SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
การจัดวางระบบควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ . ศ .2544 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน
ส่วนที่  1 ความหมาย  วัตถุประสงค์ และแนวคิดของการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน   หมายถึง  กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล  ฝ่ายบริหารและบุคคลากรของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น  เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจบรรลุ  วัตถุประสงค์ หรือไม่  อย่างไร
การควบคุมภายใน   มี  วัตถุประสงค์   ดังนี้ 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินงาน 2. เพื่อเพิ่มความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน 3. เพื่อให้หน่วยงานปฏิบัติตามกฎหมาย  ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดของ   การควบคุมภายใน  1. การควบคุมภายในเป็นส่วนประกอบที่แทรกหรือ  แฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของหน่วยรับตรวจ 3. การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ส่วนที่  2 ความรับผิดชอบของผู้กำกับดูแลและฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน 1. ผู้บริหาร  มีภาระผูกพันที่จะต้องบริหารงาน  บริหารเงินที่ได้รับจัดสรรให้เป็นไปตามภารกิจ 2. ผู้กำกับดูแล / ฝ่ายบริหาร   จำเป็นต้องใช้เทคนิคของการควบคุมภายใน  เพื่อช่วยให้การดำเนินการ  รวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ผู้บริหารระดับสูง หรือ ผู้รับตรวจ มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มี ระบบการควบคุมภายใน และ ประเมินผลการควบคุมภายใน  ( ต่อ )
  ส่วนที่  2 4. ผู้บริหารระดับรองลงมา  มีหน้าที่รับผิดชอบการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ สรุป  ผู้บริหาร / ฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ ดังนี้ 1. พิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้าง หรือ รูปแบบการควบคุมภายใน 2. รายงานความก้าวหน้าการจัดระบบฯต่อผู้กำกับดูแล / ผู้บังคับบัญชา / ผู้ตรวจสอบ / สตง . ตามระเบียบฯข้อ  5 3. นำระบบควบคุมภายในไปสู่การปฏิบัติ 4. จัดให้มีการประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง ( Control Self -  Assessment ) 5. รายงานการควบคุมภายในต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตามระเบียบฯข้อ  6
  ส่วนที่  3   มาตรฐานการควบคุมภายใน มาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนดประกอบด้วย  5  องค์ประกอบที่มีความเชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน คือ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม  (  Control  Environment  ) 2. การประเมินความเสียง  (  Risk  Assessment  ) 3. กิจกรรมการควบคุม  (  Control  Activitys  ) 4. สารสนเทศการสื่อสาร  (  Information  and  Communication ) 5. การติดตามประเมินผล  (  Monitoring  )
สภาพแวดล้อมของการควบคุม สารสนเทศ และ และ การสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง กิจกรรม ควบคุม ติดตาม ประเมินผล แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการควบคุมภายใน
สภาพแวดล้อมของการควบคุม  (  Control  Environment  ) มาตรฐาน ผู้กำกับดูแล  ฝ่ายบริหาร  และบุคลากร ของหน่วยรับตรวจต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุม  เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน  โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็น ความสำคัญของการควบคุมภายใน  รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
ผู้กำกับดูแลและหรือฝ่ายบริหารควรมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี  โดย 1. จัดทำข้อกำหนดด้านจริยธรรม   และแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบ 2. กำหนดนโยบาย  มาตรฐาน  และแนวทางการปฏิบัติงาน   แล้วแจ้งให้บุคลากรทุกคนทราบ 3. กำหนดโครงสร้างจัดองค์กรให้มีสายการบังคับบัญชา และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรที่เหมาะสม 4. กำหนดให้มีเอกสารกำหนดคุณลักษณะเฉพาะตำแหน่ง (  JobDescription  ) 5. กำหนดให้มีนโยบายและแนวทางการปฏิบัติ การแก้ไขความขัดแย้งในองค์กร 6. กำหนดบทลงโทษทางวินัย อย่างชัดเจนและเหมาะสม (  พรบ . กพ . )
การประเมินความเสี่ยง  (  Risk  Assessment  ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร  ต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายใน  ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม ความเสี่ยง   หมายถึง  โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด  ความเสียหาย  การรั่วไหล  ความสูญเปล่า  หรือเหตุการที่ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเหร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง 1. การบรรจุปัจจัยเสี่ยง  (  Risk  Indentification  )   ในการบรรจุปัจจัยฝ่ายบริหารต้องตั้งคำถามว่ามีเหตุการใดหรือกิจกรรมใดที่อาจเกิดความผิดพลาด  ความเสียหายหรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ 2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง (  Risk  Analysis )   โดยทั่วไปจะวิเคราะห์ความเสี่ยงโดยประเมินนัยสำคัญผลกระทบความเสี่ยง (Materiality ) และความถี่ที่จะเกิดหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ( FreQuency ) 3. การบริหารความเสี่ยง (  Risk  Management  )   เมื ่อ ทราบควาเสี่ยงที่มีนัยสำคัญและพิจารณายอมรับความเสี่ยง กำหนดกิจกรรมควบคุม  เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง
กิจกรรมการควบคุม  (  Control  Activity  ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร  ต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ  และประสิทธิผล  เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง  ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น  และให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน  สำหรับการควบคุมเบื้องต้นจะต้องแบ่งแยกหน้าที่งานภายในหน่วยรับตรวจอย่างเหมาะสม
กิจกรรมการควบคุม  (  Control  Activity  ) หมายถึง นโยบายหรือวิธีการต่างๆ  ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรของหน่วยรับตรวจปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง  และได้รับการสนองตอบโดยการปฏิบัติตาม  ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม เช่น  การสอบทานงาน  การดูแลป้องกันทรัพย์สิน  การแบ่งแยกหน้าที่ เป็นต้น
สารสนเทศและการสื่อสาร  (  Information  and  Communication  ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร  ต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างเพียงพอ  และสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่นๆ  ที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ  ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นในรูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา
สารสนเทศและการสื่อสาร  (  Information  and  Communication  ) หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน  ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ  เกี่ยวกับการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ  ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากภายในและภายนอก
มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร  ต้องจัดให้มีการประเมินผล  โดยการติดตามในระหว่างปฏิบัติงาน  และการประเมินผลเป็นรายครั้งอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ  เพื่อความมั่นใจว่า การติดตามประเมินผล  (  Monitoring  ) 1. ระบบควบคุมภายในที่วางไว้เพียงพอ  เหมาะสม  มีประสิทธิภาพ  และมีการปฏบัติจริง 2. การควบคุมภายในดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ข้อตรวจพบได้รับการปรับปรุงแก้ไข
 

Contenu connexe

Similaire à แนวทางควบคุมภายใน

The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกTheeraphisith Candasaro
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)Nat Thida
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายในAttachoke Putththai
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101pranorm boekban
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54pomswu
 

Similaire à แนวทางควบคุมภายใน (20)

Iqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark styleIqa iso9001 dark style
Iqa iso9001 dark style
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนกระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
ระบบบริหาร ศูนย์พระมหาชนก
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ จักราวุธ คำทวี
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
การควบคุมภายใน
การควบคุมภายในการควบคุมภายใน
การควบคุมภายใน
 
Taew
TaewTaew
Taew
 
L5
L5L5
L5
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
File1
File1File1
File1
 
คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101คู่มือติวV-net 3000 0101
คู่มือติวV-net 3000 0101
 
111
111111
111
 
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
การบริหารแบบRbm เตรียมนำเสนอ9 2-54
 

แนวทางควบคุมภายใน

  • 2. ส่วนที่ 1 ความหมาย วัตถุประสงค์ และแนวคิดของการควบคุมภายใน
  • 3. การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคคลากรของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจบรรลุ วัตถุประสงค์ หรือไม่ อย่างไร
  • 4. การควบคุมภายใน มี วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินงาน 2. เพื่อเพิ่มความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน 3. เพื่อให้หน่วยงานปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
  • 5. แนวคิดของ การควบคุมภายใน 1. การควบคุมภายในเป็นส่วนประกอบที่แทรกหรือ แฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของหน่วยรับตรวจ 3. การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
  • 6. ส่วนที่ 2 ความรับผิดชอบของผู้กำกับดูแลและฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน 1. ผู้บริหาร มีภาระผูกพันที่จะต้องบริหารงาน บริหารเงินที่ได้รับจัดสรรให้เป็นไปตามภารกิจ 2. ผู้กำกับดูแล / ฝ่ายบริหาร จำเป็นต้องใช้เทคนิคของการควบคุมภายใน เพื่อช่วยให้การดำเนินการ รวมถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ผู้บริหารระดับสูง หรือ ผู้รับตรวจ มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มี ระบบการควบคุมภายใน และ ประเมินผลการควบคุมภายใน ( ต่อ )
  • 7. ส่วนที่ 2 4. ผู้บริหารระดับรองลงมา มีหน้าที่รับผิดชอบการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ สรุป ผู้บริหาร / ฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ ดังนี้ 1. พิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้าง หรือ รูปแบบการควบคุมภายใน 2. รายงานความก้าวหน้าการจัดระบบฯต่อผู้กำกับดูแล / ผู้บังคับบัญชา / ผู้ตรวจสอบ / สตง . ตามระเบียบฯข้อ 5 3. นำระบบควบคุมภายในไปสู่การปฏิบัติ 4. จัดให้มีการประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง ( Control Self - Assessment ) 5. รายงานการควบคุมภายในต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตามระเบียบฯข้อ 6
  • 8. ส่วนที่ 3 มาตรฐานการควบคุมภายใน มาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนดประกอบด้วย 5 องค์ประกอบที่มีความเชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน คือ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ( Control Environment ) 2. การประเมินความเสียง ( Risk Assessment ) 3. กิจกรรมการควบคุม ( Control Activitys ) 4. สารสนเทศการสื่อสาร ( Information and Communication ) 5. การติดตามประเมินผล ( Monitoring )
  • 9. สภาพแวดล้อมของการควบคุม สารสนเทศ และ และ การสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง กิจกรรม ควบคุม ติดตาม ประเมินผล แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการควบคุมภายใน
  • 10. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ( Control Environment ) มาตรฐาน ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากร ของหน่วยรับตรวจต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุม เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็น ความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
  • 11. ผู้กำกับดูแลและหรือฝ่ายบริหารควรมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี โดย 1. จัดทำข้อกำหนดด้านจริยธรรม และแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบ 2. กำหนดนโยบาย มาตรฐาน และแนวทางการปฏิบัติงาน แล้วแจ้งให้บุคลากรทุกคนทราบ 3. กำหนดโครงสร้างจัดองค์กรให้มีสายการบังคับบัญชา และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรที่เหมาะสม 4. กำหนดให้มีเอกสารกำหนดคุณลักษณะเฉพาะตำแหน่ง ( JobDescription ) 5. กำหนดให้มีนโยบายและแนวทางการปฏิบัติ การแก้ไขความขัดแย้งในองค์กร 6. กำหนดบทลงโทษทางวินัย อย่างชัดเจนและเหมาะสม ( พรบ . กพ . )
  • 12. การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร ต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการที่ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเหร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
  • 13. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง 1. การบรรจุปัจจัยเสี่ยง ( Risk Indentification ) ในการบรรจุปัจจัยฝ่ายบริหารต้องตั้งคำถามว่ามีเหตุการใดหรือกิจกรรมใดที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหายหรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ 2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ( Risk Analysis ) โดยทั่วไปจะวิเคราะห์ความเสี่ยงโดยประเมินนัยสำคัญผลกระทบความเสี่ยง (Materiality ) และความถี่ที่จะเกิดหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ( FreQuency ) 3. การบริหารความเสี่ยง ( Risk Management ) เมื ่อ ทราบควาเสี่ยงที่มีนัยสำคัญและพิจารณายอมรับความเสี่ยง กำหนดกิจกรรมควบคุม เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง
  • 14. กิจกรรมการควบคุม ( Control Activity ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร ต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน สำหรับการควบคุมเบื้องต้นจะต้องแบ่งแยกหน้าที่งานภายในหน่วยรับตรวจอย่างเหมาะสม
  • 15. กิจกรรมการควบคุม ( Control Activity ) หมายถึง นโยบายหรือวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรของหน่วยรับตรวจปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบโดยการปฏิบัติตาม ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม เช่น การสอบทานงาน การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การแบ่งแยกหน้าที่ เป็นต้น
  • 16. สารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and Communication ) มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร ต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างเพียงพอ และสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่นๆ ที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นในรูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา
  • 17. สารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and Communication ) หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากภายในและภายนอก
  • 18. มาตรฐาน ฝ่ายบริหาร ต้องจัดให้มีการประเมินผล โดยการติดตามในระหว่างปฏิบัติงาน และการประเมินผลเป็นรายครั้งอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อความมั่นใจว่า การติดตามประเมินผล ( Monitoring ) 1. ระบบควบคุมภายในที่วางไว้เพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และมีการปฏบัติจริง 2. การควบคุมภายในดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ข้อตรวจพบได้รับการปรับปรุงแก้ไข
  • 19.