น การขุด คอคอดกระ และการระเบิดเกาะแก่งในแม่น้าโขง เพื่อให้เรือขนาดใหญ่ของจีนแล่นเข้ามาได้นั้น มีประเด็น ทางภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคง รวมถึงผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมร่วมด้วย นอกเหนือจากเรื่องเศรษฐกิจ ไทย จึงควรระมัดระวังในการดาเนินความร่วมมือกับจีนให้ไม่ เสียเปรียบ เพราะผลประโยชน์หลายเรื่องไม่ตรงกัน อย่างประเด็นการขุดคอคอดกระ ซึ่งถกเถียงกันมานาน การศึกษาครั้งล่าสุดของไทยในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ได้ผลว่าไม่คุ้มค่า คลองที่ขุดจะไม่ได้ช่วยย่นเวลาการ เดินเรือได้มากอย่างที่คาด เพราะเหตุผลเชิงเทคนิคว่า เรือต้องลดความเร็วลงเมื่อเข้ามาในคลอง เมื่อไม่คุ้มใน เชิงเศรษฐศาสตร์ ก็เป็นไปได้ว่าที่จีนผลักดันมากเพราะมี ผลประโยชน์ทางความมั่นคง 4. ไทยควรใช้บทบาทร่วมหลายฝ่ายทั้ง รัฐ มหาวิทยาลัย Think Tank ภาคธุรกิจ กองทัพ และ กระทรวงการต่างประเทศ ในการคิดเรื่องยุทธศาสตร์ใหญ่ การทาหรือกาหนดท่าทีสนองยุทธศาสตร์ใหญ่เช่นนี้ต้อง ระดมความเห็นและความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่จะช่วยกัน คิด ส่งเสริม และผลักดัน เพื่อให้ไทยมีบทบาทที่ เหมาะสมและได้ประโยชน์จากมหายุทธศาสตร์นี้อย่าง เต็มที่
  • 7. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 4 หนิงโป (宁波 Ningbo) เป็นเมืองใหญ่อันดับ สองและร่ารวยอันดับสองของมณฑลเจ้อเจียง (Zhejiang) ทางตะวันออกของจีน รองจากเมืองเอก คือหางโจว หนิงโปอยู่ไม่ไกลจากเซี่ยงไฮ้ และเป็นเมือง ท่ามาแต่โบราณ เก่าแก่กว่าเซี่ยงไฮ้มากในแง่อายุของ เมืองและการเป็นเมืองท่าการค้า เซี่ยงไฮ้ กลายเป็น เมืองท่าสาคัญก็เมื่อไม่ถึง 200 ปีมานี้เอง หลังจากจีน แพ้สงครามฝิ่น ส่วนหนิงโปนั้นเป็นเมืองท่าสาคัญติดต่อ กับญี่ปุ่น เกาหลี ยุโรป อาหรับ เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ อย่างช้าตั้งแต่สมัยราชวงศ์ถังกว่าพันปีมาแล้ว หนิงโป ถูกกล่าวถึงตอนหนึ่งในสุนทรพจน์เปิด การประชุม Belt and Road Forum for In- ternational cooperationโดยประธานาธิบดีสี จิ้ นผิง เมื่อวันที่ 14 พ.ค. ที่ผ่านมา ในตอนที่เขา เท้าความถึงคุณค่าเส้นทางสายไหมในอดีตที่เป็นก้าว สาคัญในประวัติศาสตร์ความก้าวหน้าของมนุษย์ ใน ฐานะที่การติดต่อเชื่อมโยงทาให้อารยธรรมต่างๆ เจริญ เศรษฐกิจของโลกรุ่งเรือง และความรู้ของโลกเบ่งบาน “ใ น วั น นี้ เ มื อ ง โ บ ร า ณ อ ย่ า ง Jiuquan, Dunhuang, Tulufan, Kashi, Samarkand, Baghdad และ Constantinople กับบรรดา เมืองท่าโบราณอย่าง Ningbo, Quanzhou, Guangzhou, Beihai, Colombo, Jeddah และ Alexandria ล้วนยืนหยัดเป็นอนุสาวรีย์ที่มีชีวิต ของปฏิสัมพันธ์ในอดีต”1 ที่เกิดจากเส้นทางสายไหมทั้ง บกและทะเล สีจิ้นผิงกล่าว หนิงโปกับเส้นทางสายไหมทางทะเลโบราณ จากการศึกษาทางโบราณคดีในอดีต เมืองกวาน โจวและกวางโจว (Quanzhou และ Guang- zhou) เป็นที่ถือกันว่าเป็นจุดตั้งต้นสาหรับเส้นทางสาย ไหมทางทะเลในสมัยโบราณออกจากแผ่นดินจีน อย่างไรก็ตาม อย่างน้อยตั้งแต่ปี 2001 นักโบราณคดี ของจีนพิสูจน์ว่า หนิงโป เป็นเมืองท่าอีกแห่งหนึ่ง ซึ่ง เป็นจุดตั้งต้นของการเดินเรือจากจีนไปตามเส้นทางสาย ไหมในทะเลเช่นกัน บ้างก็ว่าหนิงโปมีการแลกเปลี่ยน สินค้าและวัฒนธรรมกับเกาหลีและญี่ปุ่นตั้งแต่สมัย ราชวงศ์ถัง (ปกครองจีนระหว่าง ค.ศ. 618-907) โดยพบหลักฐานเช่น ผ้าไหมและเครื่องเคลือบที่ขนส่ง มาจากเมืองหนิงโปที่ถูกเก็บรักษาไว้ที่เมืองนาราของ ญี่ปุ่น นอกจากนี้ ใจกลางเมืองหนิงโป ยังมีเจดีย์ โบราณซึ่งใช้เป็นประภาคารในสมัยราชวงศ์ถังด้วย และ ยังพบบ้านพักของทูตเกาหลีและเปอร์เซียในสมัยโบราณ ที่เมืองหนิงโปด้วย ยืนยันถึงการเป็นเมืองตั้งต้น- จุดหมายปลายทางในเส้นทางสายไหมทางทะเลในอดีต ขณะที่ศาสตราจารย์ Chen Yan แห่ง มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ผู้ทาวิจัยเรื่องเส้นทางสายไหมทาง ทะเลในสมัยโบราณยืนยันว่า ธุรกิจการขนส่งทางเรือ ของหนิงโปมีขึ้นตั้งแต่ก่อนสมัยราชวงศ์ถังเสียอีก โดย พบบันทึกโบราณที่ชี้ว่าชาวเมืองหนิงโปมีเทคโนโลยีการ ต่อเรือเดินทะเลมาอย่างน้อยย้อนไปตั้งแต่ 1 พันปีก่อน คริสตกาล (สามพันปีมาแล้ว) นอกจากนั้น ยังพบ หลักฐานว่าเครื่องเคลือบที่ผลิตจากหนิงโปถูกส่งไปขาย ยัง 17 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชีย กลาง และไปไกลถึงแอฟริกา2 ภาพ : สีจิ้นผิง พูดถึง หนิงโป ในสุนทรพจน์เปิด งาน Belt & Road Forum 1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/ c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-b182d7286068ff4101843e17368e4b10 2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์ http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
  • 8. 5 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 ไม่เพียงเป็นเมืองท่าสาคัญของเส้นทางสาย ไหมทางทะเลในอดีต ในปัจจุบันหนิงโปก็ยังมีสถานะ เช่นนั้น และกาลังเพิ่มความสาคัญมากขึ้นเมื่อระดับชาติ ของจีนมีนโยบายสร้างเส้นทางสายไหมทางบกและทะเล แห่งศตวรรษที่ 21 ขึ้น ข้อได้เปรียบที่สุดของหนิงโปก็ คือภูมิศาสตร์ที่เป็นอ่าวและท่าเรือ และความเชี่ยวชาญ ของการดาเนินกิจการท่าเรือค้าขายกับโลกภายนอกมาก ว่าพันปี ซึ่งได้สร้างให้เกิดวัฒนธรรมของเมืองที่สัมพันธ์ กับเรื่องการค้าอย่างเข้มแข็ง ความเกี่ยวข้องหลักของห นิงโปกับ Belt and Road ในยุคนี้ก็คือ การเพิ่ม ความสัมพันธ์ทางการค้าการลงทุนกับประเทศที่อยู่บน OBOR มากขึ้น และการปรับปรุงขยายท่าเรือหนิงโป- โจวชาน (Zhoushan) สองท่าเรือหลักของเมืองที่ถูก รวมกันในปี 2015 เพื่อเสริมศักยภาพของการเป็นหนึ่ง ในท่าเรือหลักของจีนรองรับการสร้างเส้นทางสายไหม ทางทะเลในศตวรรษที่ 21 จากข้อมูลล่าสุดในปี 2015 ท่าเรือหนิงโป – โจวชาน เป็นท่าเรือที่คึกคักอันดับ 4 ของโลก (รองจากเซี่ยงไฮ้ สิงคโปร์ และเสิ่นเจิ้น ตามลาดับ) มีเส้นทางเดินเรือกว่า 235 เส้นทาง เชื่อม กับท่าเรือกว่า 600 แห่งในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก3 แผนปฏิบัติการของเมืองหนิงโปในการเตรียม ความพร้อมรองรับเส้นทางสายไหมใหม่ทางทะเลนั้น เป็นไปตามแผนใหญ่ของมณฑลเจ้อเจียง ที่มีชื่อว่า แผน 610 ผ่านการพัฒนาใน 6 ด้าน แต่ละด้าน ประกอบด้วย 10 โครงการ 6 ด้านนี้ประกอบด้วย 1) การกระชับความร่วมมือกับท่าเรือต่างชาติ 2) การขยาย และอานวยความสะดวกช่องทางการทาธุรกิจใน ต่างประเทศ 3) กระตุ้นการค้ากับต่างประเทศ 4) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม 5) ส่งเสริม E- commerce ข้ามชาติ และ 6) ส่งเสริมการปฏิรูป เชิงโครงสร้าง4 ในเรื่องท่าเรือ นอกจากการปรับปรุงในด้าน กายภาพแล้ว ยังมีการประสานข้อมูลเพื่ออานวยความ สะดวกธุรกิจขนส่งสินค้าทางเรือจากหนิงโปสู่ประเทศ ต่างๆ ผ่านความร่วมมือระหว่าง Ningbo Ship- ping Exchange รัฐวิสาหกิจของเมืองหนิงโปที่เป็น ฐานข้อมูลและให้คาปรึกษาด้านธุรกิจขนส่ง กับ Baltic Exchange ศูนย์กลางข้อมูลการขนส่งสินค้าทางเรือ ใหญ่สุดของโลก ซึ่งตั้งอยู่ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในปี 2015 เพื่ออานวยความสะดวกการค้าและการ ขนส่งทางเรือระหว่างจีนกับประเทศต่างๆ มากขึ้น5 ภาพ : ท่าเรือหนิงโป—โจวชาน ที่มา : http://container-news.com/wp-content/uploads/2016/04/6-Ningbo-Zhoushan-660x330.jpg หนิงโปกับเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 3Ningbo plans for Belt and Road construction. ออนไลน์ http://www.chinadaily.com.cn/ m/ningbo/2015-11/23/content_22510425.htm 4Ji Xiang. Ningbo sees growth potential with Europe from Belt and Road initiative. ออนไลน์http://www.shanghaidaily.com/city-specials/ningbo/Ningbo-sees-growth- potential-with-Europe-from-Belt-and-Road-initiative/shdaily.shtml. 5Baltic Exchange collaborates with Ningbo Shipping Exchange. ออนไลน์http:// www.hellenicshippingnews.com/baltic-exchange-collaborates-with-ningbo-shipping- exchange/
  • 9. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 6 ในด้านการลงทุน ตามข้อมูลของกรรมาธิการด้านพาณิชย์ของรัฐบาลเมืองหนิงโป จนถึงปี 2015 เมืองหนิง โปลงทุนเกือบ 2 พันล้าน ในการก่อตั้งบริษัทและองค์กรกว่า 500 แห่งในประเทศต่างๆ บนเส้นทาง OBOR นอกจากนี้ แม้จะเป็นเมืองท่า แต่หนิงโปยังอยู่ใกล้เมืองอี้อู (Yiwu) เมืองค้าส่งใหญ่ที่สุดของจีน ซึ่งมีทาง รถไฟขนส่งสินค้าที่เชื่อมต่อไปยังลอนดอนได้ภายใน 17 วัน เริ่มวิ่งในต้นปี 2017 ในปี 2016 เมืองหนิงโปสร้าง ทางรถไฟสายใหม่ชื่อ Yongjin เพื่อเชื่อมไปถึงเมืองอี้อู6 เพื่อมิให้ตกขบวนเส้นทางสายไหมทางบกด้วย ในด้านการค้า ภูมิภาคสาคัญที่หนิงโปค้าขายด้วยและกาลังดาเนินการกระตุ้นความร่วมมือทางการค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยุโรปกลาง ยุโรปตะวันออก และอาเซียน ในครึ่งปีแรกของปี 2015 การส่งออกของหนิงโปไปยังสามภูมิภาค นี้คิดเป็นราว 37 เปอร์เซ็นต์ของการส่งออกต่างชาติทั้งหมดของหนิงโป ในปัจจุบัน อาเซียนเป็นคู่ค้าลาดับสามของหนิง โป เมืองหนิงโปกาลังก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับอุตสาหกรรมชั้นสูงและธุรกิจที่มีนวัตกรรมจากสิงคโปร์ ขณะเดียวกัน ธุรกิจจีนหลายแห่งของเมืองหนิงโปก็ขยายสาขาและฐานไปทาการค้าและลงทุนในอาเซียน โดยเฉพาะ ในเวียดนามและกัมพูชา ซึ่งมีแรงงานราคาถูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้า ซึ่งเป็น อุตสาหกรรมดั้งเดิมของเมือง7 นอกจากนี้ ด้าน E-commerce ภาพลักษณ์ของมณฑลเจ้อเจียงในปัจจุบันเป็นเมืองแห่ง E- commerce ไปแล้ว ส่วนหนิงโปซึ่งเป็นเมืองอันดับสองในเจ้อเจียงก็เป็น 1 ใน 5 เมืองแรกที่ได้รับอนุญาตให้ทา การค้า E-commerce ข้ามชาติได้ โดยปัจจุบันหนิงโปมีบริษัททาการค้า E-commerce ระหว่างประเทศกว่า 200 แห่ง และในปี 2015 ก็ทาสถิติเป็นเมืองแรกในประเทศจีนที่มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศผ่าน E- commerce เกิน 1 พันล้านหยวน โดยสรุป พันปีผ่านไป หนิงโป ก็ยังคงเป็นเมืองท่าและนครการค้าสาคัญบนเส้นทางสายไหมทางทะเลที่ เชื่อมโยงจีนกับส่วนอื่นๆ ของโลกเฉกเช่นเดียวกับเมื่อพันปีก่อน แต่ได้เพิ่มประเภทและปริมาณการค้ามากขึ้นใน ปัจจุบัน จากที่เคยขนส่งสินค้าทางเรืออย่างเดียว ก็มีการขยายไปลงทุน และค้าขายผ่าน E-commerce ด้วย 6Ji Xiang. Ningbo sees growth potential with Europe from Belt and Road initiative. ออนไลน์http://www.shanghaidaily.com/city-specials/ningbo/Ningbo -sees-growth-potential-with-Europe-from-Belt-and-Road-initiative/ shdaily.shtml 7เพิ่งอ้าง
  • 10. 7 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 นาย สี จิ้นผิง ประธานาธิบดีแห่ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน ได้กล่าวปาฐกถา เปิดการประชุม Belt and Road Forum เพื่อ ความร่วมมือระหว่างประเทศ (the Belt and Road Forum (BRF) for International Cooperation) ณ ก รุ ง ปั ก กิ่ ง ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนจีน เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2560 ที่ผ่านมา นาย สี จิ้นผิง ได้เริ่มต้นการกล่าวปาฐกถา ด้วยการต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมจากกว่า 100 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนที่เป็นผู้นาประเทศ คณะรัฐมนตรี ตลอดจนบุคคลชั้นนาทั้งจากจากภาครัฐและเอกชน ที่มา ร่วมกันเพื่อสร้างความร่วมมือที่ดีและเจริญก้าวหน้าอันจะ เป็นประโยชน์ต่อชาติสมาชิกและประชาคมโลกโดยรวม สืบไป จากนั้นได้กล่าวถึงความริเริ่มของผู้คนในอดีตที่ก่อ ร่างเส้นทางสายไหมเมื่อกว่า 2,000 ปีที่แล้วด้วยความ ยากลาบาก ทั้งเส้นทางทางบกและทางทะเล จนกระทั่ง เส้นทางสายไหมได้เกิดขึ้นอันเป็นเส้นทางแห่งความ ร่วมมือ เปิดกว้าง ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สะท้อน ถึงความมีอารยะของมนุษยชาติ สันติภาพและความร่วมมือ นับแต่อดีตมาแล้วที่จีนนั้นได้แสวงหาความ ร่วมมือกับโลกด้วยวิถีแห่งสันติ เช่น กว่าเมื่อ 140 ปี ก่อนคริสตกาล Zhang Qian ซึ่งเป็นราชทูตในยุค สมัยราชวงศ์ฮั่น ได้เดินทางจากเมืองฉางอานเพื่อภารกิจ ในการเชื่อมสัมพันธ์โลกตะวันออกและตะวันตกไว้ ด้วยกัน และในช่วงต้นของศตวรรษที่ 15 เจิ้ง เหอ นัก เดินเรือนามอุโฆษได้เดินเรือกว่า 7 ครั้งไปยังทิศ ตะวันตก ซึ่งยังเป็นที่กล่าวขานจนทุกวันนี้ จะเห็นว่าการ เดินทางในเส้นทางสายไหมนั้นล้วนเป็นการสานสัมพันธ์ ระหว่างกันที่ไร้ซึ่งความรุนแรงใดๆ เปิดกว้างและยอมรับความหลากหลาย เส้นทางสายไหมได้แผ่ขยายไปถึงแม่น้าไนล์ ไทกริซและยูเฟรนติซ สินธุ คงคา ฮวงโห และ แยงซี ซึ่งแม่น้าเหล่านี้เป็นอู่อารยธรรมสาคัญของโลกทั้งสิ้น ตลอดจนศาสนาสาคัญของโลกด้วยเช่นกัน เส้นทางสาย ไหมจึงเป็นสะพานที่เชื่อมต่อผู้คนที่หลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรมและความเชื่อไว้ด้วยกัน ในปัจจุบันมหานคร และเมืองท่าที่สาคัญของโลกที่อยู่ในเส้นทางนี้ เช่น หนิงโบ โคลอมโบ แบกแดด และอเลกซานเดรีย ยังคงเป็นภาพสะท้อนถึงความหลากหลายนี้ไว้ว่าความ เจริญรุ่งเรืองทั้งหลายนั้นล้วนเกิดขึ้นจากการเปิดใจ ยอมรับความแตกต่างระหว่างกัน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางสายไหมแต่โบราณนั้นใช่แต่มีเรื่องการ แลกเปลี่ยนสินค้าเท่านั้น ยังมีการร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกันอีกด้วย ด้วยเส้นทางนี้เองที่ผ้าไหม เครื่องเคลือบดินเผา เครื่องไม้เคลือบเงา เครื่องเหล็ก ได้ถูกส่งไปยังโลกตะวันตก ในขณะที่กระดาษ ใยป่าน เครื่องเทศ องุ่น และทับทิม ได้เข้าสู่จีน เช่นเดียวกับ ดาราศาสตร์ การทาปฏิทิน แพทยศาสตร์ จากอาหรับ ได้เข้าสู่ประเทศจีนเช่นกัน และในทางกลับกันนวัตกรรม อันยิ่งใหญ่ทั้ง 4 ประการ(เข็มทิศ ดินปืน การทา แปลและเรียบเรียงจาก "Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum." Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum - Xinhua | Eng- lish.news.cn. May 27, 2017. Accessed May 25, 2017. http://news.xinhuanet.com/ english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-b182d7286068ff4101843e17368e4b10.
  • 11. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 8 กระดาษ : ผู้แปล) และการพิมพ์ และการเลี้ยงหม่อน ไหมได้กระจายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก ไม่เพียงเกิด การแลกเปลี่ยนแต่ยังมีการผสมผสานจนเกิดสิ่งใหม่ขึ้น แนวคิดของลัทธิขงจื้อที่เกิดในจีนได้แพร่ไปยังนักคิด ยุโรป เช่น Leibniz และ Voltaire จนเกิดเป็น ความคิดใหม่ ๆ ขึ้นอีกขั้นหนึ่งอันเป็นผลจากการ ผสมผสานความรู้ระหว่างกัน สี ยังกล่าวย้าว่าความเจริญรุ่งเรืองในอดีตนั้น เป็นผลจากความร่วมมืออันดีระหว่างกัน และในปัจจุบัน เราอยู่ในยุคที่มนุษย์และรัฐชาติต่าง ๆ พึ่งพาอาศัยซึ่ง กันและกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน และการพัฒนาเพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างสันติภาพของผู้คนนั้นก็มี อยู่อย่างเข้มแข็ง แต่ตอนนี้โลกกาลังเผชิญกับความท้า ทายต่าง ๆ มากมาย เราต้องการการพัฒนาที่สมดุลและ เสมอภาค เราพบปัญหาการก่อการร้ายและความไม่สงบ ในบางพื้นที่ ฉะนั้นเราจึงต้องการจักรกลตัวใหม่ที่จะ ผลักดันให้โลกก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง ในปี 2013 ที่ผ่านมา จีนจึงได้เสนอการสร้างแผนยุทธศาสตร์ One Belt One Road ขึ้น ซึ่งเป็นโครงข่ายการเชื่อมต่อระหว่าง โลกตะวันออกและโลกตะวันตก โดยที่โครงการนี้มิใช่ การเริ่มต้นจากศูนย์ หากแต่เป็นการเติมเต็มความ พยายามของชาติต่าง ๆ ที่จะเชื่อมถึงกันมาตลอด โดย ได้รับความร่วมมือจากชาติต่าง ๆ เป็นอย่างดี และได้มี ข้อตกลงกับชาติต่าง ๆ มากกว่า 40 ชาติแล้ว และใน การประชุมครั้งนี้จะเป็นการสร้างข้อตกลงกับชาติต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งจะเสริมความเข้มแข็งให้กับชาติที่ร่วมมือ กันเป็นสมาชิกในแผนยุทธศาสตร์นี้ จะเห็นว่าตลอด 4 ปีที่ผ่านมานั้นได้มีความคืบหน้าที่เป็นรูปธรรมของ ยุทธศาสตร์ Belt and Road แล้ว เช่น การ เชื่อมต่อทางรถไฟระหว่างลาวและจีน การยกระดับ ท่าเรือ Gwada ในปากีสถาน และยังมีแผนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ในอนาคตอีกด้วย ซึ่งจะช่วยให้ การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนที่อยู่ห่างไกลกันเป็นไปได้ง่ายขึ้น ไม่เพียงจะส่งเสริมด้านการค้าเท่านั้นแต่ยังส่งผลต่อ การศึกษา สาธารณสุข และด้านอื่น ๆ อีกด้วย
  • 12. 9 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 อุตสาหกรรมและการเงิน สี ยังได้เน้นย้าว่าอุตสาหกรรมคือรากฐานของ เศรษฐกิจ การประสานงานระหว่างชาติต่าง ๆ จะช่วย ให้แต่ละชาติสามารถเน้นพัฒนา อุตสาหกรรมในด้านที่ ตนถนัดและพึ่งพากันและกันในด้านอื่น ๆ อันจะเป็น โอกาสอันดีในการยกระดับการพัฒนาอีกครั้งหนึ่ง เป็น การเปิดฉากให้ธุรกิจยุคใหม่ได้เกิดขึ้นซึ่งจะยกระดับ เศรษฐกิจต่อไป ส่วนการเงินนั้นเป็นเหมือนเลือดที่หล่อ เลี้ยงให้ระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันดาเนินไปด้วยดี สี ได้ เสนอให้พัฒนาระบบการเงินให้เน้นไปที่การมี เสถียรภาพและความยั่งยืนมากขึ้น และมีการร่วมมือ ระหว่างรัฐและเอกชนมากขึ้น และเปิดกว้างให้มีความ หลากหลายและมีการเข้าถึงได้มากขึ้นด้วย โครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกันคือ รากฐานของการพัฒนา เราควรยกระดับการเชื่อมโยงทั้ง ในทางบก ทะเล และอากาศ และอวกาศ นอกจากนี้ ยังได้เน้นย้าถึงความสาคัญของการพัฒนาพลังงาน ทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย รวมถึงการ สร้างมาตรการกลางที่เป็นสากล ร่วมกันทาให้การ เดินทางระหว่างรัฐต่าง ๆ นั้นเป็นไปด้วยง่าย สร้าง โครงข่ายการเชื่อมต่อข้ามพื้นที่ และนโยบายที่ก้าวพ้น เขนแดนมากขึ้นด้วย การเปิดกว้าง เราควรเปิดกว้างมากกว่าเลือกที่จะปิดกั้นโดด เดี่ยวตัวเอง การเปิดรับโลกาภิวัตน์นั้นแม้จะมีปัญหา ตามมาบ้าง แต่ในระยะยาวแล้วจะนามาซึ่งความ เจริญก้าวหน้า Belt and Road จะเป็นโครงข่ายที่ จะนามาสู่ความร่วมมือที่จะกระตุ้นการพัฒนาเศรษฐกิจที่ มีความยั่งยืนได้ ในขณะเดียวกันก็ต้องตระหนักถึงภาวะ ของชาติต่าง ๆ ที่มีความจาเป็นต้องเปิดรับเฉพาะใน ระดับที่มีความเหมาะกับพื้นฐานของชาติ ด้วยการร่วมมือ กันชาติต่าง ๆ สามารถสร้างแบบแผนแห่งความร่วมมือ ที่ให้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างแท้จริง การค้า การค้านั้นเป็นจักรกลสาคัญที่จะพัฒนา เศรษฐกิจ ทั้งนี้ต้องเปิดรับโลกาภิวัฒน์และส่งเสริม การค้าเสรีซึ่งจะช่วยการลงทุนและการค้านั้นมีความ คล่องตัว และต้องเน้นการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าด้วย อันจะทาให้เกิดประโยชน์กับทุกคนอย่างแท้จริง การ ร่วมมือกันยังนามาสู่การสร้างนวัตกรรมซึ่งจะช่วยผลักดัน เศรษฐกิจยุคใหม่ เช่น digital economy และ big data ซึ่งจะเป็นเส้นทางสายไหมดิจิตัลแห่ง ศตวรรษที่ 21 ด้วยอีกทั้งต้องมีการผนวกเอา วิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยีเข้ากับการอุตสาหกรรม นอกจากนี้เราควรสร้างพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่ในชาติต่าง ๆ ได้ฝึกความเป็นผู้ประกอบการและทดลองทาธุรกิจที่เป็น การค้นหาฝันของตัว และยังต้องคาถึงการสร้าง เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วย การพัฒนาที่ คานึงถึงสิ่งแวดล้อมนั้นคือกุญแจสาคัญของการพัฒนาที่ รอบด้านและยั่งยืน โดยยึดตามกระบวนทัศน์การพัฒนา อย่างยั่งยืน 2030 (2030 Agenda for Sus- tainable Development) การศึกษาและคลังปัญญา เราควรทาให้ Belt and Road เป็น หนทางที่จะเชื่อมอารยธรรมต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งจะ ทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนแทนความขัดแย้ง ด้วยการสร้างกลไกต่าง ๆ ที่จะเชื่อมวัฒนธรรมและผู้คน เข้าไว้ด้วยกัน ควรส่งเสริมการร่วมมือกันทางการศึกษา ระหว่างชาติ และสถาบันคลังปัญญาต่าง ๆ ควรมี บทบาทมากขึ้นและการเชื่อมโยงสร้างเป็นเครือข่าย กว้างขวาง นอกจากนี้ในควรมีการสร้างความร่วมมือใน ด้านวัฒนธรรม การกีฬา การท่องเที่ยว การเมือง และ NGOs ด้วย ก้าวพ้น New Normal จีนได้มาถึงการพยายามครั้งใหม่ในการผลักดัน เศรษฐกิจโลกให้พ้นจาก new normal โดยให้ คามั่นว่าจะสนับสนุนโครงสร้างต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน พร้อมจะร่วมมือกับทุกชาติที่ยอมรับในหลัก พื้นฐาน 5 ประการแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ โดย
  • 13. WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 | 10 จีนจะไม่แทรกแซงกิจการภายในของชาติต่าง ๆ เพื่อให้ เป็นการร่วมมือที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์อย่างแท้จริง โดยปัจจุบันได้มีความร่วมมือกับนานาชาติที่ครอบคลุม ทั้งในมิติของสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น การสร้างโครงสร้าง พื้นฐานต่าง ๆ และในด้านข้อมูลรวมถึงข้อกฎหมายด้วย นอกจากนี้ยังให้คามั่นว่าจะเพิ่มเงินลงทุนโดยรัฐบาลจีน เองรวมถึงสถาบันการเงิน เช่น AIIB ที่จะสนับสนุน เงินกู้ที่รวมกันแล้วมีมูลค่าหลายร้อยล้านหยวน ในด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองจีนก็จะสนับสนุนด้วย เช่นกัน ทั้งในรูปของการให้ทุนระยะสั้นเพื่อเข้ามาทา วิจัยในประเทศจีน และการสนับสนุนโครงการวิจัยต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อการพัฒนาที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมและ ลดปัญหาโลกร้อนด้วย นอกจากนี้จีนยังให้คามั่นว่าจะให้ งบประมาณกว่า 60,000 ล้านหยวนเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้คน โดยจะมอบแก่ประเทศและ องค์กรระหว่างประเทศตลอด 3 ปีต่อจากนี้ไป ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดาเนินการหลังจากนี้เป็นไปด้วยดี จีนจะสร้างศูนย์ประสานงานต่าง ๆ ที่เอื้อให้การสร้าง ความร่วมมือกับชาติและองค์กรต่าง ๆ เป็นไปอย่าง ราบรื่น เช่น ศูนย์ล่ามเพื่อการติดตามงานต่อเนื่องจาก การประชุม ศูนย์ประสานงานระหว่างจีนและ IMF นอกจากนี้ยังให้ความสาคัญกับการสร้างความร่วมมือกับ กลุ่ม NGO ต่าง ๆ เพื่อเป็นหนทางในการประสาน ระหว่างประชาชนในแต่ละชาติได้โดยตรง ท้ายที่สุดสีได้ฝากไว้ว่าจีนและชาติสมาชิก ทั้งหลายจะร่วมสร้าง Belt and Road ไปด้วยกัน ซึ่งในท้ายที่สุดแล้วความสาเร็จของโครงการนี้จะนามาซึ่ง ผลประโยชน์แก่โลกตลอดจนประชาชนทั้งหลายเช่นกัน
  • 14. 11 | WORLD THINK TANK Monitor FEBUARY 2017 ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง แห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และประธานาธิบดี เรเซพ ตอยยิบ อัรโด กัน (Recep Tayyip Erdogan) ได้แสดงความ มั่นใจว่าทั้งสองชาติจะกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น ยิ่งขึ้นภายใต้กรอบของยุทธศาสตร์ Belt and Road โดย สี ได้กล่าวชื่นชมถึงความกระตือรือร้น ของตุรกีในการมีส่วนร่วมในยุทธศาสตร์นี้ และยังกล่าว ว่าจีนพร้อมแล้วที่จะยกระดับความร่วมมือในโปรเจคครั้ง ใหญ่นี้อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นในด้านออนไลน์ การ ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การร่วมมือในทาง อุตสาหกรรมและนโยบายรัฐ และการค้าที่สมดุล โดย ทั้งสองชาติควรจะร่วมมือกันบนฐานของความเสมอภาค และผลประโยชน์ร่วมกัน นอกจากนี้ สียังกล่าวว่า ทางการจีนยังมีความยินดีที่รัฐบาลตุรกีมีความประสงค์จะ จัดงานส่งเสริมการท่องเที่ยวตุรกีในประเทศจีนในปี 2018 อันจะเป็นการเชื่อมโยงประชาชนของทั้งสองชาติ เข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้งยังได้บรรลุข้อตกลงที่จะแลกเปลี่ยน สร้างศูนย์เผยแพร่วัฒนธรรมของทั้งสองประเทศด้วย ท้ายที่สุด สี ยังกล่าวว่าทั้งสองชาติควรกระชับ ความสัมพันธ์ในด้านความมั่งคงปลอดภัยและการต่อต้าน การก่อการร้ายให้มากขึ้น โดยจีนมีความพร้อมที่จะเป็น ผู้ประสานการพูดคุยระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เพื่อนามาซึ่ง ความสงบในภูมิภาคตะวันออกกลางให้เกิดขึ้นอีกครั้ง หนึ่ง1 ส่วน อัรโดกัน ได้กล่าวว่าตุรกีได้ตอบรับการ ร่วมมือเชิงปฏิบัติการกับจีนด้วยดี และมีความพร้อม อย่างมากที่จะสร้างความร่วมมือกับจีนในด้านต่าง ๆ เช่น การลงทุน เครือข่ายการขนส่ง และการก่อสร้าง โครงสร้างพื้นฐาน และยินดีเปิดรับการลงทุนจากนัก ลงทุนจีน และยังกล่าวด้วยว่าจะกระชับความร่วมมือกับ จีนในประเด็นปัญหาในตะวันออกกลาง เขายังย้าว่าเขา เชื่อมั่นว่าเส้นทางสายไหมใหม่ซึ่งเชื่อมทวีปเอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกาใต้ จะเป็นสิ่งที่มีผลต่อการ กาหนดอนาคตโลกอย่างแน่นอน และยังเชื่อว่าโครงการ นี้จะเป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายกระทั่งกลายเป็นต้นแบบ สาคัญของความร่วมมือที่ประสบความสาเร็จ อัรโดกัน ยังกล่าวด้วยว่าการที่ชาติต่าง ๆ ซึ่ง อยู่ในเส้นทางของ Belt and Road ได้มีส่วนร่วมใน การสนับสนุนงบประมาณแก่โครงการ Belt and Road นั้นเป็นเรื่องสาคัญที่จะทาให้โครงการนี้ประสบ ความสาเร็จด้วยดี หากคานึงว่าเส้นทางนี้จะครอบคลุม ไปถึงคนกว่า 4.5 พันล้านคนแล้วมีการประเมินว่า ประเทศเอเชียซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตดี ที่สุดควรเพิ่มงบการลงทุนแต่ละปีรวมกันกว่า 1.7 ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปีกระทั่งปี 2030 เพื่อเพิ่มการ เติบโตทางเศรษฐกิจ การแก้ปัญหาความยากจน และ ปัญหาภูมิอากาศแปรปรวน การร่วมกันลงทุนเพื่อพัฒนา นี้ควรจะเป็นการร่วมกันในบรรยากาศแห่งความร่วมมือ มิใช่การเป็นคู่แข่งกัน ซึ่งจะช่วยให้การรวมกลุ่มทาง การเงินและการร่วมมือระหว่างรัฐบาลประเทศต่าง ๆ และส่งผลให้บรรยากาศแห่งความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันได้เกิดขึ้นในภาคการเมืองด้วย โดยที่ตุรกีเอง เป็นผู้ริเริ่มรายใหญ่ในธนาคาร AIIB ด้วยเงินลงทุนกว่า 2.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ2 1"China, Turkey to strengthen cooperation under Belt and Road Initiative." China, Turkey to strengthen co- operation under Belt and Road Initiative - Xinhua | English.news.cn. May 17, 2017. Accessed May 25, 2017. http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/13/c_136279883.htm. 2"Erdoğan emphasizes importance of adopting win-win approach in New Silk Road project." DailySabah. May 14, 2017. Accessed May 26, 2017. https://www.dailysabah.com/economy/2017/05/15/erdogan-emphasizes- importance-of-adopting-win-win-approach-in-new-silk-road-project/amp.
  • 15. ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บูรพาภิวัตน์ ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State) อาทิตย์ ทองอินทร์ Coming soon สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ CPWI Bookstore
  • 16. วิทยาลัย รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ ดังนี้ เพื่อการพัฒนา ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ ระหว่างสถาบันทาง วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์ เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์ ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้ กับสังคมในวงกว้าง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง
  • 17. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864