SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
พยัญชนะวรรค
แถวที่ 1 2 3 4
5
วรรค กะ ก ข ค ฆ
ง
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ
ญ
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ
คำำสมำส
 “เรียกอีกอย่ำงว่ำ คำำสมำสที่ไม่มี
”สนธิ
 คือ คำำที่เกิดจำกกำรนำำเอำคำำบำลี
และสันสกฤตมำเรียงชิดกันเข้ำเป็น
คำำใหม่ อ่ำนออกเสียงต่อเนื่องกัน
ส่วนมำกจะมีควำมหมำยตรงกับคำำ
เหล่ำนั้น
ลักษณะคำำสมำส
๑.คำำที่มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต
เท่ำนั้นที่สมำสกันได้
บำลี + บำลี เช่น ทิพโสต
ขัตติยมำนะ
สันสกฤต + สันสกฤต เช่น อักษร
ศำสตร์ บุรุษโทษ บำลี + สันสกฤต
 เช่น วิทยำเขต วัฒนธรรม
๒.มีลักษณะเหมือนกำรนำำคำำมำเรียงชิด
ลักษณะคำำสมำส
(ต่อ)๓.เมื่อแปลควำมหมำยจะต้องแปลจำก
ศัพท์หลังไปหำศัพท์หน้ำ เพรำะภำษำ
บำลีสันสกฤตให้คำำขยำยอยู่ข้ำงหน้ำ
คำำที่ถูกขยำย เช่น
-  นิตยสำร หมำยถึง สำรที่ออก
เป็นนิตย์
-  มรณบัตร หมำยถึง เอกสำร
แสดงว่ำถึงแก่กรรม
ลักษณะคำำสมำส
(ต่อ)๔.เมื่ออ่ำนมักออกเสียงต่อเนื่องกัน คือ
ออกเสียงตรงที่พยำงค์สุดท้ำยของคำำ
หน้ำที่มีเสียงเนื่องเป็นคำำเดียว
เช่น บุตรธิดำ (บุด – ตระ – ทิ - ดำ)
(บุตรและธิดำ)
ธำตุเจดีย์ (ทำ หรือ ทำด – ตุ –
เจ - ดี)
๕.พยัญชนะตัวสุดท้ำยของคำำหน้ำจะ
ลักษณะคำำสมำส
(ต่อ)๖. “ ”คำำสมำสมีคำำว่ำ พระ นำำหน้ำคำำ
ศัพท์ที่มำจำกบำลีสันสกฤต (พระ
แผลงมำจำก วร) ส่วนมำกเป็นคำำ
รำชำศัพท์ เช่น พระทัย พระธิดำ
พระหัตถ์ พระบำท พระมัสสุ พระ
ขรรค์ พระอนุชำ พระเชษฐำ เป็นต้น
๗. “คำำสมำสบำงคำำลงท้ำยด้วย กร
กรรม กำร คดี ธรรม บดี
ลักษณะคำำสมำส
(ต่อ)๘.คำำอุปสรรค เป็นพยำงค์ที่ใช์สำำหรับ
ประกอบหน้ำศัพท์ เช่น ทุ นิ ป ประ
 อุป อธิ อติ เป็นต้น ทำำให้ศัพท์มีควำม
หมำยเปลี่ยนแปลงไป
ตัวอย่ำงคำำอุปสรรค เช่น
ทุกรกิริยำ ทุจริต ทุพภิกขภัย นิทำน
นิบำต นิธิ นิภำ นิพัทธ์ ประกำร
ประกำศ ประณม ประณำม ประเทศ
 ปฏิกิริยำ ปฏิญญำ
ตัวอย่ำงคำำสมำส
ธุรกิจ ประถมศึกษำ วรรณกรรม
เอกภพ กำฬทวีป รำชทัณฑ์
สัมมำอำชีพ อิทธิพล กรรมกร
สุนทรพจน์์ มหำรำช มำฆบูชำ
ขัณฑสีมำ จีรกำล ฉันทลักษณ์
มัจจุรำช ยุทธวิธี บุปผชำติ
วำตภัย วิทยฐำนะ พุทธธรรม
อธิกำรบดี บุตรทำน แพทย์ศำสตร์์
วิทยำธร เวทมนตร์์ ทวิบำท
มาลองทำาแบบฝึกกัน..!!
แบบฝึกหัด เรื่อง คำา
สมาสคำาชี้แจง : คำาใดต่อไปนี้เป็นคำาสมาส
๑.
วิทยาทาน วิทยาลัย
ธนาณัติ
๒. พระขนง พระโอรส
พลเมือง
๓. บรรณ
ศาลา บรรณาคาร
แบบฝึกหัด เรื่อง คำา
สมาสคำาชี้แจง : คำาใดต่อไปนี้เป็นคำาสมาส
๑.
วิทยาทาน วิทยาลัย
ธนาณัติ
๒. พระขนง พระโอรส
พลเมือง
๓. บรรณ
ศาลา บรรณาคาร
คำาสนธิ
 “ ”เรียกอีกอย่างว่า คำาสมาสที่มีสนธิ
 คือ คำาที่เกิดจากการนำาคำาบาลี
สันสกฤตมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกัน
สั้นเข้าเป็นคำาใหม่ มีเสียงสละสลวยน่า
ฟัง เพื่อสะดวกในการประพันธ์และการ
ออกเสียง
ลักษณะของคำา
สนธิ๑.มุ่งการนำาคำามาเชื่อมให้เสียงกลมกลืน
กัน
๒.คำาที่นำามาเชื่อมต้องมาจากภาษาบาลี
สันสกฤต
๓.มีการเปลี่ยนแปลงตัวอักษรระหว่างคำา
ที่นำามาเชื่อมกัน
๔.การเรียงลำาดับคำาและการแปลความ
หมายเหมือน
ชนิดของคำาสนธิ
๑.นฤคหิตสนธิ คือ การเชื่อม
เสียงของคำาที่มี
นฤคหิต หรือมีพยางค์ท้ายเป็น
นฤคหิตกับคำาอื่น เมื่อสนธิแล้ว
นฤคหิตจะเปลี่ยนเป็น ง ญ ณ น
ม ซึ่งเป็นพยัญชนะท้ายวรรคทั้ง
สิ้น
หลักเกณฑ์ในการสนธิ
๑.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค กะ
แผลงนฤคหิตเป็น ง
เช่น สำ + คม = สังคม
สำ + ขาร = สังขาร
๒.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค จะ
แผลงนฤคหิตเป็น ญ
เช่น สำ + จร = สัญจร
สำ + ญาณ = สัญญาณ
หลักเกณฑ์ในการสนธิ
(ต่อ)๓.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ฏะ
แผลงนฤคหิตเป็น ณ
เช่น สำ + ฐาน = สัณฐาน
สำ + ฐิติ = สัณฐิติ
๔.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ตะ
แผลง
นฤคหิตเป็น น
เช่น สำ + ธิ = สนธิ
หลักเกณฑ์ในการสนธิ
(ต่อ)๕.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ปะ
แผลงนฤคหิตเป็น ม
เช่น สํ + ผสส = สัมผัส
สํ + พนฺธ = สัมพันธ์
๖.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะเศษวรรค
แผลงนฤคหิตเป็น ง
เช่น สํ + สรฺค = สังสรรค์
สํ + สนทนา = สังสนทนา
หลักเกณฑ์ในการสนธิ
(ต่อ)
๗.นฤคหิตสนธิกับสระ (อ ถือเป็น
สระ) แผลงนฤคหิต
เป็น ม
เช่น สํ + อย = สมัย
สํ + อาธิ = สมาธิ
ชนิดของคําสนธิ
๒.พยัญชนะสนธิ เป็นการ
กลมกลืนเสียงพยัญชนะ คําที่ขึ้นต้น
ด้วย ทุร ( ทุร เดิมเป็น ทุส แผลงเป็น
ทุร เมื่ออยู่หน้าอักษรตํ่า) ได้แก่
• ทุส + คม เป็น ทุร + คม
หมายถึง ไปลําบาก,ไปถึงยาก
• ทุส + ชน เป็น ทุร + ชน
หมายถึง ทรชน,คนชั่วร้าย
• ทุส + ชาติ เป็น ทุร +
ชนิดของคําสนธิ
๓.สระสนธิ คือ การเชื่อมคําให้
มีเสียงกลมกลืนกันระหว่างเสียงสระ
พยางค์ท้ายของคําหน้ากับเสียงสระ
พยางค์แรกของคําหลัง เมื่อเชื่อมกัน
แล้วเสียงสระเหลือเพียงเสียงเดียว
ซึ่งอาจเป็นเสียงสระพยางค์ท้ายของ
คําหน้าหรือเสียงสระพยางค์แรกของ
คําหลังหรือ
๑.สระอะ อา สนธิกับ อะ อา เป็นสระ
อะ (มีตัวสะกด)
เช่น ฐาน + อนฺตร = ฐานันดร
มหา + อรรณพ =
มหรรณพ
๒.สระอะ อา สนธิกับ อะ อา เป็นสระ
อา
เช่น คช + อาธาร = คชาธาร
นิร + อาพาธ = นิราพาธ
๓.สระอะ อา สนธิกับ อิ อี เป็นสระ อิ
อี เอ
เช่น คช + อินฺทฺร = คชินทร์ , ค
เชนทร์
อมร + อินฺทฺร = อมรินทร์ ,
อมเรนทร์
๔.สระอะ อา สนธิกับ อุ อู เป็นสระ อุ
อู โอ
เช่น นย + อุปาย = นโยบาย
๕.สระอะ อา สนธิกับ เอ ไอ โอ เอา เป็น
สระเอ ไอ โอ เอา
เช่น วร + โอรส = วโรรส
อน + เอก = อเนก
๖.สระอิ อี สนธิกับ อิ อี เป็นสระ อิ
อี
เช่น โกสี + อินฺทฺร = โกสินทร์
ธานี + อินฺทฺร = ธานินทร์
๗.สระอิ อี สนธิกับสระอื่น (นอกจาก อิ
อี ) ต้องแปลง อิ อี
ท้ายคํานั้นเป็น ย เสียก่อน แล้วจึงนํา
มาสนธิกับสระของคําหลังและถ้าหากว่า
คําหน้ามีพยัญชนะซ้อนกันให้ลบทิ้งตัว
หนึ่ง
เช่น มหิทธิ (มหิทย) + อาภรณ =
มหิทยาภรณ์
๘.สระอุ อู สนธิกับสระอุ อู เป็นสระอุ อู
เช่น ครุ + อุปกรณ = ครุปกรณ์
๙.สระอุ อู สนธิกับสระอื่น (นอกจาก อุ อู)
ต้องเปลี่ยน
ตัวอย่างคําสนธิ
นครินทร์ ศิษยานุศิษย์ มหิทธิ ราชานุ
สรณ์ หัสดาภรณ์ อินทรธิบดีี สินธ
วาณัติ กุศโลบาย สมาทาน
กุมภาพันธี์ พลานามัย ราโชวา รา
ชินยานุสรณ์ มหัศจรรยี์ หัสดินทร์
สังหรณ์ สุริโยทัย ราโชบาย กันยายน
ทุรชาติ สิงหาคม บรรณารักษ์
ราชานุสรณ์ ขีปนาวุธ มโนภาพ
หัตถาจารยี์ จุฬาลงกรณ์ ศิลปาชีพ
เทพารักษ์ มหรรณพ
ลองทำำแบบฝึกดูดี
กว่ำ...!!
แบบฝึกหัด เรื่อง คำำ
สนธิ๑.สิริ + อำกร =
๒.นิล + อุบล =
๓.รำชินี + อุปถัมภ์ =
๔.มหำ + อัศจรรย์ =
๕.มหำ + อรรณพ =
๖.อัคคี + โอภำส =
๗.สำ + นิษฐำน =
แบบฝึกหัด เรื่อง คำำ
สนธิ๑.สิริ + อำกร = สิริยำกร
๒.นิล + อุบล = นิโลบล
๓.รำชินี + อุปถัมภ์ =
รำชินูปถัมภ์
๔.มหำ + อัศจรรย์ =
มหัศจรรย์
๕.มหำ + อรรณพ =
มหรรณพ
แบบฝึกหัด เรื่อง คำำ
สนธิ๘. โหรำจำรย์ =
๙. พุทธำนุภำพ =
๑๐. อรุโณทัย =
๑๑. สุโขทัย =
๑๒. สำมัคคยำจำรย์ =
๑๓. วชิรำวุธ =
๑๔. มัคคุเทศก์ =
แบบฝึกหัด เรื่อง คำำ
สนธิ๘. โหรำจำรย์ = โหร +
อำจำรย์
๙. พุทธำนุภำพ = พุทธ +
อำนุภำพ
๑๐. อรุโณทัย = อรุณ +
อุทัย
๑๑. สุโขทัย = สุข + อุทัย
๑๒. สำมัคคยำจำรย์ =
Q&A

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 

Tendances (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 

Similaire à คำสมาส สนธิ

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Anan Pakhing
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Thanit Lawyer
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 

Similaire à คำสมาส สนธิ (20)

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
04
0404
04
 

คำสมาส สนธิ