SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
BRUEGEL
การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit
BROOKINGS
ความสุขและสุขภาวะในจีน: ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียน
ภาคพื้นสมุทร
สิงหาคม 59
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน เดือนสิงหาคมนี้สถาบันคลังปัญญาฯ ยังคงเกาะติดสถานการณ์โลก
ที่เกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคผ่านมุมมองของสถาบันคลังสมองชื่อดังอย่างใกล้ชิดดังเช่นที่ผ่านมา และได้
ให้ความสนใจเป็นพิเศษกับประเด็นที่เกี่ยวกับประเทศโลกอิสลามซึ่งนับวันจะทวีบทบาทในเวทีโลก
มากขึ้นในหลายแง่มุม เอกสาร World Think Tank Monitor ฉบับนี้จึงใคร่ขอเสนอบทวิเคราะห์ของ
สถาบัน Carnegie Middle East Center ที่มุ่งหาคาตอบสาคัญของความเข้ากันได้ระหว่างศาสนา
อิสลามกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย พร้อมกันนี้ยังได้เสนอบทความที่ติดตามความ
เคลื่อนไหวของจีน และการเปลี่ยนแปลงหลังเหตุการณ์ Brexit ต่อเนื่องจากฉบับก่อน
สาหรับกิจกรรมของสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้มีการจัดการประชุมคลังปัญญา
สัญจร เรื่อง "ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียนภาคพื้นสมุทร" เพื่อศึกษา
ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมและการศึกษาของเมืองยะลาในฐานะเมือง
ชายแดนใต้ที่มีสังคมพหุวัฒนธรรมร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน สุดท้ายนี้ ขอให้ผู้อ่านทุกท่านสนุกกับ
ความรู้ที่ได้รับจากการอ่านนะคะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
BRUEGEL การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit 1
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS ความสุขและสุขภาวะในจีน: ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า 5
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
Carnegie Middle East Center อิสลามกับประชาธิปไตย: การจับคู่ขัดแย้งที่ผิดฝาผิดตัว 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
การประชุมคลังปัญญาสัญจร "ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียน 10
ภาคพื้นสมุทร"
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
Bruegel
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit
Photo by: http://www.aljazeera.com/programmes/headtohead/2016/04/norman-lamont-brexit-au-revoir-europe-160427074
030118.html
ภาพ: http://www.dahrendorf-forum.eu/wp-content/uploads/2016/03/brexit-640x400.jpg
ท่ามกลางสายตาของประชาคมโลกที่จับจ้องการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นภายหลัง Brexit ซึ่ง
นาพาให้สหราชอาณาจักรถอนตัวจากการเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนั้น จีนเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มี
ปฏิกิริยาไม่น้อยต่อเหตุการณ์ดังกล่าว ทั้งนี้ แม้จีนจะไม่ได้รับผลกระทบมากเท่าประเทศในยุโรป แต่
Brexit ก็ส่งผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์เซี่ยงไฮ้ปรับตัวลดลงและเงินหยวนอ่อนค่าเมื่อเทียบกับเงิน
ดอลลาร์สหรัฐฯ ด้วยเหตุดังกล่าว จีนจึงต้องปรับกลยุทธ์โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจเพื่อให้รับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ได้อย่างเหมาะสม ในการนี้ Alicia Garcia-Herrero และ Jianwei Xu จากสถาบัน
Bruegel ได้วิเคราะห์และประเมินนโยบายและกลยุทธ์ในการปรับตัวของจีนไว้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
จีนเป็นประเทศคู่ค้าที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป ทั้งยังเป็นแหล่งการลงทุนและคู่แข่ง
ทางการค้าที่สาคัญในเวลาเดียวกัน ในบรรดาประเทศในสหภาพยุโรป สหราชอาณาจักรนับเป็น
พันธมิตรทางเศรษฐกิจที่สาคัญสาหรับประเทศจีน โดยจีนหวังใช้สหราชอาณาจักรเป็นประตูในการ
ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับสหภาพยุโรป ทว่าเมื่อเกิด Brexit ขึ้น แผนการดังกล่าวของจีนจึง
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ได้รับผลกระทบอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะในด้านการรักษาความสัมพันธ์กับสมาชิกสหภาพ
ยุโรปที่เหลืออยู่
ผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
หลัง Brexit มีการคาดการณ์ว่าผู้ประกอบการจีนมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนการส่งออกสินค้าจาก
สหราชอาณาจักรไปยังประเทศสหภาพยุโรปอื่นๆ มากขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มปริมาณการส่งออกไป
ยังประเทศคู่ค้ารายใหญ่อีก 4ประเทศนอกเหนือจากสหราชอาณาจักร ได้แก่ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์
ฝรั่งเศสและอิตาลี ซึ่งจะทาให้การค้าต่างประเทศของจีนกระจายไปในวงกว้างขึ้น
ที่มา: Bruegel and Eurostat. Note: Only countries with a trade share of 3 percent or more are labelled in the figure.
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อมูลที่น่าสนใจอีกประการหนึ่ง คือ ที่ผ่านมาอัตราการเติบโตด้านการส่งออกของสหราช
อาณาจักรไปยังประเทศสหภาพยุโรปอื่นๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับอัตราการเติบโตของการค้า
ระหว่างจีนกับสหราชอาณาจักร แต่อัตราการส่งออกของสหราชอาณาจักรไปยังสหภาพยุโรปที่เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 1.38 ต่อปี ส่งผลต่อเนื่องให้การส่งออกของจีนไปยังสหราชอาณาจักรคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเพียง
ร้อยละ 0.09 ดังนั้น แม้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะค้าขายกันน้อยลงหลังเหตุการณ์ Brexit จีนก็อาจไม่ได้รับ
ผลกระทบมากเท่าใดนัก แต่ในทางตรงข้ามก็ยากจะปฏิเสธได้ว่าในระยะยาว Brexit อาจส่งผลให้การ
เจรจาในข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างจีนกับสหภาพยุโรปยิ่งยืดเยื้อเนื่องจากขาดผู้นาด้านการเจรจาที่
สาคัญอย่างอังกฤษไป อีกทั้งประเทศสมาชิกที่เหลือยังมีความกังวลถึงความเป็นไปได้และเงื่อนไขใน
การปฏิบัติของข้อตกลงดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ Brexit จึงไม่เพียงแต่ทาให้อังกฤษสูญเสียบทบาท
ตัวกลางที่เชื่อมเศรษฐกิจจีนกับยุโรปเข้าด้วยกันเท่านั้น แต่ขณะนี้จีนได้เริ่มมองหาประเทศ
ตัวเลือกใหม่ที่จะใช้เป็นประตูเชื่อมสู่ตลาดยุโรปด้วย
ผลกระทบต่อการลงทุน
หลัง Brexit จีนมีแนวโน้มจะลดการลงทุนในสหราชอาณาจักรและหันไปเพิ่มโอกาสสาหรับการ
ลงทุนในประเทศสหภาพยุโรปมากขึ้น เดิมทีในปี 2010 – 2015 จีนได้ลงทุนในสหราชอาณาจักรสูงสุด
ถึง 15.16 พันล้านยูโร และมีการบรรลุข้อตกลงในสัญญาการค้ารวมถึง 59 ฉบับ อย่างไรก็ตาม สหราช
อาณาจักรก็ไม่ได้เป็นศูนย์กลางการลงทุนของจีนในตลาดสหภาพยุโรปแต่เพียงประเทศเดียว แต่อิตาลี
ฝรั่งเศส และเยอรมันก็นับเป็นแหล่งลงทุนที่สาคัญของจีนด้วยเช่นกัน
ที่มา: Thilo Hanemann and Mikko Huotari (2016) A New Record Year for Chinese Outbound Investment in Europe: A Report
by MERICS and Rhodium Group
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อนึ่ง แม้สหราชอาณาจักรจะมีข้อได้เปรียบด้านบริการทางการเงินที่มีประสิทธิภาพและรูปแบบ
ภาษาที่มีความเป็นสากล แต่การออกจากสหภาพยุโรปก็ทาให้สถานะการเป็นศูนย์กลางทางการเงินใน
ภูมิภาคของลอนดอนสูญเสียไปด้วย เมืองอื่นๆ เช่น ปารีส แฟรงเฟิร์ตควรถือโอกาสนี้เพิ่มขีด
ความสามารถเพื่อเป็นศูนย์กลางทางการเงินใหม่ในภูมิภาค โดยแต่ละเมืองอาจมีจุดเด่นหรือความ
เชี่ยวชาญที่ต่างกันเพื่อดึงดูดการลงทุน
ผลกระทบด้านสังคม: นักเรียนจีนในยุโรป
เอกสารอ้างอิง
Alicia Garcia-Herrero and Jianwei Xu. Assessing China’s post-Brexit globalisation strategy.
Bruegel. ออนไลน์: http://bruegel.org/2016/07/assessing-chinas-post-brexit-globalisation-
strategy/
ผลการวิเคราะห์ของ Bruegel ระบุว่า Brexit ไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการศึกษาต่อในยุโรปของ
นักเรียนนักศึกษาจีน โดยอังกฤษยังคงเป็นจุดหมายปลายทางอันดับหนึ่งที่นักเรียนจีนกว่าร้อยละ 50
เลือกเดินทางไปศึกษาต่อ ความนิยมนี้เกิดมาจากข้อจากัดด้านการศึกษา เนื่องจากภาษาอังกฤษเป็น
ภาษาต่างประเทศเพียงภาษาเดียวที่ถูกใช้เป็นหลักในจีนนักเรียนจีนส่วนใหญ่จึงมีอุปสรรคในการ
เรียนรู้ภาษาที่สามและทาให้มีโอกาสน้อยที่จะเปลี่ยนปลายทางการศึกษาจากอังกฤษไปยังประเทศ
อื่นๆ
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
ความสุขและสุขภาวะในจีน : ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า
สถาบัน Brookings ของสหรัฐอเมริกาได้เผยแพร่งานวิจัยชื่อ Happiness and Health in
China : The paradox of progress มีเนื้อหาว่า ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศจีนได้มีการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาและปัญหาความยากจนลดลง ยังกล่าวได้อีกว่า การที่จีนมีอัตรา
ความยากจนลดลงนั้นส่งผลให้อัตราความยากจนของโลกลดลงด้วย รายได้ต่อหัวและการบริโภคใน
ครัวเรือนของจีนเพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่าระหว่างปี 1990 ถึงปี 2005 ส่วนดัชนีการพัฒนามนุษย์ของจีนพุ่ง
ขึ้นมาอยู่ในลาดับที่ดีขึ้น 10 อันดับ จากปี 2008 ทาให้ปี 2013 จีนอยู่ที่ลาดับ 93 จากทั้งหมด 187
ประเทศ รวมถึงคนจีนมีอายุขัยที่ยาวนานขึ้น คือ 75.3 ปี เทียบจากเมื่อปี 1980 ที่คนมีอายุขัยเฉลี่ย
เพียง 67 ปีเท่านั้น
แต่ในขณะเดียวกัน ระดับความพึงพอใจในชีวิตของชาวจีนกลับสวนทางกับความเจริญ
ของประเทศ ความพึงพอใจของชาวจีนลดลงอย่างรวดเร็วในระยะต้นของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ภาพ: http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/china/9476838/China-needs-to-spend-5-trillion-in-20-years-as-200-
million-flock-to-cities.html
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
















ของจีน แต่หลังจากนั้นก็ฟื้นกลับมาในระดับหนึ่ง ซึ่งการลดลงของความพึงพอใจดังกล่าวนั้นควบคู่ไป
กับการเพิ่มขึ้นของอัตราการฆ่าตัวตายและจานวนผู้ป่วยทางสุขภาพจิต โดยในทศวรรษ 1990 จีนเป็น
หนึ่งในประเทศที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงที่สุดในโลก อัตราการเติบโตของจานวนผู้ป่วยในแต่ละปีที่เข้า
รับการรักษาในโรงพยาบาลด้านจิตเวช เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.4 จากปี 2007 ถึงปี 2012 ส่วนผู้ป่วย
นอกที่มารักษาก็เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 12.4 ในปี 2011
กล่าวโดยสรุป คือ ในขณะที่จีนมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรายได้
ต่อหัวเพิ่มขึ้น แต่กลับพบว่าคนมีปัญหาทางสุขภาพจิตและมีอัตราการฆ่าตัวตายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงของการเติบโตทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะนามาซึ่งความไม่มั่นคงและความไม่
เสมอภาคที่มากขึ้นนั่นเอง
หลายปีก่อน Brookings ได้ทาแบบสอบถาม พบว่า คนรวยไม่ค่อยมีความสุขและมีความพึง
พอใจในการเป็นอยู่ต่ากว่าผู้ที่มีรายได้น้อยมาก(แม้จะไม่มีรายได้เพิ่มเลย) และพบอีกว่า กลุ่มที่ดิ้นรน
หาความเปลี่ยนแปลงและแสวงหาชีวิตที่ดีขึ้น คือกลุ่มคนที่มีรายได้ที่ดีกว่าแต่มีความอึดอัด ไม่มี
ความสุขและรู้สึกไม่มั่นคงในชีวิต แทนที่จะเป็นผู้ที่มีรายได้น้อย แต่มีงานวิจัยก่อนหน้านี้ เคยพบ
ข้อสรุปที่น่าสนใจที่สอดคล้องกับความย้อนแย้งของประเทศจีน คือ ชาวชนบทมีชีวิตที่มีความสุข แต่
คนรวยกลับรู้สึกอึดอัดและไม่มีความสุข
แต่สาหรับงานวิจัยชิ้นนี้ พบว่าปัจจัยมาตรฐานของการมีชีวิตที่ดีของจีนนั้นเหมือนกับประเทศ
อื่นๆ ทั่วโลก แต่ในขณะเดียวกัน จีนมีปัญหาคนไม่มีความสุขและปัญหาด้านสุขภาพจิตสูงมากและเห็น
เด่นชัดมาก ซึ่งคนเหล่านี้เป็นคนเมือง ที่มีการศึกษาและทางานในภาคเอกชน แต่มักจะพักผ่อนไม่
เพียงพอ
จากงานวิจัยชิ้นนี้ ประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว มีแนวโน้มที่คนจะมีความสุข
น้อยลง โดยเฉพาะคนที่อาศัยในเมืองใหญ่ ดังนั้น ประเทศไทย ในฐานะที่คนชนบทมีแนวโน้มจะย้าย
เข้าสู่เมืองใหญ่มากขึ้น ศึกษาและทาความเข้าใจในประเด็นความเชื่อมโยงระหว่างการเติบโตของ
ประเทศและสุขภาวะของคนทั้งทางด้านร่างกายและสุขภาพจิต เพื่อเตรียมรับมือและปรับทิศทางการ
เติบโตให้เหมาะสม เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
เอกสารอ้างอิง
Carol Graham, Shaojie Zhou and Junyi Zhang. Happiness and health in China: The paradox
of progress. Brookings. ออนไลน์: https://www.brookings.edu/research/happiness-and-
health-in-china-the-paradox-of-progress/
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
 Carnegie Middle East Center
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
อิสลามกับประชาธิปไตย : การจับคู่ขัดแย้งที่ผิดฝาผิดตัว
ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาดูจะบอกเราว่า ประชาธิปไตย เป็นระบอบการเมืองตะวันตกที่ดูจะ
เข้ากับสังคมอื่นนอกตะวันตกได้ไม่ง่ายนัก ในหลายๆ สังคม รวมทั้งประเทศไทยต่างก็มีของเดิมใน
สังคมของตนที่เมื่อประชาธิปไตยถูกนาเข้ามา สิ่งเหล่านั้นก็ถูกชี้ว่าเป็น “อุปสรรค” “ขัดขวาง”
“ขัดแย้ง” กับการพัฒนาประชาธิปไตย ในโลกนี้ ตะวันออกกลางดูจะเป็นพื้นที่ที่มีปัญหามากที่สุดแห่ง
หนึ่งที่ปลูกต้นประชาธิปไตยขึ้นได้ยากเต็มที และหลายคนก็ชี้ไปที่ “อิสลาม” ว่าเป็นศาสนาที่ไป
ด้วยกันได้ยากกับประชาธิปไตย
แต่ในบทความเรื่อง Islam and Democracy: When do Religious Actors Decide to
Support Democratic Transition? ของสถาบัน Carnegie Middle East Center ผู้เขียน
Georges Fahmi ชี้ว่าอิสลามก็เหมือนศาสนาอื่นๆ ที่ไม่ได้มีจุดยืนตายตัวเป็นหนึ่งเดียวใน
หมู่ศาสนิกว่ารับหรือไม่รับประชาธิปไตย (ซึ่งจริงๆ ก็ไม่แปลกเพราะศาสนาเหล่านี้อยู่มาเป็นพัน
ปีก่อนจะมีระบอบประชาธิปไตยเกิดขึ้นในตะวันตก) แต่จุดยืนต่อประชาธิปไตยของฝ่ายศาสนา
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
(อาจจะเป็นผู้นาศาสนา กลุ่ม ขบวนการ ฯลฯ) นั้นเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ ขบวนการ
ทางศาสนาอิสลามไม่ได้สนใจว่ารัฐจะเป็นระบอบเผด็จการหรือประชาธิปไตย จะเป็นทหารหรือพล
เรือน ตราบเท่าที่รัฐในยุคนั้นๆ ไม่มารบกวนพวกตน แต่ในยุคใดที่รัฐมารบกวน กลุ่มศาสนาก็จะ
ออกมาเรียกร้อง สนับสนุนวาทกรรมประชาธิปไตย เพราะเห็นว่า อย่างน้อย ค่านิยมเรื่องสิทธิเสรีภาพ
ในระบอบประชาธิปไตยก็ประกันให้พวกเขาดาเนินกิจการทางศาสนาได้อย่างเสรี
งานชิ้นนี้ยกตัวอย่างกลุ่มศาสนาสาคัญสองกลุ่มคือ กลุ่มอัล อัซฮาร์ (Al-Azhar) ในอียิปต์
กับขบวนการเฟตุลเลาะห์ กุเลน (Fethullah Gülen) ในตุรกี สองกลุ่มนี้มีความต่างกันในเชิง
รูปแบบสถาบัน กลุ่มแรกเป็นมหาวิทยาลัยและมัสยิด กลุ่มหลังเป็นขบวนการทางสังคม ทางานด้าน
มนุษยธรรม สังคมสงเคราะห์ การศึกษา และสื่อ แต่จุดร่วมของทั้งสองกลุ่มคือ ต้องการทาให้ชีวิตทาง
สังคมและวัฒนธรรมของประเทศดาเนินไปอย่างสอดคล้องกับหลักอิสลามมากขึ้น อาจจะไม่ถึงกับ
สร้างสังคมการเมืองแบบอิสลามเต็มรูปแบบ หรือ “รัฐอิสลาม” เหมือนพวก IS แต่ก็อยากจะผสม
กลมกลืนอิสลามเข้ามาเป็นเนื้อเดียวกับผู้คนและสังคมมากกว่าที่พวกสนับสนุนรัฐทางโลก (secular
state) ต้องการ
เมื่อใดที่ขบวนการศาสนา (อิสลาม) หันมาสนับสนุนกระบวนการประชาธิปไตย
ปกติแล้วทั้งอัล อัซฮาร์และขบวนการกุเลนต่างวางเฉยเมื่อเห็นรัฐบาลเผด็จการของตนใช้
อานาจละเมิดสิทธิประชาชน แต่ก็มีบางช่วงที่ทั้งสองกลุ่มนี้ออกมาสนับสนุนประชาธิปไตย เมื่อรู้สึกว่า
โดนรัฐคุกคาม และเห็นว่าพวกเขาจะดาเนินกิจการทางศาสนาได้อย่างเสรี ก็ต่อเมื่อมีรัฐที่อยู่ภายใต้
กฎหมาย (มีรัฐที่เป็นนิติรัฐ) และประเทศมีระบอบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ตัวอย่างเช่น
ขบวนการกุเลนในตุรกี ครั้งแรกที่ออกมาสนับสนุนประชาธิปไตยคือ ต้านกองทัพที่เข้ามา
ปราบปรามกิจกรรมของขบวนการทางศาสนาอิสลามทั้งหลาย ภายหลังทารัฐประหารเงียบเมื่อปี
1997 จากนั้นขบวนการกุเลนจึงเริ่มออกมาจัดเวทีหารืออย่างต่อเนื่องในประเด็นการเปลี่ยนผ่านไปสู่
ระบอบประชาธิปไตยของตุรกี ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาอิสลามกับรัฐทางโลก และออก
แถลงการณ์เรียกร้องให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาเป็นไปอย่างสอดคล้องกับหลักการพื้นฐาน
ของระบอบประชาธิปไตย ส่วนครั้งที่สองที่ขบวนการกุเลนออกมาเรียกร้องประชาธิปไตย คือเมื่อเร็วๆ
นี้ (ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องมาจนถึงการกบฏที่ล้มเหลวในตุรกีเมื่อกลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา)
ที่พวกเขาออกมาต้านรัฐบาลพรรค AK ของเออร์โดกัน ที่เริ่มกวาดล้าง ปิดโรงเรียน คุมสื่อ จากัด
อิทธิพลของขบวนการกุเลนนับแต่ปี 2010 มา โดยรัฐบาลเออร์โดกันหาว่าขบวนการกุเลนพยายามทา
ตัวเป็น “รัฐเงา (pararell state)” ครั้งนี้ขบวนการกุเลนก็ใช้สื่อของตนออกมาแสดงความกังวลใน
สถานการณ์ประชาธิปไตยในประเทศที่ถดถอย การจากัดสิทธิเสรีภาพสื่อ อานาจฝ่ายตุลาการที่เพิ่ม
มากขึ้น และวาทกรรมอื่นๆ ทานองนี้
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ส่วนกลุ่มอัล อัซฮาร์ก็ออกมาพูดจาภาษาเสรีนิยม เรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียม ใน
ทานองเดียวกันในปี 2011 หลังระบอบเผด็จการมูบารัคถูกล้มไปในอียิปต์ และมีรัฐบาลที่มาจากการ
เลือกตั้งของมอร์ซีขึ้นมาแทนในปีถัดมา ซึ่งผู้เขียนคือ Georges Fahmi วิเคราะห์ว่าอัล อัซฮาร์
ออกมาสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยให้เป็นเหมือน “เกราะป้องกัน” ของกลุ่ม หากว่ากลุ่มศาสนาฝ่าย
ขวากว่าอย่าง Muslim Brotherhood และ Salafist Call ขึ้นมามีอานาจในการเมืองอียิปต์
เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ในประเทศที่มีทั้งรัฐบาลสมัยใหม่ที่เป็นรัฐทางโลก เป็นรัฐบาลจากการ
เลือกตั้ง ดารงอยู่คู่กับขบวนการ/กลุ่มทางศาสนาที่เข้มแข็งอย่างกรณีตุรกีและอียิปต์ ความขัดแย้ง-
ต่อรอง –ประนีประนอมที่เกิดขึ้นระหว่างสองกลุ่มนี้ (ซึ่งภายในก็แตกเป็นหลายกลุ่ม) จึงเป็นการยื้อ
แย่งบทบาทกันในสังคมระหว่างรัฐกับศาสนา หรืออาณาจักรกับศาสนจักร เป็นเรื่องของผลประโยชน์
เอกสารอ้างอิง
Georges Fahmi. Islam and Democracy: When do Religious Actors Decide to Support Dem
ocratic Transition? Carnegie Middle East Center. ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/
2016/06/13/islam-and-democracy-when-do-religious-actors-decide-to-support-democratic-
transition/j2az
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
การประชุมคลังปัญญาสัญจร
ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียนภาคพื้นสมุทร
ระหว่างวันที่ 13-15 กรกฎาคม 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จัดเวทีประชุม
สัญจรไปยังจังหวัดยะลา เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม การศึกษา
ของเมืองยะลาในฐานะเมืองชายแดนใต้ที่มีสังคมพหุวัฒนธรรมไทย-มลายู-จีน กับประเทศเพื่อนบ้าน
มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย
จากการประชุมระดมสมองเรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของภูมิภาค ระหว่าง
สถาบันคลังปัญญากับเทศบาลนครยะลา โดยนายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา คุณพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์
เจริญ และภาคส่วนต่างๆ ของเมืองยะลา ทาให้ทราบว่า ปัจจุบัน ผู้บริหารเมืองยะลา นาโดยเทศบาล
นครยะลา มียุทธศาสตร์ที่จะฟื้นเมืองยะลาให้กลับมาคึกคัก เป็นศูนย์กลางการคมนาคมอีกครั้ง แต่ใน
ครั้งนี้เป้าหมายของการเชื่อมต่อหลักไม่ใช่กรุงเทพ แต่คือ ภูมิภาคอาเซียนตอนใต้หรืออาเซียนทาง
ทะเล (Maritime ASEAN) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางความเจริญใหม่ในยุคบูรพาภิวัตน์ อันประกอบด้วย
ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านสองโครงการสาคัญ ดังนี้
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. ตัดถนนร่นเส้นทางยะลา - เบตง เพื่อเชื่อมตัวเมืองยะลากับอาเภอเบตง ซึ่งเป็นเมืองชายแดนที่
สาคัญมากของไทยกับประเทศมาเลเซีย มีเศรษฐกิจการค้า การท่องเที่ยวที่คึกคัก โดยเฉพาะ
นักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย จีน สิงคโปร์ และอินโดนีเซียมาท่องเที่ยวจานวนมาก แต่ความเจริญทาง
เศรษฐกิจเหล่านี้ส่วนใหญ่มักหยุดอยู่แค่ที่เบตง ไม่เดินทางต่อมายังเมืองยะลาและเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ
ของไทย เช่น หาดใหญ่ ภูเก็ต เพราะเส้นทางถนนเบตง-ยะลา ในปัจจุบันเดินทางลาบาก ระยะทาง
140 กม. แต่ต้องใช้เวลากว่าสองชั่วโมง เพราะเส้นทางคดเคี้ยวไปตามสันเขา ดังนั้น เทศบาลนคร
ยะลาจึงเสนอโครงการทาถนนสี่ช่องจราจรจากยะลาไปยังอาเภอธารโต และเจาะอุโมงค์ต่อจากธารโต
ถึงเบตง เพื่อลดระยะเวลาเดินทางให้เหลือราวหนึ่งชั่วโมง ปัจจุบันกาลังอยู่ในขั้นผลักดันและศึกษาหา
รูปแบบงบประมาณ หากทาได้สาเร็จก็จะช่วยดึงนักท่องเที่ยวจาก เบตง ซึ่งส่วนใหญ่คือนักท่องเที่ยว
จากมาเลเซียและสิงคโปร์ที่มีกาลังซื้อสูงให้เข้ามาสู่ยะลามากขึ้น
อนึ่ง ในข้อนี้ รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการกากับทิศสถาบันคลังปัญญาฯ และ
กรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย เสริมว่า ถ้าทาให้โครงการตัดถนนตรงเชื่อม
จากเบตงมายะลานั้น ต่อไปยังหาดใหญ่ได้อีก ก็น่าจะกลายเป็นเส้นทางทางเลือกอีกเส้นหนึ่งคือ ปีนัง-
เบตง-ยะลา-หาดใหญ่ เพราะเส้นทางทุกวันนี้ คนจากหาดใหญ่ที่จะไปปีนังหรือนักท่องเที่ยวจากปีนังที่
จะมาหาดใหญ่ต้องไปผ่านทางเมืองปาดังเบซาร์ (อ.สะเดา จ.สงขลา) เส้นทางใหม่นี้จะทาให้คนที่มา
จากปีนังจะไปหาดใหญ่หรือหาดใหญ่ไปปีนัง แวะเที่ยวที่เบตงและยะลาได้ด้วย น่าจะทาให้ยะลา
กลับมาเป็นชุมทางคมนาคมได้อีกครั้ง
2. โครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ยะลา-สุไหงโกลก นอกจากเบตง อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ก็
เป็นเมืองชายแดนอีกแห่งที่ยะลาหวังจะเชื่อมต่อด้วยเพื่อใช้เป็นประตูสู่ภูมิภาคอาเซียนทางทะเลอีก
ทาง แต่ในปัจจุบัน การเดินทางโดยรถยนต์จากยะลาไปสุไหงโกลกมีระยะทางราว 200 กม. เทศบาล
นครยะลาจึงมีแนวคิดขออนุมัติโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่จากรัฐบาล ซึ่งจะช่วยร่นระยะทาง เหลือ
ประมาณ 100 กม. อานวยความสะดวกในการไปหามาสู่และธุรกิจการค้าข้ามชายแดนไทย-มาเลเซีย
มากยิ่งขึ้น
อนึ่ง ต่อเรื่องรถไฟ รศ.ดร.จานง เสนอด้วยว่าควรจะต่อยอดด้วยการทาให้เชื่อมกับเส้นทาง
รถไฟความเร็วสูงในปัจจุบันของมาเลเซีย ซึ่งวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์มาถึง อ.หาดใหญ่ รวมทั้งไปเชื่อม
กับเส้นทางรถไฟความสูงระดับชาติของไทย หากรัฐบาลไทยขยายโครงการรถไฟความเร็วสูงลงมายัง
คาบสมุทรภาคใต้ (ซึ่งปัจจุบัน มีแต่สายที่เชื่อมกรุงเทพกับภาคเหนือและอีสาน) ก็น่าจะช่วยเพิ่มการ
คมนาคมขนส่งให้มาสู่ยะลาได้อีกมาก
ทั้งนี้ รายละเอียดเพิ่มเติมจากการระดมสมองเรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของ
ภูมิภาค ในครั้งนี้ ติดตามได้จากบทความเรื่อง ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับทิศทางการพัฒนา
เมืองในระดับภูมิภาค ซึ่งเผยแพร่บนเว็บไซต์ของสถาบันคลังปัญญา
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ภาพปก: http://www.writingfordesigners.com/wp-content/uploads/2012/10/IslamicArt4.jpg
ปีที่เผยแพร่: สิงหาคม 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Contenu connexe

Tendances

แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560Klangpanya
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558Klangpanya
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม USMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว USMAN WAJI
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรpattarachat
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558Klangpanya
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 

Tendances (19)

แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
 
งานธุรการ
งานธุรการงานธุรการ
งานธุรการ
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 

En vedette

บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559Klangpanya
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 

En vedette (20)

บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก BRUEGEL การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit BROOKINGS ความสุขและสุขภาวะในจีน: ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียน ภาคพื้นสมุทร สิงหาคม 59
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน เดือนสิงหาคมนี้สถาบันคลังปัญญาฯ ยังคงเกาะติดสถานการณ์โลก ที่เกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคผ่านมุมมองของสถาบันคลังสมองชื่อดังอย่างใกล้ชิดดังเช่นที่ผ่านมา และได้ ให้ความสนใจเป็นพิเศษกับประเด็นที่เกี่ยวกับประเทศโลกอิสลามซึ่งนับวันจะทวีบทบาทในเวทีโลก มากขึ้นในหลายแง่มุม เอกสาร World Think Tank Monitor ฉบับนี้จึงใคร่ขอเสนอบทวิเคราะห์ของ สถาบัน Carnegie Middle East Center ที่มุ่งหาคาตอบสาคัญของความเข้ากันได้ระหว่างศาสนา อิสลามกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย พร้อมกันนี้ยังได้เสนอบทความที่ติดตามความ เคลื่อนไหวของจีน และการเปลี่ยนแปลงหลังเหตุการณ์ Brexit ต่อเนื่องจากฉบับก่อน สาหรับกิจกรรมของสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้มีการจัดการประชุมคลังปัญญา สัญจร เรื่อง "ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียนภาคพื้นสมุทร" เพื่อศึกษา ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมและการศึกษาของเมืองยะลาในฐานะเมือง ชายแดนใต้ที่มีสังคมพหุวัฒนธรรมร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน สุดท้ายนี้ ขอให้ผู้อ่านทุกท่านสนุกกับ ความรู้ที่ได้รับจากการอ่านนะคะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป BRUEGEL การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit 1 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS ความสุขและสุขภาวะในจีน: ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า 5 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง Carnegie Middle East Center อิสลามกับประชาธิปไตย: การจับคู่ขัดแย้งที่ผิดฝาผิดตัว 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT การประชุมคลังปัญญาสัญจร "ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียน 10 ภาคพื้นสมุทร"
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป Bruegel เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย การประเมินกลยุทธ์ของจีนในยุคโลกาภิวัตน์ภายหลัง Brexit Photo by: http://www.aljazeera.com/programmes/headtohead/2016/04/norman-lamont-brexit-au-revoir-europe-160427074 030118.html ภาพ: http://www.dahrendorf-forum.eu/wp-content/uploads/2016/03/brexit-640x400.jpg ท่ามกลางสายตาของประชาคมโลกที่จับจ้องการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นภายหลัง Brexit ซึ่ง นาพาให้สหราชอาณาจักรถอนตัวจากการเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปนั้น จีนเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มี ปฏิกิริยาไม่น้อยต่อเหตุการณ์ดังกล่าว ทั้งนี้ แม้จีนจะไม่ได้รับผลกระทบมากเท่าประเทศในยุโรป แต่ Brexit ก็ส่งผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์เซี่ยงไฮ้ปรับตัวลดลงและเงินหยวนอ่อนค่าเมื่อเทียบกับเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ ด้วยเหตุดังกล่าว จีนจึงต้องปรับกลยุทธ์โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจเพื่อให้รับมือกับการ เปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ได้อย่างเหมาะสม ในการนี้ Alicia Garcia-Herrero และ Jianwei Xu จากสถาบัน Bruegel ได้วิเคราะห์และประเมินนโยบายและกลยุทธ์ในการปรับตัวของจีนไว้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ จีนเป็นประเทศคู่ค้าที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป ทั้งยังเป็นแหล่งการลงทุนและคู่แข่ง ทางการค้าที่สาคัญในเวลาเดียวกัน ในบรรดาประเทศในสหภาพยุโรป สหราชอาณาจักรนับเป็น พันธมิตรทางเศรษฐกิจที่สาคัญสาหรับประเทศจีน โดยจีนหวังใช้สหราชอาณาจักรเป็นประตูในการ ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับสหภาพยุโรป ทว่าเมื่อเกิด Brexit ขึ้น แผนการดังกล่าวของจีนจึง
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับผลกระทบอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะในด้านการรักษาความสัมพันธ์กับสมาชิกสหภาพ ยุโรปที่เหลืออยู่ ผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ หลัง Brexit มีการคาดการณ์ว่าผู้ประกอบการจีนมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนการส่งออกสินค้าจาก สหราชอาณาจักรไปยังประเทศสหภาพยุโรปอื่นๆ มากขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มปริมาณการส่งออกไป ยังประเทศคู่ค้ารายใหญ่อีก 4ประเทศนอกเหนือจากสหราชอาณาจักร ได้แก่ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศสและอิตาลี ซึ่งจะทาให้การค้าต่างประเทศของจีนกระจายไปในวงกว้างขึ้น ที่มา: Bruegel and Eurostat. Note: Only countries with a trade share of 3 percent or more are labelled in the figure.
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อมูลที่น่าสนใจอีกประการหนึ่ง คือ ที่ผ่านมาอัตราการเติบโตด้านการส่งออกของสหราช อาณาจักรไปยังประเทศสหภาพยุโรปอื่นๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับอัตราการเติบโตของการค้า ระหว่างจีนกับสหราชอาณาจักร แต่อัตราการส่งออกของสหราชอาณาจักรไปยังสหภาพยุโรปที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.38 ต่อปี ส่งผลต่อเนื่องให้การส่งออกของจีนไปยังสหราชอาณาจักรคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเพียง ร้อยละ 0.09 ดังนั้น แม้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะค้าขายกันน้อยลงหลังเหตุการณ์ Brexit จีนก็อาจไม่ได้รับ ผลกระทบมากเท่าใดนัก แต่ในทางตรงข้ามก็ยากจะปฏิเสธได้ว่าในระยะยาว Brexit อาจส่งผลให้การ เจรจาในข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างจีนกับสหภาพยุโรปยิ่งยืดเยื้อเนื่องจากขาดผู้นาด้านการเจรจาที่ สาคัญอย่างอังกฤษไป อีกทั้งประเทศสมาชิกที่เหลือยังมีความกังวลถึงความเป็นไปได้และเงื่อนไขใน การปฏิบัติของข้อตกลงดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ Brexit จึงไม่เพียงแต่ทาให้อังกฤษสูญเสียบทบาท ตัวกลางที่เชื่อมเศรษฐกิจจีนกับยุโรปเข้าด้วยกันเท่านั้น แต่ขณะนี้จีนได้เริ่มมองหาประเทศ ตัวเลือกใหม่ที่จะใช้เป็นประตูเชื่อมสู่ตลาดยุโรปด้วย ผลกระทบต่อการลงทุน หลัง Brexit จีนมีแนวโน้มจะลดการลงทุนในสหราชอาณาจักรและหันไปเพิ่มโอกาสสาหรับการ ลงทุนในประเทศสหภาพยุโรปมากขึ้น เดิมทีในปี 2010 – 2015 จีนได้ลงทุนในสหราชอาณาจักรสูงสุด ถึง 15.16 พันล้านยูโร และมีการบรรลุข้อตกลงในสัญญาการค้ารวมถึง 59 ฉบับ อย่างไรก็ตาม สหราช อาณาจักรก็ไม่ได้เป็นศูนย์กลางการลงทุนของจีนในตลาดสหภาพยุโรปแต่เพียงประเทศเดียว แต่อิตาลี ฝรั่งเศส และเยอรมันก็นับเป็นแหล่งลงทุนที่สาคัญของจีนด้วยเช่นกัน ที่มา: Thilo Hanemann and Mikko Huotari (2016) A New Record Year for Chinese Outbound Investment in Europe: A Report by MERICS and Rhodium Group
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อนึ่ง แม้สหราชอาณาจักรจะมีข้อได้เปรียบด้านบริการทางการเงินที่มีประสิทธิภาพและรูปแบบ ภาษาที่มีความเป็นสากล แต่การออกจากสหภาพยุโรปก็ทาให้สถานะการเป็นศูนย์กลางทางการเงินใน ภูมิภาคของลอนดอนสูญเสียไปด้วย เมืองอื่นๆ เช่น ปารีส แฟรงเฟิร์ตควรถือโอกาสนี้เพิ่มขีด ความสามารถเพื่อเป็นศูนย์กลางทางการเงินใหม่ในภูมิภาค โดยแต่ละเมืองอาจมีจุดเด่นหรือความ เชี่ยวชาญที่ต่างกันเพื่อดึงดูดการลงทุน ผลกระทบด้านสังคม: นักเรียนจีนในยุโรป เอกสารอ้างอิง Alicia Garcia-Herrero and Jianwei Xu. Assessing China’s post-Brexit globalisation strategy. Bruegel. ออนไลน์: http://bruegel.org/2016/07/assessing-chinas-post-brexit-globalisation- strategy/ ผลการวิเคราะห์ของ Bruegel ระบุว่า Brexit ไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการศึกษาต่อในยุโรปของ นักเรียนนักศึกษาจีน โดยอังกฤษยังคงเป็นจุดหมายปลายทางอันดับหนึ่งที่นักเรียนจีนกว่าร้อยละ 50 เลือกเดินทางไปศึกษาต่อ ความนิยมนี้เกิดมาจากข้อจากัดด้านการศึกษา เนื่องจากภาษาอังกฤษเป็น ภาษาต่างประเทศเพียงภาษาเดียวที่ถูกใช้เป็นหลักในจีนนักเรียนจีนส่วนใหญ่จึงมีอุปสรรคในการ เรียนรู้ภาษาที่สามและทาให้มีโอกาสน้อยที่จะเปลี่ยนปลายทางการศึกษาจากอังกฤษไปยังประเทศ อื่นๆ
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย ความสุขและสุขภาวะในจีน : ความย้อนแย้งในความก้าวหน้า สถาบัน Brookings ของสหรัฐอเมริกาได้เผยแพร่งานวิจัยชื่อ Happiness and Health in China : The paradox of progress มีเนื้อหาว่า ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศจีนได้มีการ เติบโตทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาและปัญหาความยากจนลดลง ยังกล่าวได้อีกว่า การที่จีนมีอัตรา ความยากจนลดลงนั้นส่งผลให้อัตราความยากจนของโลกลดลงด้วย รายได้ต่อหัวและการบริโภคใน ครัวเรือนของจีนเพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่าระหว่างปี 1990 ถึงปี 2005 ส่วนดัชนีการพัฒนามนุษย์ของจีนพุ่ง ขึ้นมาอยู่ในลาดับที่ดีขึ้น 10 อันดับ จากปี 2008 ทาให้ปี 2013 จีนอยู่ที่ลาดับ 93 จากทั้งหมด 187 ประเทศ รวมถึงคนจีนมีอายุขัยที่ยาวนานขึ้น คือ 75.3 ปี เทียบจากเมื่อปี 1980 ที่คนมีอายุขัยเฉลี่ย เพียง 67 ปีเท่านั้น แต่ในขณะเดียวกัน ระดับความพึงพอใจในชีวิตของชาวจีนกลับสวนทางกับความเจริญ ของประเทศ ความพึงพอใจของชาวจีนลดลงอย่างรวดเร็วในระยะต้นของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ภาพ: http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/china/9476838/China-needs-to-spend-5-trillion-in-20-years-as-200- million-flock-to-cities.html
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต                 ของจีน แต่หลังจากนั้นก็ฟื้นกลับมาในระดับหนึ่ง ซึ่งการลดลงของความพึงพอใจดังกล่าวนั้นควบคู่ไป กับการเพิ่มขึ้นของอัตราการฆ่าตัวตายและจานวนผู้ป่วยทางสุขภาพจิต โดยในทศวรรษ 1990 จีนเป็น หนึ่งในประเทศที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงที่สุดในโลก อัตราการเติบโตของจานวนผู้ป่วยในแต่ละปีที่เข้า รับการรักษาในโรงพยาบาลด้านจิตเวช เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.4 จากปี 2007 ถึงปี 2012 ส่วนผู้ป่วย นอกที่มารักษาก็เพิ่มขึ้นในอัตราใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 12.4 ในปี 2011 กล่าวโดยสรุป คือ ในขณะที่จีนมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีรายได้ ต่อหัวเพิ่มขึ้น แต่กลับพบว่าคนมีปัญหาทางสุขภาพจิตและมีอัตราการฆ่าตัวตายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งการ เปลี่ยนแปลงของการเติบโตทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะนามาซึ่งความไม่มั่นคงและความไม่ เสมอภาคที่มากขึ้นนั่นเอง หลายปีก่อน Brookings ได้ทาแบบสอบถาม พบว่า คนรวยไม่ค่อยมีความสุขและมีความพึง พอใจในการเป็นอยู่ต่ากว่าผู้ที่มีรายได้น้อยมาก(แม้จะไม่มีรายได้เพิ่มเลย) และพบอีกว่า กลุ่มที่ดิ้นรน หาความเปลี่ยนแปลงและแสวงหาชีวิตที่ดีขึ้น คือกลุ่มคนที่มีรายได้ที่ดีกว่าแต่มีความอึดอัด ไม่มี ความสุขและรู้สึกไม่มั่นคงในชีวิต แทนที่จะเป็นผู้ที่มีรายได้น้อย แต่มีงานวิจัยก่อนหน้านี้ เคยพบ ข้อสรุปที่น่าสนใจที่สอดคล้องกับความย้อนแย้งของประเทศจีน คือ ชาวชนบทมีชีวิตที่มีความสุข แต่ คนรวยกลับรู้สึกอึดอัดและไม่มีความสุข แต่สาหรับงานวิจัยชิ้นนี้ พบว่าปัจจัยมาตรฐานของการมีชีวิตที่ดีของจีนนั้นเหมือนกับประเทศ อื่นๆ ทั่วโลก แต่ในขณะเดียวกัน จีนมีปัญหาคนไม่มีความสุขและปัญหาด้านสุขภาพจิตสูงมากและเห็น เด่นชัดมาก ซึ่งคนเหล่านี้เป็นคนเมือง ที่มีการศึกษาและทางานในภาคเอกชน แต่มักจะพักผ่อนไม่ เพียงพอ จากงานวิจัยชิ้นนี้ ประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว มีแนวโน้มที่คนจะมีความสุข น้อยลง โดยเฉพาะคนที่อาศัยในเมืองใหญ่ ดังนั้น ประเทศไทย ในฐานะที่คนชนบทมีแนวโน้มจะย้าย เข้าสู่เมืองใหญ่มากขึ้น ศึกษาและทาความเข้าใจในประเด็นความเชื่อมโยงระหว่างการเติบโตของ ประเทศและสุขภาวะของคนทั้งทางด้านร่างกายและสุขภาพจิต เพื่อเตรียมรับมือและปรับทิศทางการ เติบโตให้เหมาะสม เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี เอกสารอ้างอิง Carol Graham, Shaojie Zhou and Junyi Zhang. Happiness and health in China: The paradox of progress. Brookings. ออนไลน์: https://www.brookings.edu/research/happiness-and- health-in-china-the-paradox-of-progress/
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง  Carnegie Middle East Center เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย อิสลามกับประชาธิปไตย : การจับคู่ขัดแย้งที่ผิดฝาผิดตัว ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาดูจะบอกเราว่า ประชาธิปไตย เป็นระบอบการเมืองตะวันตกที่ดูจะ เข้ากับสังคมอื่นนอกตะวันตกได้ไม่ง่ายนัก ในหลายๆ สังคม รวมทั้งประเทศไทยต่างก็มีของเดิมใน สังคมของตนที่เมื่อประชาธิปไตยถูกนาเข้ามา สิ่งเหล่านั้นก็ถูกชี้ว่าเป็น “อุปสรรค” “ขัดขวาง” “ขัดแย้ง” กับการพัฒนาประชาธิปไตย ในโลกนี้ ตะวันออกกลางดูจะเป็นพื้นที่ที่มีปัญหามากที่สุดแห่ง หนึ่งที่ปลูกต้นประชาธิปไตยขึ้นได้ยากเต็มที และหลายคนก็ชี้ไปที่ “อิสลาม” ว่าเป็นศาสนาที่ไป ด้วยกันได้ยากกับประชาธิปไตย แต่ในบทความเรื่อง Islam and Democracy: When do Religious Actors Decide to Support Democratic Transition? ของสถาบัน Carnegie Middle East Center ผู้เขียน Georges Fahmi ชี้ว่าอิสลามก็เหมือนศาสนาอื่นๆ ที่ไม่ได้มีจุดยืนตายตัวเป็นหนึ่งเดียวใน หมู่ศาสนิกว่ารับหรือไม่รับประชาธิปไตย (ซึ่งจริงๆ ก็ไม่แปลกเพราะศาสนาเหล่านี้อยู่มาเป็นพัน ปีก่อนจะมีระบอบประชาธิปไตยเกิดขึ้นในตะวันตก) แต่จุดยืนต่อประชาธิปไตยของฝ่ายศาสนา
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต (อาจจะเป็นผู้นาศาสนา กลุ่ม ขบวนการ ฯลฯ) นั้นเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ ขบวนการ ทางศาสนาอิสลามไม่ได้สนใจว่ารัฐจะเป็นระบอบเผด็จการหรือประชาธิปไตย จะเป็นทหารหรือพล เรือน ตราบเท่าที่รัฐในยุคนั้นๆ ไม่มารบกวนพวกตน แต่ในยุคใดที่รัฐมารบกวน กลุ่มศาสนาก็จะ ออกมาเรียกร้อง สนับสนุนวาทกรรมประชาธิปไตย เพราะเห็นว่า อย่างน้อย ค่านิยมเรื่องสิทธิเสรีภาพ ในระบอบประชาธิปไตยก็ประกันให้พวกเขาดาเนินกิจการทางศาสนาได้อย่างเสรี งานชิ้นนี้ยกตัวอย่างกลุ่มศาสนาสาคัญสองกลุ่มคือ กลุ่มอัล อัซฮาร์ (Al-Azhar) ในอียิปต์ กับขบวนการเฟตุลเลาะห์ กุเลน (Fethullah Gülen) ในตุรกี สองกลุ่มนี้มีความต่างกันในเชิง รูปแบบสถาบัน กลุ่มแรกเป็นมหาวิทยาลัยและมัสยิด กลุ่มหลังเป็นขบวนการทางสังคม ทางานด้าน มนุษยธรรม สังคมสงเคราะห์ การศึกษา และสื่อ แต่จุดร่วมของทั้งสองกลุ่มคือ ต้องการทาให้ชีวิตทาง สังคมและวัฒนธรรมของประเทศดาเนินไปอย่างสอดคล้องกับหลักอิสลามมากขึ้น อาจจะไม่ถึงกับ สร้างสังคมการเมืองแบบอิสลามเต็มรูปแบบ หรือ “รัฐอิสลาม” เหมือนพวก IS แต่ก็อยากจะผสม กลมกลืนอิสลามเข้ามาเป็นเนื้อเดียวกับผู้คนและสังคมมากกว่าที่พวกสนับสนุนรัฐทางโลก (secular state) ต้องการ เมื่อใดที่ขบวนการศาสนา (อิสลาม) หันมาสนับสนุนกระบวนการประชาธิปไตย ปกติแล้วทั้งอัล อัซฮาร์และขบวนการกุเลนต่างวางเฉยเมื่อเห็นรัฐบาลเผด็จการของตนใช้ อานาจละเมิดสิทธิประชาชน แต่ก็มีบางช่วงที่ทั้งสองกลุ่มนี้ออกมาสนับสนุนประชาธิปไตย เมื่อรู้สึกว่า โดนรัฐคุกคาม และเห็นว่าพวกเขาจะดาเนินกิจการทางศาสนาได้อย่างเสรี ก็ต่อเมื่อมีรัฐที่อยู่ภายใต้ กฎหมาย (มีรัฐที่เป็นนิติรัฐ) และประเทศมีระบอบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ตัวอย่างเช่น ขบวนการกุเลนในตุรกี ครั้งแรกที่ออกมาสนับสนุนประชาธิปไตยคือ ต้านกองทัพที่เข้ามา ปราบปรามกิจกรรมของขบวนการทางศาสนาอิสลามทั้งหลาย ภายหลังทารัฐประหารเงียบเมื่อปี 1997 จากนั้นขบวนการกุเลนจึงเริ่มออกมาจัดเวทีหารืออย่างต่อเนื่องในประเด็นการเปลี่ยนผ่านไปสู่ ระบอบประชาธิปไตยของตุรกี ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาอิสลามกับรัฐทางโลก และออก แถลงการณ์เรียกร้องให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาเป็นไปอย่างสอดคล้องกับหลักการพื้นฐาน ของระบอบประชาธิปไตย ส่วนครั้งที่สองที่ขบวนการกุเลนออกมาเรียกร้องประชาธิปไตย คือเมื่อเร็วๆ นี้ (ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องมาจนถึงการกบฏที่ล้มเหลวในตุรกีเมื่อกลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา) ที่พวกเขาออกมาต้านรัฐบาลพรรค AK ของเออร์โดกัน ที่เริ่มกวาดล้าง ปิดโรงเรียน คุมสื่อ จากัด อิทธิพลของขบวนการกุเลนนับแต่ปี 2010 มา โดยรัฐบาลเออร์โดกันหาว่าขบวนการกุเลนพยายามทา ตัวเป็น “รัฐเงา (pararell state)” ครั้งนี้ขบวนการกุเลนก็ใช้สื่อของตนออกมาแสดงความกังวลใน สถานการณ์ประชาธิปไตยในประเทศที่ถดถอย การจากัดสิทธิเสรีภาพสื่อ อานาจฝ่ายตุลาการที่เพิ่ม มากขึ้น และวาทกรรมอื่นๆ ทานองนี้
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ส่วนกลุ่มอัล อัซฮาร์ก็ออกมาพูดจาภาษาเสรีนิยม เรียกร้องสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียม ใน ทานองเดียวกันในปี 2011 หลังระบอบเผด็จการมูบารัคถูกล้มไปในอียิปต์ และมีรัฐบาลที่มาจากการ เลือกตั้งของมอร์ซีขึ้นมาแทนในปีถัดมา ซึ่งผู้เขียนคือ Georges Fahmi วิเคราะห์ว่าอัล อัซฮาร์ ออกมาสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยให้เป็นเหมือน “เกราะป้องกัน” ของกลุ่ม หากว่ากลุ่มศาสนาฝ่าย ขวากว่าอย่าง Muslim Brotherhood และ Salafist Call ขึ้นมามีอานาจในการเมืองอียิปต์ เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ในประเทศที่มีทั้งรัฐบาลสมัยใหม่ที่เป็นรัฐทางโลก เป็นรัฐบาลจากการ เลือกตั้ง ดารงอยู่คู่กับขบวนการ/กลุ่มทางศาสนาที่เข้มแข็งอย่างกรณีตุรกีและอียิปต์ ความขัดแย้ง- ต่อรอง –ประนีประนอมที่เกิดขึ้นระหว่างสองกลุ่มนี้ (ซึ่งภายในก็แตกเป็นหลายกลุ่ม) จึงเป็นการยื้อ แย่งบทบาทกันในสังคมระหว่างรัฐกับศาสนา หรืออาณาจักรกับศาสนจักร เป็นเรื่องของผลประโยชน์ เอกสารอ้างอิง Georges Fahmi. Islam and Democracy: When do Religious Actors Decide to Support Dem ocratic Transition? Carnegie Middle East Center. ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/ 2016/06/13/islam-and-democracy-when-do-religious-actors-decide-to-support-democratic- transition/j2az
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย การประชุมคลังปัญญาสัญจร ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับการเชื่อมต่อภูมิภาคอาเซียนภาคพื้นสมุทร ระหว่างวันที่ 13-15 กรกฎาคม 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จัดเวทีประชุม สัญจรไปยังจังหวัดยะลา เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม การศึกษา ของเมืองยะลาในฐานะเมืองชายแดนใต้ที่มีสังคมพหุวัฒนธรรมไทย-มลายู-จีน กับประเทศเพื่อนบ้าน มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย จากการประชุมระดมสมองเรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของภูมิภาค ระหว่าง สถาบันคลังปัญญากับเทศบาลนครยะลา โดยนายกเทศมนตรีเทศบาลนครยะลา คุณพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์ เจริญ และภาคส่วนต่างๆ ของเมืองยะลา ทาให้ทราบว่า ปัจจุบัน ผู้บริหารเมืองยะลา นาโดยเทศบาล นครยะลา มียุทธศาสตร์ที่จะฟื้นเมืองยะลาให้กลับมาคึกคัก เป็นศูนย์กลางการคมนาคมอีกครั้ง แต่ใน ครั้งนี้เป้าหมายของการเชื่อมต่อหลักไม่ใช่กรุงเทพ แต่คือ ภูมิภาคอาเซียนตอนใต้หรืออาเซียนทาง ทะเล (Maritime ASEAN) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางความเจริญใหม่ในยุคบูรพาภิวัตน์ อันประกอบด้วย ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผ่านสองโครงการสาคัญ ดังนี้
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. ตัดถนนร่นเส้นทางยะลา - เบตง เพื่อเชื่อมตัวเมืองยะลากับอาเภอเบตง ซึ่งเป็นเมืองชายแดนที่ สาคัญมากของไทยกับประเทศมาเลเซีย มีเศรษฐกิจการค้า การท่องเที่ยวที่คึกคัก โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย จีน สิงคโปร์ และอินโดนีเซียมาท่องเที่ยวจานวนมาก แต่ความเจริญทาง เศรษฐกิจเหล่านี้ส่วนใหญ่มักหยุดอยู่แค่ที่เบตง ไม่เดินทางต่อมายังเมืองยะลาและเมืองท่องเที่ยวอื่นๆ ของไทย เช่น หาดใหญ่ ภูเก็ต เพราะเส้นทางถนนเบตง-ยะลา ในปัจจุบันเดินทางลาบาก ระยะทาง 140 กม. แต่ต้องใช้เวลากว่าสองชั่วโมง เพราะเส้นทางคดเคี้ยวไปตามสันเขา ดังนั้น เทศบาลนคร ยะลาจึงเสนอโครงการทาถนนสี่ช่องจราจรจากยะลาไปยังอาเภอธารโต และเจาะอุโมงค์ต่อจากธารโต ถึงเบตง เพื่อลดระยะเวลาเดินทางให้เหลือราวหนึ่งชั่วโมง ปัจจุบันกาลังอยู่ในขั้นผลักดันและศึกษาหา รูปแบบงบประมาณ หากทาได้สาเร็จก็จะช่วยดึงนักท่องเที่ยวจาก เบตง ซึ่งส่วนใหญ่คือนักท่องเที่ยว จากมาเลเซียและสิงคโปร์ที่มีกาลังซื้อสูงให้เข้ามาสู่ยะลามากขึ้น อนึ่ง ในข้อนี้ รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์ กรรมการกากับทิศสถาบันคลังปัญญาฯ และ กรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่งเอเชีย เสริมว่า ถ้าทาให้โครงการตัดถนนตรงเชื่อม จากเบตงมายะลานั้น ต่อไปยังหาดใหญ่ได้อีก ก็น่าจะกลายเป็นเส้นทางทางเลือกอีกเส้นหนึ่งคือ ปีนัง- เบตง-ยะลา-หาดใหญ่ เพราะเส้นทางทุกวันนี้ คนจากหาดใหญ่ที่จะไปปีนังหรือนักท่องเที่ยวจากปีนังที่ จะมาหาดใหญ่ต้องไปผ่านทางเมืองปาดังเบซาร์ (อ.สะเดา จ.สงขลา) เส้นทางใหม่นี้จะทาให้คนที่มา จากปีนังจะไปหาดใหญ่หรือหาดใหญ่ไปปีนัง แวะเที่ยวที่เบตงและยะลาได้ด้วย น่าจะทาให้ยะลา กลับมาเป็นชุมทางคมนาคมได้อีกครั้ง 2. โครงการสร้างทางรถไฟรางคู่ ยะลา-สุไหงโกลก นอกจากเบตง อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ก็ เป็นเมืองชายแดนอีกแห่งที่ยะลาหวังจะเชื่อมต่อด้วยเพื่อใช้เป็นประตูสู่ภูมิภาคอาเซียนทางทะเลอีก ทาง แต่ในปัจจุบัน การเดินทางโดยรถยนต์จากยะลาไปสุไหงโกลกมีระยะทางราว 200 กม. เทศบาล นครยะลาจึงมีแนวคิดขออนุมัติโครงการสร้างทางรถไฟรางคู่จากรัฐบาล ซึ่งจะช่วยร่นระยะทาง เหลือ ประมาณ 100 กม. อานวยความสะดวกในการไปหามาสู่และธุรกิจการค้าข้ามชายแดนไทย-มาเลเซีย มากยิ่งขึ้น อนึ่ง ต่อเรื่องรถไฟ รศ.ดร.จานง เสนอด้วยว่าควรจะต่อยอดด้วยการทาให้เชื่อมกับเส้นทาง รถไฟความเร็วสูงในปัจจุบันของมาเลเซีย ซึ่งวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์มาถึง อ.หาดใหญ่ รวมทั้งไปเชื่อม กับเส้นทางรถไฟความสูงระดับชาติของไทย หากรัฐบาลไทยขยายโครงการรถไฟความเร็วสูงลงมายัง คาบสมุทรภาคใต้ (ซึ่งปัจจุบัน มีแต่สายที่เชื่อมกรุงเทพกับภาคเหนือและอีสาน) ก็น่าจะช่วยเพิ่มการ คมนาคมขนส่งให้มาสู่ยะลาได้อีกมาก ทั้งนี้ รายละเอียดเพิ่มเติมจากการระดมสมองเรื่อง การพัฒนาเมืองยะลาในบริบทใหม่ของ ภูมิภาค ในครั้งนี้ ติดตามได้จากบทความเรื่อง ยะลา...เมืองชายแดนใต้กับทิศทางการพัฒนา เมืองในระดับภูมิภาค ซึ่งเผยแพร่บนเว็บไซต์ของสถาบันคลังปัญญา
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ภาพปก: http://www.writingfordesigners.com/wp-content/uploads/2012/10/IslamicArt4.jpg ปีที่เผยแพร่: สิงหาคม 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064