SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
ดร. เอ็มเบดการ์ มีชื่อเต็มว่า ดร.พิมพา รามชิเอ็มเบดการ์
เป็นคนในวรรณะจันฑาลซึ่งสังคมฮินดูของอินเดียรังเกียจ
“เนื่องจากเป็นวรรณะที่ตำ่าสุดบางครั้งก็เรียกวรรณะนี้ว่า อ
”วรรณะ คือคนไม่มีวรรณะหรือไม่มีสังกัด สำาหรับพวกที่มี
วรรณะหรือมีสังกัดจะมี 4 กลุ่ม ตามลำาดับคือ กษัตริย์ พราหมณ์
“ ”แพศย์ และศูทร เรียกว่าพวก สวรรณะ และสำาหรับวรรณะจัน
ฑาลนี้จะถูกห้ามไม่ให้เข้าไปใช้นำ้าในสระสาธารณะร่วมกันกับ
พวกวรรณะอื่น ๆ ข้างต้นดังกล่าว ให้ใช้เฉพาะนำ้าที่สกปรก
เท่านั้น พวกเด็ก ๆ ก็ไม่อนุญาตให้เข้าเรียนในโรงเรียนที่เด็ก
ฮินดูเรียนกันทั้งที่พวกเขานับถือเทพเจ้าองค์เดียวกันกับพวก
ฮินดูทั้งหลาย อยู่ภายใต้ประเพณีวัฒนธรรมอันเดียวกัน แต่
โบสถ์ฮินดูก็ไม่ยอมให้พวกเขาเข้าไปสักการะหรือร่วมพิธีทาง
ศาสนาเป็นอันขาด ร้านตัดผม ร้านทำาผม และร้านซักรีดเสื้อผ้า
ก็ไม่ยอมให้พวกเขาไปใช้บริการ
เมื่อท่านเดินทางกลับมาอินเดีย ก็ได้พยายามต่อสู้เพื่อคน
วรรณะเดียวกัน และกับความ อยุติธรรม ที่สังคมฮินดู ยัดเยียดให้
กับคนในวรรณะตำ่ากว่า ท่านมีผลต่อความเคลื่อนไหวหลายๆ
อย่างในอินเดียขณะนั้น เช่น เป็นจัณฑาลคนแรก ที่ได้รับ
ตำาแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม คอยช่วยคน
วรรณะตำ่าที่ถู
ข่มเหงรังแก หลังจากที่อินเดียได้รับเอกราช ก็เป็นผู้ร่วมร่าง
 รัฐธรรมนูญของอินเดียด้วย
  ดร.เอ็มเบดการ์ ยังผูกพันต่อพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย
โดยเริ่มเกิดความสนใจมาจากการอ่านพุทธประวัติ ท่านศึกษา
แล้วพบว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่มีข้อรังเกียจในเรื่อง
วรรณะ ไม่ปิดกั้นการศึกษาพระธรรม ให้ความเสมอภาค และ
ภราดรภาพแก่คนทุกชั้น ทำาให้ท่านเกิดแรงศรัทธาอย่างแรงกล้า
ได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา ไว้ในหนังสือของท่านหลายเล่ม
เช่น "พุทธธรรม, ”ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา และคำา
ปาฐกถาอื่นๆ ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในภายหลัง เช่น "การที่
พระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเดีย" เป็นต้น
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
อาชีพ
ดร. เอ็มเบดการ์ ประกอบอาชีพเป็นทนายความ เช่นเดียวกับ
มหาตมคานธี ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติ
ของรัฐบอมเบย์
ผลงานเด่น
ดร. เอ็มเบดการ์ ได้ทำาการต่อสู้เพื่อสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
และศาสนา จนสำาเร็จและสามารถทำาให้คนในวรรณะจันฑาลมี
ความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ ด้าน แต่อย่างไรก็
ดีสังคมอินเดียในปัจจุบันโดยทางนิตินัยนั้นถือว่ามีความเท่า
เทียมกัน แต่ในทางพฤตินัยยังมีการแบ่งชั้นวรรณะกันอยู่เรื่อย
มา
ผลงานทางพระพุทธศาสนา
ดร. เอ็มเบดการ์ ถือว่าเป็นบุคคลแรกของอินเดียที่ได้นำาเอา
พระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ (ถิ่นกำาเนิดพระพุทธศาสนา)
โดยตัวท่านเองในเบื้องแรกนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์ ต่อมา
จึงเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา ท่านได้เข้าพิธีอย่างเป็น
ทางการ และท่านได้ยกย่องพระพุทธศาสนาว่า เป็นศาสนาที่
เหตุการณ์ที่สำาคัญมากประการหนึ่งก็คือ การที่
ดร.เอ็มเบดการ์ได้เป็นผู้นำาชาวพุทธศูทรกว่า๕ แสน
คน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เหตุการณ์ตอนนี้เป็น
เรื่องที่น่าสนใจมาก
ตามจริงท่าน ดร.เอ็มเบดการ์ สนใจพระพุทธ
ศาสนามาก่อนหน้านี้แล้ว จากการได้ศึกษาพุทธ
ประวัติ ซึ่งเขียน โดยท่าน พระธัม มานันทะ โกสัมพี
ชื่อว่า "ภควาน บุดดา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ท่านได้
ทราบจากการศึกษาว่า พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่
ไม่มีข้อรังเกียจในเรื่องวรรณะ ไม่ปิดกั้นการศึกษา
พระธรรม ให้ความเสมอภาค และภราดรภาพแก่คน
ทุกชั้น ใน จิตใจของ ด.รเอ็มเบดการ์ เป็นชาวพุทธอยู่
ก่อนแล้ว แต่ท่านต้องการทำาให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น สิ่ง
ดร. เอ็มเบดการ์ ได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา
และได้เขียนหนังสือเผยแผ่พระพุทธธรรมหลายเล่ม
เช่น"พุทธ ธรรม ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา "
และคำาปาฐกถา อื่นๆ ที่ ได้รับการตีพิมพ์ภายหลัง เช่น
"การที่พระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเดีย" เป็นต้น
ก่อนหน้าที่จะมีงานฉลองพุทธชยันตี เป็นที่ทราบ
กันดีว่า ขณะนั้นอินเดียมีชาวพุทธอยู่แทบจะเรียกได้ว่า
เป็น อัพโภหาริก คือ น้อยมากจนเรียกไม่ได้ว่ามี แต่เหตุ
ที่มีงานฉลองนี้ขึ้นได้ เนื่องจากท่านยวาห์ ราล เนรูห์ ซึ่ง
ท่านได้กล่าวคำา ปราศรัยไว้ในที่ ประชุมโลกสภา
(รัฐสภาของอินเดีย เรียกว่า โลกสภา) เรื่องการจัดงาน
ฉลองพุทธชยันตี ว่า "พระพุทธเจ้า เป็น บุตรที่ปราด
เปรื่องยิ่งใหญ่ และรอบรู้ที่สุดของอินเดีย ในโลกนี้ซึ่ง
เต็มไปด้วยความวุ่นวาย เคียดแค้น และรุนแรง คำาสอน
ของพระพุทธเจ้า ส่องแสงเหมือนดวงอาทิตย์ที่รุ่งโรจน์
ในการปฏิญาณตนเป็นชาวพุทธ ๕ แสนคน เมื่อวันที่
๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙นั้น มีพระภิกษุอยู่ในพิธี ร่วม
เป็น สักขีพยาน ด้วย ๓ รูป คือ ท่านพระสังฆรัตนเถระ
พระสัทธราติสสะเถระ และพระปัญญานันทะเถระ ในพิธี
มีการประดับธงธรรมจักรและสายรุ้งอย่างงดงาม ในพิธี
นั้น ผู้ ปฏิญาณตนได้กล่าวคำาปฏิญาณตนเป็น
พุทธมามกะ และคำาปฏิญญา ๒๒ ข้อ ของท่านเอ็มเบ
ดการ์
๑. ข้าพเจ้าจะไม่บูชาพระพรหม พระศิวะ พระวิษณุต่อไป
๒. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อว่าพระราม พระกฤษณะ เป็น
พระเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่เคารพต่อไป
๓. ข้าพเจ้าจะไม่เคารพบูชาเทวดาทั้งหลายของศาสนา
ฮินดูต่อไป
๔. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อลัทธิอวตารต่อไป
๕. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อว่า พระพุทธเจ้าคืออวตารของพระ
วิษณุ การเชื่อเช่นนั้น คือคนบ้า
๑๒. ข้าพเจ้าจะบำาเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ โดยครบถ้วน
๑๓. ข้าพเจ้าจะแผ่เมตตาแก่มนุษย์และสัตว์ทุกจำาพวก
๑๔. ข้าพเจ้าจะไม่ลักขโมยคนอื่น
๑๕. ข้าพเจ้าจะไม่ประพฤติผิดในกาม
๑๖. ข้าพเจ้าจะไม่พูดปด
๑๗. ข้าพเจ้าจะไม่ดื่มสุรา
๑๘. ข้าพเจ้าจะบำาเพ็ญตนในทาน ศีล ภาวนา
๑๙. ข้าพเจ้าจะเลิกนับถือศาสนาฮินดู ที่ทำาให้สังคมเลว
ทราม แบ่งชั้นวรรณะ
๒๐.ข้าพเจ้าเชื่อว่าพุทธศาสนาเท่านั้นที่เป็นศาสนาที่แท้
จริง
๒๑. ข้าพเจ้าเชื่อว่าการที่ข้าพเจ้าหันมานับถือพระพุทธ
ศาสนานั้นเป็นการเกิดใหม่ที่แท้จริง
๒๒. ตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตนตามคำาสอน
ของพระพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
  ดร. เอ็มเบดการ์ ใช้ธรรมะนำาการเมืองของอินเดีย สมัยต่อสู้เอกราช
จากอังกฤษ เป็นผู้นำาของรัฐสภาผู้ร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย เป็นบุคคล
แรกที่นำาเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ จึงเป็นที่ศรัทธาของชาว
อินเดียทั่วไป จนกลับใจหันมานับถือพระพุทธศาสนาตามอย่างท่านรวม
เป็นจำานวนหลายล้านคน ทำาให้เราเห็นคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
ของท่านหลายประการ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
๑. มีความมุมานะพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แม้จะประสบกับ
ความยากลำาบากและความเดือดร้อนมากเพียงใด แต่ ดร.เอ็มเบดการ์ก็
ก้มหน้ามุมานะต่อไป โดยไม่หยุดยั้งจนกระทั่งจบมัธยมศึกษา เตรียม
อุดมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก นี่คือความสำาเร็จ
ของเด็กยากจนที่เกิดในวรรณะศูทรที่ได้มาด้วยความมุมานะเพียร
พยายาม
๒. มีความอดทนเป็นเลิศ เมื่อครั้งศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะใน
มหาวิทยาลัย ดร.เอ็มเบดการ์ ได้เผชิญกับปัญหาต่างๆ ถูกข่มเหงจาก
นักศึกษาต่างวรรณะ บางคนได้ข่มเหง รังแก ทุบตีอย่างทารุณ แต่ท่าน
ก็ได้กัดฟันต่อสู้กับเหตุการณ์เหล่านั้นด้วยความอดทน และได้นำา
เหตุการณ์เหล่านั้นมาเป็นกำาลังใจให้มีความมุมานะในการศึกษาเล่า
เรียนยิ่งขึ้น
๓. มีสติปัญญาดี นอกจากมีความมุมานะและความอดทนในการศึกษา
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
Gawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
อิ่' เฉิ่ม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Kannaree Jar
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
B'Ben Rattanarat
 
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
LINE Corporation
 
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
Hibino Hisashi
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 

Tendances (20)

ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
「DNS浸透いうな」と言うけれど… (#ssmjp 2018/07)
「DNS浸透いうな」と言うけれど… (#ssmjp 2018/07)「DNS浸透いうな」と言うけれど… (#ssmjp 2018/07)
「DNS浸透いうな」と言うけれど… (#ssmjp 2018/07)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
FINAL FANTASY Record Keeperを支えたGolang
FINAL FANTASY Record Keeperを支えたGolangFINAL FANTASY Record Keeperを支えたGolang
FINAL FANTASY Record Keeperを支えたGolang
 
20180417 AWS White Belt Online Seminar クラウドジャーニー
20180417 AWS White Belt Online Seminar クラウドジャーニー20180417 AWS White Belt Online Seminar クラウドジャーニー
20180417 AWS White Belt Online Seminar クラウドジャーニー
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
Spannerに関する技術メモ
Spannerに関する技術メモSpannerに関する技術メモ
Spannerに関する技術メモ
 
DI(依存性注入)について
DI(依存性注入)についてDI(依存性注入)について
DI(依存性注入)について
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
RustによるGPUプログラミング環境
RustによるGPUプログラミング環境RustによるGPUプログラミング環境
RustによるGPUプログラミング環境
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
 
YJTC18 A-1 データセンタネットワークの取り組み
YJTC18 A-1 データセンタネットワークの取り組みYJTC18 A-1 データセンタネットワークの取り組み
YJTC18 A-1 データセンタネットワークの取り組み
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
Akka ActorとAMQPでLINEのメッセージングパイプラインをリプレースした話
 
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
【第20回セキュリティ共有勉強会】Amazon FSx for Windows File Serverをセキュリティ観点で試してみたお話
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 

Plus de Krusupharat

พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1
Krusupharat
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
Krusupharat
 
พระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระพระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระ
Krusupharat
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
Krusupharat
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรีพระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
Krusupharat
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
Krusupharat
 

Plus de Krusupharat (20)

พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1พระองคุลีมาลเถระ 5.1
พระองคุลีมาลเถระ 5.1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
พระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระพระองคุลีมาลเถระ
พระองคุลีมาลเถระ
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
 
จิตตคหบดี ม.5.2
จิตตคหบดี ม.5.2จิตตคหบดี ม.5.2
จิตตคหบดี ม.5.2
 
พระนารายณ์
พระนารายณ์พระนารายณ์
พระนารายณ์
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
 
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
ดร.เอ็ดเบ็ดการ์
 
ปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุปัญญนันทภิกขุ
ปัญญนันทภิกขุ
 
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์พระธรรมโกศาจารย์
พระธรรมโกศาจารย์
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช.
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดี
 
จิตตคหบดี
จิตตคหบดีจิตตคหบดี
จิตตคหบดี
 
พระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรีพระธัมมทินนาเถรี
พระธัมมทินนาเถรี
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
พระอนุรูทธ
พระอนุรูทธพระอนุรูทธ
พระอนุรูทธ
 

ดร.เอ็ดเบ็ดการ์

  • 1.
  • 2. ดร. เอ็มเบดการ์ มีชื่อเต็มว่า ดร.พิมพา รามชิเอ็มเบดการ์ เป็นคนในวรรณะจันฑาลซึ่งสังคมฮินดูของอินเดียรังเกียจ “เนื่องจากเป็นวรรณะที่ตำ่าสุดบางครั้งก็เรียกวรรณะนี้ว่า อ ”วรรณะ คือคนไม่มีวรรณะหรือไม่มีสังกัด สำาหรับพวกที่มี วรรณะหรือมีสังกัดจะมี 4 กลุ่ม ตามลำาดับคือ กษัตริย์ พราหมณ์ “ ”แพศย์ และศูทร เรียกว่าพวก สวรรณะ และสำาหรับวรรณะจัน ฑาลนี้จะถูกห้ามไม่ให้เข้าไปใช้นำ้าในสระสาธารณะร่วมกันกับ พวกวรรณะอื่น ๆ ข้างต้นดังกล่าว ให้ใช้เฉพาะนำ้าที่สกปรก เท่านั้น พวกเด็ก ๆ ก็ไม่อนุญาตให้เข้าเรียนในโรงเรียนที่เด็ก ฮินดูเรียนกันทั้งที่พวกเขานับถือเทพเจ้าองค์เดียวกันกับพวก ฮินดูทั้งหลาย อยู่ภายใต้ประเพณีวัฒนธรรมอันเดียวกัน แต่ โบสถ์ฮินดูก็ไม่ยอมให้พวกเขาเข้าไปสักการะหรือร่วมพิธีทาง ศาสนาเป็นอันขาด ร้านตัดผม ร้านทำาผม และร้านซักรีดเสื้อผ้า ก็ไม่ยอมให้พวกเขาไปใช้บริการ
  • 3. เมื่อท่านเดินทางกลับมาอินเดีย ก็ได้พยายามต่อสู้เพื่อคน วรรณะเดียวกัน และกับความ อยุติธรรม ที่สังคมฮินดู ยัดเยียดให้ กับคนในวรรณะตำ่ากว่า ท่านมีผลต่อความเคลื่อนไหวหลายๆ อย่างในอินเดียขณะนั้น เช่น เป็นจัณฑาลคนแรก ที่ได้รับ ตำาแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม คอยช่วยคน วรรณะตำ่าที่ถู ข่มเหงรังแก หลังจากที่อินเดียได้รับเอกราช ก็เป็นผู้ร่วมร่าง  รัฐธรรมนูญของอินเดียด้วย   ดร.เอ็มเบดการ์ ยังผูกพันต่อพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย โดยเริ่มเกิดความสนใจมาจากการอ่านพุทธประวัติ ท่านศึกษา แล้วพบว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่มีข้อรังเกียจในเรื่อง วรรณะ ไม่ปิดกั้นการศึกษาพระธรรม ให้ความเสมอภาค และ ภราดรภาพแก่คนทุกชั้น ทำาให้ท่านเกิดแรงศรัทธาอย่างแรงกล้า ได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา ไว้ในหนังสือของท่านหลายเล่ม เช่น "พุทธธรรม, ”ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา และคำา ปาฐกถาอื่นๆ ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในภายหลัง เช่น "การที่ พระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเดีย" เป็นต้น
  • 4. มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย อาชีพ ดร. เอ็มเบดการ์ ประกอบอาชีพเป็นทนายความ เช่นเดียวกับ มหาตมคานธี ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติ ของรัฐบอมเบย์ ผลงานเด่น ดร. เอ็มเบดการ์ ได้ทำาการต่อสู้เพื่อสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และศาสนา จนสำาเร็จและสามารถทำาให้คนในวรรณะจันฑาลมี ความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ ด้าน แต่อย่างไรก็ ดีสังคมอินเดียในปัจจุบันโดยทางนิตินัยนั้นถือว่ามีความเท่า เทียมกัน แต่ในทางพฤตินัยยังมีการแบ่งชั้นวรรณะกันอยู่เรื่อย มา ผลงานทางพระพุทธศาสนา ดร. เอ็มเบดการ์ ถือว่าเป็นบุคคลแรกของอินเดียที่ได้นำาเอา พระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ (ถิ่นกำาเนิดพระพุทธศาสนา) โดยตัวท่านเองในเบื้องแรกนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์ ต่อมา จึงเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา ท่านได้เข้าพิธีอย่างเป็น ทางการ และท่านได้ยกย่องพระพุทธศาสนาว่า เป็นศาสนาที่
  • 5.
  • 6. เหตุการณ์ที่สำาคัญมากประการหนึ่งก็คือ การที่ ดร.เอ็มเบดการ์ได้เป็นผู้นำาชาวพุทธศูทรกว่า๕ แสน คน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เหตุการณ์ตอนนี้เป็น เรื่องที่น่าสนใจมาก ตามจริงท่าน ดร.เอ็มเบดการ์ สนใจพระพุทธ ศาสนามาก่อนหน้านี้แล้ว จากการได้ศึกษาพุทธ ประวัติ ซึ่งเขียน โดยท่าน พระธัม มานันทะ โกสัมพี ชื่อว่า "ภควาน บุดดา" (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ท่านได้ ทราบจากการศึกษาว่า พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่ ไม่มีข้อรังเกียจในเรื่องวรรณะ ไม่ปิดกั้นการศึกษา พระธรรม ให้ความเสมอภาค และภราดรภาพแก่คน ทุกชั้น ใน จิตใจของ ด.รเอ็มเบดการ์ เป็นชาวพุทธอยู่ ก่อนแล้ว แต่ท่านต้องการทำาให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น สิ่ง
  • 7. ดร. เอ็มเบดการ์ ได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา และได้เขียนหนังสือเผยแผ่พระพุทธธรรมหลายเล่ม เช่น"พุทธ ธรรม ลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา " และคำาปาฐกถา อื่นๆ ที่ ได้รับการตีพิมพ์ภายหลัง เช่น "การที่พระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเดีย" เป็นต้น ก่อนหน้าที่จะมีงานฉลองพุทธชยันตี เป็นที่ทราบ กันดีว่า ขณะนั้นอินเดียมีชาวพุทธอยู่แทบจะเรียกได้ว่า เป็น อัพโภหาริก คือ น้อยมากจนเรียกไม่ได้ว่ามี แต่เหตุ ที่มีงานฉลองนี้ขึ้นได้ เนื่องจากท่านยวาห์ ราล เนรูห์ ซึ่ง ท่านได้กล่าวคำา ปราศรัยไว้ในที่ ประชุมโลกสภา (รัฐสภาของอินเดีย เรียกว่า โลกสภา) เรื่องการจัดงาน ฉลองพุทธชยันตี ว่า "พระพุทธเจ้า เป็น บุตรที่ปราด เปรื่องยิ่งใหญ่ และรอบรู้ที่สุดของอินเดีย ในโลกนี้ซึ่ง เต็มไปด้วยความวุ่นวาย เคียดแค้น และรุนแรง คำาสอน ของพระพุทธเจ้า ส่องแสงเหมือนดวงอาทิตย์ที่รุ่งโรจน์
  • 8. ในการปฏิญาณตนเป็นชาวพุทธ ๕ แสนคน เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙นั้น มีพระภิกษุอยู่ในพิธี ร่วม เป็น สักขีพยาน ด้วย ๓ รูป คือ ท่านพระสังฆรัตนเถระ พระสัทธราติสสะเถระ และพระปัญญานันทะเถระ ในพิธี มีการประดับธงธรรมจักรและสายรุ้งอย่างงดงาม ในพิธี นั้น ผู้ ปฏิญาณตนได้กล่าวคำาปฏิญาณตนเป็น พุทธมามกะ และคำาปฏิญญา ๒๒ ข้อ ของท่านเอ็มเบ ดการ์ ๑. ข้าพเจ้าจะไม่บูชาพระพรหม พระศิวะ พระวิษณุต่อไป ๒. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อว่าพระราม พระกฤษณะ เป็น พระเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่เคารพต่อไป ๓. ข้าพเจ้าจะไม่เคารพบูชาเทวดาทั้งหลายของศาสนา ฮินดูต่อไป ๔. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อลัทธิอวตารต่อไป ๕. ข้าพเจ้าจะไม่เชื่อว่า พระพุทธเจ้าคืออวตารของพระ วิษณุ การเชื่อเช่นนั้น คือคนบ้า
  • 9. ๑๒. ข้าพเจ้าจะบำาเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ โดยครบถ้วน ๑๓. ข้าพเจ้าจะแผ่เมตตาแก่มนุษย์และสัตว์ทุกจำาพวก ๑๔. ข้าพเจ้าจะไม่ลักขโมยคนอื่น ๑๕. ข้าพเจ้าจะไม่ประพฤติผิดในกาม ๑๖. ข้าพเจ้าจะไม่พูดปด ๑๗. ข้าพเจ้าจะไม่ดื่มสุรา ๑๘. ข้าพเจ้าจะบำาเพ็ญตนในทาน ศีล ภาวนา ๑๙. ข้าพเจ้าจะเลิกนับถือศาสนาฮินดู ที่ทำาให้สังคมเลว ทราม แบ่งชั้นวรรณะ ๒๐.ข้าพเจ้าเชื่อว่าพุทธศาสนาเท่านั้นที่เป็นศาสนาที่แท้ จริง ๒๑. ข้าพเจ้าเชื่อว่าการที่ข้าพเจ้าหันมานับถือพระพุทธ ศาสนานั้นเป็นการเกิดใหม่ที่แท้จริง ๒๒. ตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตนตามคำาสอน ของพระพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด
  • 10. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง   ดร. เอ็มเบดการ์ ใช้ธรรมะนำาการเมืองของอินเดีย สมัยต่อสู้เอกราช จากอังกฤษ เป็นผู้นำาของรัฐสภาผู้ร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย เป็นบุคคล แรกที่นำาเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ จึงเป็นที่ศรัทธาของชาว อินเดียทั่วไป จนกลับใจหันมานับถือพระพุทธศาสนาตามอย่างท่านรวม เป็นจำานวนหลายล้านคน ทำาให้เราเห็นคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ของท่านหลายประการ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้ ๑. มีความมุมานะพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แม้จะประสบกับ ความยากลำาบากและความเดือดร้อนมากเพียงใด แต่ ดร.เอ็มเบดการ์ก็ ก้มหน้ามุมานะต่อไป โดยไม่หยุดยั้งจนกระทั่งจบมัธยมศึกษา เตรียม อุดมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก นี่คือความสำาเร็จ ของเด็กยากจนที่เกิดในวรรณะศูทรที่ได้มาด้วยความมุมานะเพียร พยายาม ๒. มีความอดทนเป็นเลิศ เมื่อครั้งศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะใน มหาวิทยาลัย ดร.เอ็มเบดการ์ ได้เผชิญกับปัญหาต่างๆ ถูกข่มเหงจาก นักศึกษาต่างวรรณะ บางคนได้ข่มเหง รังแก ทุบตีอย่างทารุณ แต่ท่าน ก็ได้กัดฟันต่อสู้กับเหตุการณ์เหล่านั้นด้วยความอดทน และได้นำา เหตุการณ์เหล่านั้นมาเป็นกำาลังใจให้มีความมุมานะในการศึกษาเล่า เรียนยิ่งขึ้น ๓. มีสติปัญญาดี นอกจากมีความมุมานะและความอดทนในการศึกษา