SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1 เทคโนโลยี (Technology)
หมายถึง การนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์เข้าด้วยกันเพื่อให้สิ่งต่างมี
ประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
1.2 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
หมายถึง เทคโนดลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลสารสนเทศทาให้สารสนเทศนั้นมี
ประโยชน์และสามารถใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น
1.3 ประโยชน์ของผู้มีความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
1. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้สะดวกและคุ้มค่ามากขึ้น
2. ตามทันกับสภาพสังคมที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนแทศและคาดการณ์แนวโน้มการใช้ในอนาคตได้
3. มีความรู้สามารถที่จะเลือกซื้อ หรือเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และซอหต์แวร์ได้เหมาะสมกับงานและความต้องการของตนเอง
4. เป็นผู้มีความรู้ทันข่าวสารและเหตุการณ์ปัจจุบันอยู่เสมอ
5. เป็นผู้มีความรู้กว้างขวางในหลากหลายสาขา และได้รับความรอบตัวมากขึ้น
1.4 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์กรต่าง ๆ จะมีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น การติดต่อสื่อสารสามารถทาได้ภายใน
ระยะเวลาอันรวดเร็ว สิ่งที่องค์กรต่าง ๆ จะต้องคานึงถึงในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ก็คือ
1. ความจาเป็น ถ้าเป็นธุรกิจขนาดเล็กที่มีบุคลากรภายในอง๕กรไม่มาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศก็อาจจะทาให้
สิ้นเปลืองงบประมาณ
2. การพัฒนาของเทคโนโลยี ซึ่งมีการพัฒนาของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว การนาเทคโนโลยีมาใช้จึงต้อง
คานึงถึงอนาคตด้วยว่า แนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยีต่อไปจะเป็นอย่างไร
3. การบริหารจัดการ จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับรูปแบบขององค์กร ความได้เปรียบเสียเปรียบทางด้านการตลาด
1.5 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
1. ด้านการติดต่อสื่อสาร มนุษย์จะสามารถรับรู้ข่าวสารกันได้อย่างไม่มีอุปสรรค ที่เรียกว่า “โลกไร้พรมแดน”
2. ด้านการศึกษา นักเรียนนักศึกษาในอนาคตมีแนวโน้มที่จะสามารถเรียนจากที่บ้านได้โดยไม่ต้องไปโรงเรียน
เหมือนปัจจุบัน
3. ด้านการดาเนินชีวิต มนุษย์จะมีชีวิตที่สุขสบายมากยิ่งขึ้น เพราะคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในรูปแบบของ
หุ่นยนต์เพื่อทางานแทนมนุษย์
4. ด้านสุขภาพ วงการแพทย์จะมีความก้าวหน้าในการรักษาโรคมากขึ้น เพราะจะมีระบบแพทย์ออนไลน์ข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์
5. ด้านการท่องเที่ยวและความบันเทิง สามารถทาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการจองตั๋ว การ
ตรวจสอบสถานที่
1.6 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ
1. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษา
จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาผลิตสื่อสารเรียนการสอนที่เรียกว่า CAI นั้นทาให้เกิดปัญหาที่เห็นได้ชัดเจน เช่น
- ครูกับนักเรียนจะขาดความสัมพันธ์และความใกล้ชิดกัน
- นักเรียนที่มีฐานะยากจนไม่สามารถที่จะใช้สื่อประเภทนี้ได้
2. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสิ่งแวดล้อม
- เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ก็เพราะมนุษย์นาเทคโนโลยีทางด้าน IT ไปพัฒนาอย่างผิดวิธีและ
นาไปใช้ในทางที่ผิด เพราะมุ่งเน้นเพียงแต่จะก่อประโยชน์แก่ตนเองเท่านั้น
3. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสังคม
- ทาให้เกิดปัญหาการว่างงานของแรงงานเพราะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้
- การปรับตัวเพื่อให้ทันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ของพนักงานที่มีอายุมากหรือมีความรู้น้อย
- สมาชิกในสังคมมีการดาเนินชีวิตที่เป็นแบบต่างคนต่างอยู่ ไม่มีความสัมพันธ์กันภายในสังคมเพราะต่างมีชีวิต
ที่ต้องการรีบเร่งและดิ้นรน
4. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเศรษฐกิจ
- มนุษย์สามารถจับจ่ายใช้สอยได้ง่ายมากขึ้น เพราะมีบัตรเครดิตทาให้ไม่ต้องพกเงินสด หากต้องการซื้ออะไรที่
ไม่ได้เตรียมการไว้ล่วงหน้าก็สามารถซื้อได้ทันที
- การแข่งขันกันทางธุรกิจสูงมากขึ้นเพราะต่างก็มุ่งหวังผลกาไรซึ่งก็เกิด ผลดี คือ อัตราการขยายตัวทางธุรกิจ
สูงขึ้นแต่ผลกระทบก็เกิดตามมาคือ บางครั้งก็มุ่งแต่แข่งขันกันจนลืมความมีมนุษยธรรมหรือความมีน้าใจ
5. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสุขภาพจิต
- เมื่อการดาเนินชีวิตจากเดิมที่เป็นแบบเรียบง่าย ต้องเปลี่ยนมาปรับตัวให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันตลอดเวลา
- พฤติกรรมของเยาวชน โดยเฉพาะพวกเกมคอมพิวเตอร์ทาให้เยาวชนมีพฤติกรรมก้าวร้าว ชอบการต่อสู้
- นักธุรกิจก็ต้องทางานแข่งกับเวลา ไม่มีเวลาได้พักผ่อนก็ก่อให้เกิดความเครียด สุขภาพจิตก็เสียตามมาด้วย
บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
2.1 ความหมายข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการ
สังเกต การเก็บรวบรวม การวัด
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
2.2 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
- มีความถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ได้ต้องนาไปใช้ในการตัดสินใจ หากข้อมูลไม่มีความถูกต้องแล้วก็จะก่อให้เกิดผล
เสียหายตามมา
- มีความเที่ยงตรงสามารถเชื่อถือได้ กรรมวิธีในการได้มาซึ่งข้อมูลจะต้องคานึงถึงความแม่นยาเป็นหลัก
- มีความเป็นปัจจุบัน เพื่อตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และสามารถที่จะตอบสนองต่อผู้ใช้ได้รวดเร็วที่สุด
- สามารถตรวจสอบได้ ข้อมูลนั้นจะต้องมีแหล่งที่มาที่ไป มีหลักฐานอ้างอิงได้
- มีความสมบูรณ์ชัดเจน ในบางครั้งก็จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลมากกว่าหนึ่งครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์จริง
2.3 การประมวลผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ
2.3.1 การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เบื้องต้น แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดเก็บอย่างมีระบบ ซึ่งใน
ขั้นตอนนี้จะต้องมีความระมัดระวังเป็นอย่างมากเพื่อให้ได้ข้อมูลตรงกับคุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
2.3.2 การประมวลผล แบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่
2.3.2.1 การประมวลผลด้วยมือ วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจานวนไม่มากและไม่ซับซ้อน และเป็นวิธีที่ใช้มาแต่อดีต
อุปกรณ์ในการคานวณ
2.3.2.2 การประมวลผลด้วยเครื่องจักร วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจานวนปานกลาง และไม่จาเป็นต้องใช้ผลจากการ
คานวณในทันทีทันใด เพราะต้องใช้เครื่องจักร และแรงงานคน
2.3.2.3 การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจานวนมาก ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้และงาน
มีการคานวณที่ยุ่งยากซับซ้อน
2.3.2.4 การดูแลรักษา ในขั้นตอนนี้จะต้องมีการทาสาเนาข้อมูล แม้ว่าจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการเก็บรักษา
ข้อมูลแต่การทาสาเนาข้อมูลก็ถือว่าเป็นสิ่งจาเป็น เพราะข้อมูลที่จัดเก็บไว้อาจเสียหายโดยที่เราไม่
คาดคิด
2.4 ชนิดของข้อมูล
2.4.1 ข้อมูลตัวเลข (Numeric) ได้แก่ ตัวเลขต่าง ไ และสามารถนาไปคานวณได้ ข้อมูลชนิดนี้อาจเขียนไดหลาย
รูปแบบ เช่น จานวนเต็ม 9,17,22,23 ทศนิยม 2.94, 3.14, 0.26 เป็นต้น
2.4.2 ข้อมูลตัวอักษร (Character) ได้แก่ตัวอักขระและตัวอักษรต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถนาไปคานวณได้ แต่
อาจจะนาไปจัดเรียงได้
2.5 รหัสแทนข้อมูล
2.5.1 รหัสแอสกี (ASCII) เป็นรหัสที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย รหัสแอสกีเป็นรหัสมาตรฐานที่ได้จากหน่วยงาน
กาหนดมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา (ASCII ย่อมาจาก American Standard Code for Information Interchange)
เป็นรหัส 8 บิต หรือ 1 ไบต์ต่อหนึ่งอักขระและแทนข้อมูลลักษณ์ต่าง ๆ ได้256 ตัว
รหัสแอสกีก็จะกาหนดไว้เป็นเลขฐานสิบเมื่อจะนาไปสู่หน่วยความจาคอมพิวเตอร์จึงจะเปลงเป็นเลขฐานสอง
สาหรับผู้ใช้งานสามารถที่จะเขียนในรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย
2.5.2 รหัสเอบซีดิก (EBCDIC) มีการกาหนดรหัสเป็น 8 บิตเหมือนกันกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสจะมี
ความแตกต่างกัน รหัสเอบซีดิกพัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม (EBCDIC ย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal
Interchange Code)
2.6 การแปลงเลขฐานสอง
2.6.1 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐาน 25 และเลขฐาน 8
จงเปลี่ยน 47 ฐาน 10 ให้เป็นเลขฐาน 2
วิธีทา 2)47
2)23 เศษ 1
2)11 เศษ 1
2)5 เศษ 1
2)2 เศษ 1
2)1 เศษ 0
0 เศษ 1
คาตอบคือ (101111)
2
= 47
จงเปลี่ยน 103 ฐาน 10 ให้เป็นเลขฐาน 8
วิธีทา 8)103
8)12 เศษ 7
8)1 เศษ 4
0 เศษ 1
คาตอบคือ (147)
8
=103 5
2.6.2 การแปลงเลขฐานอื่น ๆ มาเป็นเลขฐานสิบ
จงเปลี่ยน (147)
8
ให้เป็นเลขฐาน 10
วิธีทา (147)
8
= ()()()012878481×+×+×
= 73264++
= 103
จงเปลี่ยน ให้เป็นเลขฐาน 10 (2101111
วิธีทา = ()2101111()()()()()()012345212121212021×+×+×+×+×+×
= 1248032+++++ = 47
บทที่ 3 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
3.1 โครงสร้างของการจัดข้อมูล
3.1.1 อักขระ (Character) เป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์พิเศษ อักขระนี้เป็นส่วนที่เล็กที่สุด
ของข้อมูล
3.1.2 เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่กาหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลจะเกิดจาก
การนาอักขระที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน
3.1.3 ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการนาเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้อง หรือ สัมพันธ์กันมารวมเข้าด้วยกัน
ก่อให้เกิดความหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
3.1.4 แฟ้ มข้อมูล (File) เกิดจากการรวมระเบียนหลาย ๆ ระเบียนที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าด้วยกัน
3.1.5 ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากแฟ้มข้อมูลรวมกัน โดยใช้หลักการเพื่อไม่ให้ข้อมูลเกิดความซ้าซ้อนในการจัดเก็บ
3.2 ประโยชน์ของการจัดข้อมูล
1. สามารถค้นคว้าข้อมูล / สารสนเทศที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทาการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา
2. สามารถประมวลผลชุดคาสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลได้
3. สามารถสร้าง ตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูลนั้นไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปได้
4. สามารถสร้างสาเนา ย้ายและลบแฟ้มข้อมูลเมื่อไม่มีความจาเป็นในการใช้งานแล้ว
5. สามารถทาการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาสู่แฟ้มข้อมูลเพื่อการใช้งานร่วมกันได้
3.3 การจัดระเบียบแฟ้ มข้อมูล
3.3.1 แฟ้ มลาดับ (Sequential File) การเรียงข้อมูลเป็นไปตามลาดับก่อนหลัง
3.3.2 แฟ้ มสุ่ม (Random File) การอ่านหรือเขียนข้อมูลผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับจากข้อมูลตัวแรก แต่ข้อมูลแต่
ละรายการจะมีคีย์หลักประจา เวลาที่ต้องการค้นหาข้อมูลก็สามารถดึงข้อมูลออกมาได้โดยตรง
3.3.3 แฟ้ มดัชนี (Index File) แฟ้มดัชนีนี้จะต้องเก็บข้อมูลโดยจัดเป็นกลุ่มดัชนีเสียก่อน การค้นหาข้อมูลก็จะวิ่งไป
หาข้อมูลที่ต้องการเมื่อพบแล้วก็ดึงเอาข้อมูลที่ต้องการออก
3.4 ประเภทแฟ้ มข้อมูล
3.4.1 แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลที่สาคัญ ๆ ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ
3.4.2 แฟ้ มรายการปรับปรุง (Transaction File) เป็นแฟ้มที่มีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา รายการต่าง ๆ ในแฟ้ม
รายการปรับปรุงนี้จะต้องนาไปปรับปรุงกับแฟ้มข้อมูลหลัก เพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีความเป็นปัจจุบันเสมอ
3.5 ลักษณะการประมวลข้อมูล
3.5.1 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็นการประมวลผลข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้เป็นกลุ่ม ในช่วง
เวลาที่กาหนด
3.5.2 การประมวลผลแบบทันที (Transaction Processing) เป็นการประมวลผลในทันทีเมื่อข้อมูลมีการ
เปลี่ยนแปลง
3.6 ระบบการจัดการฐานข้อมูล
3.6.1 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) หมายถึง การบริหารแหล่งข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้เพื่อทาให้
สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.6.2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการ
ฐานข้อมูลในส่วนของการสร้างและการบารุงรักษา
3.6.3 ระบบการจัดการฐานข้อมูล
1. ภาษาคานิยามของข้อมูล จะเป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดโครงสร้างของข้อมูล
2. ภาษาการจัดการข้อมูล เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการระบบฐานข้อมูล
3. พจนานุกรมข้อมูล เป็นแหล่งเก็บโครงสร้างของข้อมูลในระบบ
3.7 ลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดี
1. ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล
2. สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้
3. การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสามารถทาได้สะดวกและถูกต้อง
4. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและเรียกใช้สารสนเทศ
5. ให้ความปลอดภัยในการใช้ระบบเพราะจะมีการจากัดสิทธิ
6. มีการควบคุมมาตรฐานการใช้งานจากศูนย์กลาง
บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
4.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ
- การศึกษา
- การดาเนินชีวิตประจาวัน
- การดาเนินธุรกิจ
- อัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
- ระบบการทางาน
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องประกอบด้วย
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software)
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริการข้อมูลและติดต่อสื่อสาร
4.2 พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.2.1 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
- ฮาร์ดแวร์ - ซอฟต์แวร์ - ข้อมูล - บุคลากร
4.2.2 โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้ (Programmers, System Analyst และ User) เป็นบุคคลที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะมีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ส่วน
ผู้ใช้ เป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด
4.2.3 หน่วยของข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
หน่วยแสดงผล ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล
หน่วยเก็บข้อมูล ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอทาการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอ
ส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4.2.4 การจัดการข้อมูล หมายถึง แฟ้มข้อมูล
4.2.5 การประมวลผล ได้แก่
- การรวบรวมข้อมูล
- การประมวลผล
- การดูแลรักษา
4.3 เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ
4.3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ จะมีความสามารถในด้านการจัดการสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกการแก้ไข การ
จัดทารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน
4.3.2 เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นเทคโนโลยีที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันและมีประโยชน์ดังนี้
- สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail)
- การจัดเก็บข้อมูลที่รวมไว้ที่เดียว ผู้ที่อยู่ห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
- องค์กรสามารถประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์
- สามารถทางานร่วมกันได้
4.3.3 เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ
- พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
- การทางาน ไม่ว่าจะเป็นงานเอกสาร หรืองานพิมพ์ต่าง ๆ
- การออกแบบต่าง ๆ มีโปรแกรมที่ช่วยในการออกแบบและมีการใช้งานที่ง่ายขึ้น
- มีระบบฝากข้อความเสียง
- การประชุมทางไกล
4.3.4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือเรียกว่า CAI
4.4 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.4.1 การนามาประยุกต์ใช้
4.4.2 การวางแผนที่ดี
4.4.3 มาตรฐานในการใช้
4.4.4 การลงทุน
4.4.5 การจัดการข้อมูล
4.4.6 การรักษาความปลอดภัยของระบบ
บทที่ 5 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
5.1 ระดับสารสนเทศ
5.1.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล เป็นระดับที่ช่วยให้แต่ละบุคคล สามารถทางานในหน้าที่ของตนเองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสาเร็จเป็นเครื่องช่วยในการทางาน
5.1.2 ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม วัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสุดไม่ว่าจะเป็นการใช้ข้อมูลร่วมกันหรือการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
5.1.3 ระบบสารสนเทศระดับองค์กร เปรียบเสมือนการนาเอาระบบสารสนเทศระดับกลุ่มมารวมเข้าด้วยกันเพราะ
ระดับสารสนเทศระดับองค์กรนี้เป็นภาพรวมของหลาย ๆ แผนก เพื่อสนับสนุนงานด้านการบริหารและการจัดการให้
สะดวกยิ่งขึ้น
5.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
5.2.1 ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยประมวลผลต่าง ๆ ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญ ของระบบ
สารสนเทศ
5.2.2 ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์แบ่งได้
เป็น 2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า
“ระบบปฏิบัติการ” (Operating System)
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างหรือเฉพาะด้าน
5.2.3 ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ข้อมูล มีความสาคัญอย่างยิ่ง
เพราะใช้เป็นเครื่องช่วยในการวางแผนงานการบริหารจัดการ
5.2.4 บุคลากร (People) คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้ พนักงานคอมพิวเตอร์ ผู้
ควบคุมระบบ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ จนถึงผู้อานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์
5.2.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) จะต้องมีการวางแผนให้การทางาน เป็นไปตามลาดับขั้นตอนและต่อเนื่อง
สัมพันธ์กันทั้งบุคลากรและเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีความถูกต้องสมบูรณ์
บทที่ 6 คอมพิวเตอร์
6.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการคานวณผลในรูปแบบหนึ่ง ๆ ได้
อย่างรวดเร็วและให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้
ความหมายของคอมพิวเตอร์จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ
อัตโนมัติทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์”
6.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์
6.2.1 แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog computer) มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทาหน้าที่เป็นตัว
กระทาและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ โดยจะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าเป็นหลักในการคานวณการรับข้อมูลจะรับใน
ลักษณะของปริมาณที่มีค่าต่อเนื่องกันโดยรับจากแหล่งที่เกิดโดยตรง
ข้อจากัดของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ คือ ผลการคานวณที่ได้จะมีความละเอียดต่า ทาให้ใช้กับงานได้เฉพาะอย่าง
เท่านั้น
6.2.2 ดิจิตัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) หลักการคานวณจะเป็นแบบลูกคิดหรือหลักการนับ และทางานกับ
ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะการคานวณจะแปลงเลขฐานสิบก่อนแล้วจึงประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองแล้วให้ผล
ลัพธ์ออกมาในรูปของตัวเลข
ข้อจากัดของดิจิตัลคอมพิวเตอร์ คือ ต้องใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า “สื่อข้อมูล” ในการบันทึกข้อมูล แต่แอนะล็อก
คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลได้โดยตรงจากแหล่งเกิดข้อมูล
6.2.3 ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer) เป็นการนาแอนะล็อกคอมพิวเตอร์และดิจิตัลคอมพิวเตอร์ มาทางาน
ร่วมกัน เพื่อให้สามารถทางานเฉพาะอย่างได้ดียิ่งขึ้น
6.3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
6.3.1 คอมพิวเตอร์ยุกแรก (ค.ศ. 1951 – 1958)
- เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้กาลังไฟฟ้าสูง เพราะมีขนาดใหญ่ จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย
- ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และหลอดสูญญากาศ
- การทางานใช้ภาษาเครื่อง (Machine Language)
- คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ คือ UNIVAC I
- เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแรกได้แก่ มาร์ค วัน (Mark 1) อีนิแอค (Eniac) ยูนิแวค (Univac)
ข้อเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแรก คือ ก่อนใช้งานต้องอุ่นให้หลออดสูญญากาศเสียก่อน จึงจะใช้งานได้ซึ่งต้องใช้เวลา
หลายนาที และเมื่ออุ่นได้ที่แล้วก็มักจะร้อนเกินไปทันที และเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่และใช้กระแสไฟฟ้า 12
6.3.2 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง (ค.ศ. 1959 – 1964)
- เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ
- มีความเร็วที่สูงกว่า มีความถูกต้องแม่นยาและประสิทธิภาพในการทางานที่ดีกว่า
- เครื่องมีขนาดเล็ก ใช้กาลังไฟฟ้าน้อยและราคาถูกลง
- ใช้วงแหวนแม่เหล็กที่ทาขึ้นจากสาร Ferromagnetic เป็นหน่วยเก็บความจา
- ในช่วงต้น ค.ศ. 1960 ได้เริ่มมีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก
- ภาษาที่ใช้เป็นภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้
6.3.3 คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม (ค.ศ. 1965-971)
- เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับคอมพิวเตอร์ เพราะมีการคิดค้น วงจรรวม (Integrated Circuit)
หรือ IC ซึ่งสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว
- เครื่องคอมพิวเตอร์จึงมีขนาดเล็กลง ความเร็วเพิ่มขึ้น และใช้กาลังไฟน้อย
- โครงสร้างของคอมพิวเตอร์มีการออกแบบที่ซับซ้อนขึ้น
- ภาษาที่ใช้ได้แก่ ภาษาโคบอล และภาษาพีแอลวัน
6.3.4 คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ (ค.ศ. 1972-1980)
- เป็นยุคคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก
- ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงหรือไมโครคอมพิวเตอร์เป็นแบบตั้งโต๊ะ หรือพกพาได้
- ทางานเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
- ใช้สื่อข้อมูลพวกเทปแม่เหล็ก หรือ จานแม่เหล็ก
- ภาษาที่ใช้เป็นภาษาใหม่ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล และ ภาษาซี
- ซอฟต์แวร์มีการพัฒนามาก มีโปรแกรมสาเร็จให้เลือกใช้กันมากขึ้น
6.3.5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า (ค.ศ. 1980- ปัจจุบัน)
- คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้เพื่อช่วยในการจัดการ การตัดสินใจ และแก้ปัญหา โดยจะมีการจัดเก็บข้อมูลไว้เมื่อ
ต้องการใช้งานก็สามารถเรียกข้อมูลที่เก็บไว้มาใช้ในการทางานได้
- คอมพิวเตอร์ยุคนี้เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์
- มีการใช้คอมพิวเตอร์ทางานด้านกราฟิกอย่างแพร่หลายมากขึ้น
- ขนาดเครื่องมีแนวโน้มเล็กลงและมีความเร็งสูง
- การปฏิบัติงานต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์แทนแรงงานมนุษย์
- ซอฟต์แวร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วขึ้นมาก รวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นหุ่นยนต์
6.4 ชนิดของคอมพิวเตอร์
6.4.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
- เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคานวณที่ต้องคานวณตัวเลขจานวนมหาศาล ให้เสร็จภายในระยะเวลาสั้น ๆ
- เครื่องมีขนาดใหญ่ซึ่งสามารถทางานได้เร็ว และมีประสิทธิภาพมากที่สุด
- มีโครงสร้างการคานวณพิเศษ ที่เรียกว่า เอ็มพีพี 13
6.4.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframecomputer)
- มีขนาดรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์
- สาเหตุที่เรียนว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เพราะตัวเครื่องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ ซึ่งภายในตู้จะมีชิ้นส่วนและ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นจานวนมาก
- ใช้ในงานประมวลผลในงานสาหรับธุรกิจขนาดใหญ่
- ราคาสูงที่สุดในบรรดาคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานโดยทั่วไป
- มีการประมวลผลที่รวดเร็วและเก็บข้อมูลได้มหาศาล
- ต้องการดูแลรักษาเป็นอย่างดีและอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
- ข้อเด่นของเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ การทางานโดยมีระบบศูนย์กลางและกระจายงานไปยังที่ต่าง ๆ
6.4.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
- เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้หลายคนในเวลาเดียวกัน คือสามารถเชื่อมโยงกับเทอร์มินัล หลาย ๆ เครื่อง
- ใช้ในงานประมวลผลในงานสาหรับธุรกิจขนาดกลาง
- ขนาดเล็กกว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ความเร็วในการทางานและราคาก็ต่ากว่าด้วย
6.4.4 สถานีงานวิศวกรรม
- ผู้ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นวิศวกรรม นักวิทยาศาสตร์ สถาปนิกและนักออกแบบ
- จุดเด่นของสถานีงานวิศวกรรมคือเรื่องกราฟิก
- ราคาของสถานีวิศวกรรมจะแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์มาก
- การใช้งานก็จะต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้โดยเฉพาะ
- หากนาสถานีวิศวกรรมมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย จะทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้งานร่วมกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพมาก
6.4.5 ไมโครคอมพิวเตอร์
- เครื่องมีขนาดเล็กและมีราคาถูก อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) หรือ พีซี
- มีทั้งแบบตั้งโต๊ะ, แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์, ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ และโน้ตบุ้คคอมพิวเตอร์
- สามารถใช้งานได้ง่าย
- สามารถใช้งานในลักษณะเครือข่าย และทาหน้าที่เป็นเทอร์มินัลได้ด้วย
- มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์
6.5 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
6.5.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างหน่วยความจาด้วย ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางหรือพีซีนี้
จะประกอบด้วย
6.5.1.1 หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit : ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณ และหน้าที่ใน
การเปรียบเทียบทางตรรกะโดยหน่วยควบคุมจะควบคุมความเร็วในการคานวณ
6.5.1.2 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมกลไกการทางานของระบบทั้งหมด โดยจะทางาน
ประสานกันกับหน่วยความจา และหน่วยคานวณ และตรรกะ
ซีพียูหลักที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน คือ ไมโครชิป หรือที่เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์
6.5.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอทาการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผลในระหว่างที่รอส่งปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์ประเภทของหน่วยความจาสามารถแบ่งได้ดังนี้
6.5.2.1 ตามลักษณะของการเก็บข้อมูล
- หน่วยความจาแบบลบเลือนได้คือ ในกรณีที่ไฟฟ้าดับหรือกาลังไฟฟ้าไม่เพียงพอ ข้อมูลที่เก็บไว้ก็จะหายหมด
- หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน หน่วยความจาแบบนี้จะเก็บข้อมูลได้โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร
6.5.2.2 ตามสภาพการใช้งาน
- หน่วยความจาอ่านอย่างเดียว (Read-Only Memory : ROM) หรือ รอม เป็นหน่วยความจาชนิดไม่ลบเลือน คือ
ซีพียูสามารถอ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปได้
- หน่วยความจาเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory : RAM) หรือ แรม เป็นหน่วยความจาแบบลบเลือนได้
คือ สามารถเขียนหรืออ่านข้อมูลได้การเขียนหรืออ่านจะเลือกที่ตาแหน่งใดก็ได้
**** หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน แต่ยอมให้มีการแก้ไขหรือลบข้อมูลได้โดยกรรมวิธีพิเศษ เรียกว่า อีพร็อม
(Erasable Programmabllle Read Only Memory : EPROM)
6.5.3 หน่วยความจารอง (Virtual Memory) มีเพื่อเพิ่มความสามารถในการจดจาของคอมพิวเตอร์ให้มากขึ้น ได้แก่
แผ่นบันทึกหรือแผ่นดิสก์ (Diskette) มีลักษณะเป็นแผ่นกลมแบนถูกเคลือบไว้ด้วยสารเหล็กออกไซด์เพื่อให้เกิด
สนามแม่เหล็กได้ การอ่านข้อมูลของแผ่นดิสก์เวลาที่อ่านหัวอ่านจะแตกที่พื้นผิวของแผ่น ทาให้มีการเสื่อมคุณภาพได้
เมื่อใช้งานไปนาน ๆ แผ่นบันทึกในปัจจุบัน มีขนาด 5.25 นิ้ว และ 3.5 นิ้ว
ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) การเก็บข้อมูลจะเก็บลงแผ่นโลหะอะลูมิเนียมที่เคลือบด้วยสารเหล็กออกไซด์ ฮาร์ดดิสก์สามารถจุ
ข้อมูลได้มากกว่าและมีความเร็วกว่าฟลอปปี้ ดิสก์การบันทึกข้อมูลในฮาร์ดดิสก์จะแบ่งเป็นวงรอบเรียกว่า แทร็ก ซึ่งจะเก็บ
ข้อมูลเป็นวงรอบหลาย ๆ วง การที่เราซื้อมาใหม่ ๆ นั้นก็เพื่อสร้างแทร็กนั่นเองและในแต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นออกเป็นส่วน
ๆ เรียกว่า เซ็กเตอร์ โดย 1 เซ็กเตอร์จะมีความจุเท่ากับ 512 ไบต์การอ่านข้อมูลของฮาร์ดดิสก์เวลาที่อ่านหัวอ่านจะไม่แตะที่
พื้นผิวของแผ่นแต่จะลอยสูงจากผิวประมาณ 4 ไมครอน ซึ่งถือว่าใกล้มากจนเกือบสัมผัส
ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory : CDROM) เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่มีความเร็วในการใช้งานสูง และสามารถ
เก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ซีดีรอมเป็นเทคโนโลยีจานแสง คือ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลนั้นหัวอ่านไม่ต้องสัมผัสกับ
จานแต่จะใช้ลาแสงส่องและสะท้อนกลับ ซีดีรอมนี้สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ เสียง และ ภาพวีดีโอ
เวิร์ม (Write Once Read Many : WORM) เป็นสื่อชนิดที่มีการบรรทุกไม่มีการบันทึกใหม่ แต่จะมีการเรียกใช้หรืออ่าน
ได้หลายครั้ง การที่จะเขียนข้อมูลลงแผ่นต้องใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ ตัวแผ่นเป็นโลหะและใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ
เมนเฟรม
6.5.4 อุปกรณ์รับเข้า (Input Device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้าที่เป็นที่
รู้จักและนิยมใช้ได้ แก่
แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ทุกเครื่องจะต้องมีการรับข้อมูล คือ ผู้ใช้กดแป้นพิมพ์แล้วจึงแปลงรหัสเข้า
สู่การประมวลผลต่อไป
เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการใช้งานเพิ่มมากขึ้น เมาส์จะมีรูปร่างพอเหมาะกับมือ และมี
ลูกกลิ้งอยู่ข้างล่าง โดยระบบคอมพิวเตอร์จะทางานสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของลูกกลิ้ง และรับคาสั่งจากการกดปุ่มเมาส์
สแกนเนอร์ (Scanner) จะทางานโดยการอ่านรูปภาพ แล้วแปรเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้าใจได้
6.5.5 อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ใน
ปัจจุบัน ได้แก่
จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ผู้ใช้คุ้นเคยออกมากที่สุด ใช้แสดงผลในรูปของข้อความและรูปภาพ เริ่มแรกนั้น
มีการนาเอาโทรทัศน์มาเป็นจอภาพสาหรับการแสดงผลแต่ผลที่ได้ไม่เป็นที่นาพอใจนัก จึงมีการผลิตจอขึ้นมา จอภาพนั้น
มีหลายลักษณะซึ่งลักษณะที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คุ้นเคยและพบเห็นบ่อย ๆ ได้แก่
จอภาพแบบซีอาร์ที (Cathode ray tube : CRT) จะมีลักษณะจอโค้งนูน ลักษณการแสดงผลนั้นเริ่มแรกแสดงผลได้เฉพาะ
เป็นตัวอักษรเท่านั้น แต่จะมีความละเอียดสูงเรียกว่า จอภาพแบบสีเดียว(Monochrome Display Adapter : MDA) ต่อมามีการ
พัฒนาจอสี (Color Graphic Adapter : CGA) ซึ่งสามารถแสดงภาพสีและภาพกราฟิกได้ แต่แสดงตัวอักษรและตัวเลขได้มีดี
เท่าจอแบบสีเดียว จอรุ่นต่อมาที่สามารถแสดงภาพกราฟิกได้ละเอียด และมีจานวนสีมากขึ้นเรียกว่า จอสีภาพละเอียด
(Enhance Graphic Adapter : EGA)
ส่วนจอสีภาพละเอียดพิเศษ (Video Graphic Array : VGA) เป็นจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก ปัจจุบันจอภาพที่ใช้
สาหรับงานคอมพิวเตอร์ในด้านการออกแบบจะใช้จอภาพ เอ็กซ์วีจีเอ (extra video graphic array : xvga)
จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) เดิมเป็นจอภาพที่ใช้กับคิดเลขและนาฬิกาแต่ปัจจุบันจะพบได้ใน
เครื่อง PC แบบพกพา จอภาพแบบนี้จะมีลักษณะแบนเรียบแบะบาง และ ได้พัฒนาให้การแสดงผลมีความละเอียดและ
ได้ภาพที่ชัดเจน
เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สาคัญรองลงมาจากจอภาพ เพราะจะแสดงผลลัพธ์ลงบนกระดาษทาให้
สะดวกต่อการใช้งาน โดยลักษณะของเครื่องพิมพ์ที่ใช้กันในปัจจุบันได้แก่
เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot – Matrix Printer) คุณภาพของงานพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ชนิดนี้ขึ้นอยู่กับจานวนจุดของเครื่อง
เพราะผลที่ได้จากการพิมพ์จะมีลักษณะเป็นจุด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะมีราคาถูกเหมาะสาหรับงานพิมพ์ที่ไม่ต้องการความ
ละเอียดมากนัก เครื่องพิมพ์แบบจุดนี้จัดเป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบ คือเวลาพิมพ์หัวพิมพ์จะกระทบกับผ้าหมึก
เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก (Inkjet Printer) หลักการทางานคือ การฉีดหนึกลงบนกระดาษเป็นจุดเล็ก ๆ เพื่อให้ได้รูปแบบ
งานพิมพ์ที่ต้องการงานพิมพ์ที่ได้จะมีความละเอียดกว่าเครื่องพิมพ์แบบจุดมากเครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกนี้จัดเป็น
เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ
เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) หลักการทางานของเครื่องพิมพ์แบบนี้ จะใช้หลักการเดียวกันกับเครื่องถ่าย
เอกสาร คือ ใช้แสงเลเซอร์ในการพิมพ์เรียกว่า LED (Light-Emit-ting Diode) และ LCS (Liquid Crystal Shutter) ซึ่งจะ
พิมพ์งานออกทีละหน้า เราเรียกงานพิมพ์แบบนี้ว่า ppm (Page per minute)
พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มักจะใช้ในงานเขียนแบบ หรืองนด้านกราฟิก
6.5.6 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ
โมเด็ม (Modem) ย่อมาจาก Modulator – DeModulator ทาหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูล ประโยชน์ของโมเด็มเพื่อใช้ใน
การสื่อสารระยะไกลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ต้องอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์ในการสื่อสารด้วย อัตราความเร็วในการ
ส่งข้อมูลและโมเด็มมีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที โมเด็มสามารถรับและส่งได้ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความ ภาพและเสียง ลักษณะ
ของโมเด็มมี 2 แบบ คือ
1. แบบ Internal คือ เป็นแผงวงจรเสียบเข้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
2. แบบ External ค เป็นอุปกรณ์ที่นามาต่อภายนอกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบนี้จะมีราคาสูงกว่าแบบ Internal
6.6 ระบบสื่อประสม (Multimedia)
ระบบสื่อประสม คือ เป็นการทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแสดงได้หลาย ไ รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ กราฟิก
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งจะเป็นการรวมเอาวิชาการหลาย ๆ สาขามาประยุกต์เข้าด้วยกัน ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้ในงาน
ด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก เรียกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ผู้เรียนสามารถ
เรียน ได้ตามความสามารถของแต่ละบุคคลโดยจะมีการโต้ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แสดงผลให้ผู้เรียนเห็นผ่านทาง
จอภาพที่สาคัญเทคโนโลยีนี้สามารถใช้สื่อประสมหลาย ไ ชนิดเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว
หรือเสียง สื่อการเรียนรูปแบบนี้สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนได้มากขึ้น
บทที่ 7 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
7.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ต่าง ไ เพื่อให้เกิดการทางานที่ประสานกันและเกิดการประมวลผล เรา
สามารถแบ่งออกตามหน้าที่การทางานได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่
7.1.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เป็นฮาร์ดแวร์ที่สาคัญที่สุดเพราะเป็นหัวใจของการ
ทางาน เพราะซีพียูจะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ดดยรับคาสั่งหรือข้อมูลมาทาการ
ประมวลผลแล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้ยังหน่วยแสดงผล
หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit : ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณ
หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมกลไกการทางานของระบบ ทั้งหมด
7.1.2 หน่วยความจา (Memory) หน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รับส่ง
สัญญาณไฟฟ้าซึ่งจะมีสภาพเป็น เปิดและปิด โดยใช้รหัสเลขฐานสองคือเลข 0 และ 1 ซึ่งแต่ละตัวเรียกว่า บิต (Binary
Digit : Bit) โดยที่อักษร 1 ตัวจะเกิดจากการรวมเลขฐานสอง 8 บิต ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 ไบต์ (Byte)
ประเภทของหน่วยความจา แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
หน่วยความจาหลัก (Main Memory) คือ หน่วยความจาที่อยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและคาสั่ง
ต่าง ๆ รวมถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลด้วย หน่วยความจาประเภทนี้สามารถแบ่งได้ดังนี้
ตามลักษณะของการเก็บข้อมูล จะแบ่งได้เป็น
- หน่วยความจาแบบลบเลือนได้(Volatile Memory)
- หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)
ตามสภาพการใช้งาน จะแบ่งได้เป็น
- หน่วยความจาอ่านอย่างเดียว (Read-Only Memory : ROM) หรือ รอม
- หน่วยความจาเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory : RAM) หรือ แรม
หน่วยความจารอง (Secondary storage) หรือหน่วยความจาภายนอกเครื่อง คือ สื่อที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลหรือ
โปรแกรมเพื่อเก็บไว้ใช้งานต่อไป การใช้หน่วยความจารองถือว่า เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจดจาข้อมูลของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ แต่ก็มีข้อจากัด เช่น เนื้อที่หรือความจุในการบันทึกมีจากัด
7.1.3 อุปกรณ์รับเข้า (Input Device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
7.1.4 อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล
7.2 ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นอย่างมีลาดับขั้นตอนเพื่อควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมนี้เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
7.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะไปควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์รวมถึงการจัดสรร
อุปกรณ์และทรัพยากรต่าง ๆ ภายในระบบให้ประสานกัน
7.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่าง หรือเฉพาะด้าน เช่น ด้านการคานวณ ด้าน
การจัดทาเอกสาร ด้านการัดการฐานข้อมูล หรือ การทางานภายในโรงงานเป็นต้น การเรียนรู้ใช้งานก็ทาได้ง่ายประเภท
ของซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
ซอฟต์แวร์ทั่วไป หรือ ซอฟต์แวร์สาเร็จ (Software Packages) ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ไม่ได้มุ่งเน้นในการทางานใด ๆ เจาะจง
มากมากนัก แต่ผู้ใช้จะต้องนาไปประยุกต์หรือปรับตามการทางานของตนเอง หรือนาไปพัฒนาเพื่อสร้างชิ้นงาน ราคาจึง
ไม่สูงมากนัก
ซอฟต์แวร์เฉพาะทาง ใช้สาหรับงานอย่างจาเพาะเจาะจง เช่น โปรแกรมบัญชี โปรแกรมสต๊อก เป็นต้น
7.3 ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การเก็บ
รวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี ได้แก่
- มีความถูกต้อง - มีความเที่ยงตรงสามารถเชื่อถือได้
- มีความเป็นปัจจุบัน - สามารถตรวจสอบได้ - มีความสมบูรณ์ชัดเจน
7.4 บุคลากร (People) เป็นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มผู้ใช้อาจจะเป็นผู้มีความรู้หรือไม่มีความรู้ในการใช้ระบบเลยก็ได้เราจะเรียกกลุ่มผู้ใช้นี้ว่า End Users ซึ่งจะเป็นผู้มี
อิทธิพลต่อทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการออกแบบพัฒนาก็จะต้องยึดความต้องการของผู้ใช้
เป็นหลัก
กลุ่มนักคอมพิวเตอร์ เป็นกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่ในงานคอมพิวเตอร์
- ผู้อานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ จัดโครงการและวางแผนงานภายในหน่วยงาน
- นักวิเคราะห์ระบบ มีหน้าที่วิเคราะห์เกี่ยวกับการออกแบบระบบงาน ตามความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด
- โปรแกรมเมอร์ หรือนักเขียนโปรแกรม มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่ นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้
- ผู้ควบคุมเครื่อง ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
- พนักงานจัดเตรียมข้อมูล ทาหน้าที่เตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานต่อได้
บทที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
8.1 การสื่อสารข้อมูล (data Communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ
ผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและ
ผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
วิธีการส่งข้อมูลนี้ จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาฯหรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็
จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรคที่
เกิดขึ้น คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ข้อมูลบางส่วนเสียหายหรือผิดเพี้ยนไปได้
ส่วนประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
1. ตัวส่งข้อมูล 2. ช่องทางการส่งสัญญาณ 3. ตัวรับข้อมูล
8.2 การสื่อข้อมูลในระดับเครือข่าย มาตรฐานกลางที่ใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย คือ
มาตรฐาน OSI (Open Systems Interconnection Mode) ซึ่งทาให้ทั้งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ สามารถ
เชื่อมโยงและใช้งานในเครือข่ายได้
จุดมุ่งหมายของการกาหนดมาตรบาน OSI นี้ขึ้นมาก็เพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายและกาหนดหน้าที่
การทางานในแต่ละชั้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชั้น โดยมีหลักเกณฑ์ในการกาหนดมีดังต่อไปนี้
1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกในแต่ละชั้นจนมากเกิดไป 2. แต่ละชั้นมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน
3. หน้าที่การทางานคล้ายกันจะถูกจัดให้อยู่ในชั้นเดียวกัน 4. เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลกระสบสาเร็จมาแล้ว
5. กาหนดหน้าที่การทางานเฉพาะง่าย ๆ เผื่อว่ามีการออกแบบหรือเปลี่ยนแปลงใหม่ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และ
ซอฟต์แวร์จะได้ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงตาม 6. มีการกาหนดอินเตอร์เฟชมาตรฐาน
7. มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละชั้น
7 Application
6 Presentation
5 Session
4 Transport
3 Network
2 Data Link
1 Physical
บทที่ 9 เทคโนโลยีสื่อสมัยใหม่
9.1 อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อระบบต่าง ๆ จากทั่วทุกมุมโลกเขาด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น
สถาบันการศึกษา องค์กร หน่วยงานทั้งราชการและเอกชน
9.1.1 ที่มาของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตถูกพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ.1969 ซึ่ง
หน่วยงานที่ทาหน้าที่ดูแลเครือข่ายมีชื่อว่า ARPA (Advanced Research Project Agency) เครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้จึงเรียกว่า
อาร์พาเน็ต เครือข่ายนี้สร้างขึ้นเพื่อการใช้งานทางด้านการทหาร โปรโตคอลที่ใช้ชื่อว่า DARPA ต่อมา ARPA ได้สร้าง
มาตรฐานในการเชื่อมต่อขึ้นใหม่ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถติดต่อสื่อสารกัน จึงได้สร้างโปรโตคอลขึ้นมาใน
ปัจจุบันที่เรียกว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) และเมื่อปี ค.ศ. 1989 มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อใน
เครือข่ายมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า อินเทอร์เน็ต
9.1.2 อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย การใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2530 ที่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยลักษณะการเชื่อมต่อนั้นเป็นการเชื่อมต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ติดต่อกันเป็นครั้งคราว และ
ใช้โมเด็มความเร็วเพียง 2,400 บิต ต่อวินาที เท่านั้น ต่อมาปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดย
สมบูรณ์เป็นครั้งแรก โดยมีความเร็ว 9,600 บิตต่อวินาที และต่อมาศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติก็
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาภายในประเทศเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ โดยชื่อว่า ไทยสาร
9.1.3 ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต
ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต คือ สิ่งที่เราสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่งานของเราได้ได้แก่
1. เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) 2. โกเฟอร์ (Gopher)
3. เทลเน็ต (Telnet) 4. เวย์ส (wais , wide area information service)
5. อาร์ซี (archie)
World Wide Web : WWW
เป็นระบบอินเทอร์เน็ตโดยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลเอกสารจากแฟ้มข้อมูลในรูปข้อความหลายมิติ www มีคุณสมบัติดังนี้
- User-friendly ที่ทาให้ผู้ใช้สะดวกในการเลือกตัวเลือกต่าง ๆ บนหน้าจอ และเข้าถึงส่วนต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต
- เอกสารในรูปมัลติมีเดีย
- มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้และ Server
Gopher เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาตั้งแต่ยังไม่มี www โดยมหาวิทยาลัยมินเนโศตา จุดประสงค์ก็เพื่อค้นหา
สารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
Telnet เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันคล้ายกับการโทรศัพท์เข้าไปที่
เครื่อง
WAIS เป็นเครื่องมือในการค้นหาฐานข้อมูลลนอินเตอร์เน็ต โดยระบบจะมีวิธีดาเนินการที่ทาให้ผู้ใช้เห็นว่ามี
ฐานข้อมูลอยู่เพียงพอ
Archieเป็นการค้นหาข้อมูลโดยใช้ขั้นตอนของการโยกย้ายบนแฟ้มข้อมูลผู้ใช้จะต้องเข้าไปค้นหาก่อนว่าข้อมูล
ที่ตนเองต้องการเก็บอยู่สถานที่ใดจากนั้นจึงจะเข้าไปค้นหาที่สถานที่ที่ต้องการ
9.1.4 เว็บพราวเซอร์ (Web Browser) Web browser เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเลือกดูเอกสารในระบบ
อินเตอร์เน็ตที่เป็น www ซึ่ง Web browser จะต้องเชื่อมต่อไปยัง เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือ โฮสต์ เพื่อเรียกข้อมูลที่ต้องการ
9.1.5 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต - ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า e-mail
- แหล่งค้นคว้าของข้อมูลขนาดใหญ่ - แหล่งรวมโปรแกรมที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมต่าง ๆ
- การถ่ายโอนข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ - ใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกันโดยผ่านทางแป้ นพิมพ์
- แหล่งรวมความบันเทิงต่าง ๆ - เป็นเครื่องมือในการติดต่อซื้อขายทางธุรกิจ
9.1.6 ข้อจากัดและผลกระทบของอินเทอร์เน็ต
ข้อจากัด
- ทาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น - จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้
ผลกระทบ
- อาจทาให้มีปัญหาเกี่ยวกับสายตาได้ - หากใช้ไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เกิดผลเสียแต่ผู้ใช้เอง
9.1.7 ลักษณะการทางานของอินเตอร์เน็ต มาตรฐานที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถติดต่อสื่อสาร
กันได้คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในปัจจุบัน คือ TCP/IP
TCP/IP คือ ภาษากลางบนอินเตอร์เน็ต ทาให้เครื่องสามารถเข้าใจกันได้สิ่งที่ช่วยให้เรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่
ละเครื่องก็คือ ไอพีแอดเดรส (IP Address) เป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องแต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากันกับเครื่องอื่นในโลก
โดยมีจุด (.) เป็นสัฯลักษณ์แบ่งตัวเลขเป็นชุดซึ่งแต่ละชุดมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255
ความหมายของโดเมนเนม แบ่งออกเป็น 6 ประเภท
1. .com - กลุ่มองค์การค้า
2. .edu - กลุ่มการศึกษา
3. .mit - กลุ่มองค์การทหาร
4. .net - กลุ่มองค์การ บริการเครือข่าย
5. .org - กลุ่มองค์กรอื่น ๆ
6. .int - หน่วยงานที่ตั้งขึ้นโดยสัญญาหรือจ้อตกลงระหว่างประเทศ
ความหมายของโดเมนเนมของประเทศไทย
- .ac สถาบันการศึกษา
- .co องค์กรธุรกิจ
- .or องค์กรอื่น ๆ
- .net ผู้วางระบบเน็ตเวิร์ก
- .go หน่วยงานของรัฐบาล
9.1.8 รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตดังนี้
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ CPU Pentium 233 ขึ้นไป
2. หน่วยความจา 128 MB ขึ้นไป
3. ฮาร์ดดิสก์ความจุ 40 GB ขึ้นไป
4. จอภาพแบบ SVGA
5. โมเด็มความเร็วตั้งแต่ 56 kbps
6. โทรศัพท์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ 1 คู่สาย
- การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ทั่วไป
- การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้จานวนมาก
- ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
1. ISP หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสิ่งที่สาคัญคือ การจัดการอินเทอร์เน็ตมาใช้ ผู้ใช้จะต้องพิจารณาเลือก
รายการที่ดีที่สุด
2. การใช้อินเทอร์เน็ตที่บ้าน จาเป็นจะต้องพิจารณาผู้ให้บริการ
สิ่งที่ควรคานึงถึงในเลือกผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ
1. ตรวจสอบดูว่ามีบริการใดให้บ้าง เพราะผู้ให้บริการบางรายให้บริการแต่ www แต่ไม่ให้บริการ e-mail
2. คู่สายโทรศัพท์มีเพียงพอกับจานวนผู้ใช้หรือไม่
9.2 สานักงานอัตโนมัติ เป็นการนาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงาน ทาให้
- พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยทาง e-mail
- การทางานไม่ว่าจะเป็นงานเอกสารหรืองานพิมพ์ต่าง ๆ สามารถบันทึกไว้เป็นแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์
- การออกแบบต่าง ๆ - มีระบบฝากข้อความเสียง
- การประชุมทางไกล
9.3 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้รับความสนใจมากที่สุด เพราะ EDI เป็นการ
ส่งเอกสารธุรกิจหรือข้อมูลในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ไปยังผู้รับโดยผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของ EDI คือ ทาให้สะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร ประหยัดแรงงานคนในการบันทึกข้อมูล และประหยัด
ค่าใช้จ่ายในการทางาน
9.4 ทางด่วนข้อมูล เป็นเทคโนโลยีที่มีค่าใช้จ่ายสูงมาก สาหรับประเทศไทยก็ได้มีการดาเนินการไปบ้างแล้ว โดยการวาง
เส้นใยแก้วนาแสงไปตามแนวทางรถไฟ เพื่อใช้ในการสื่อสารทางโทรศัพท์
9.5 ระบบรักษาความปลอดภัย
- สาหรับระบบคอมพิวเตอร์ควรมีกาลังไฟสารอง - สาหรับศูนย์คอมพิวเตอร์จะต้องมีการรักษาความปลอดภัย
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ระมัดระวังเป็นพิเศษ - ข้อมูลจะต้องมีการสาเนาไว้ - มีการจากัดสิทธิผู้ใช้ระบบ

Contenu connexe

En vedette

RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDSRISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
Abhay G
 
Presentacionpowerpoint
PresentacionpowerpointPresentacionpowerpoint
Presentacionpowerpoint
draink
 
Improved sensitivit
Improved sensitivitImproved sensitivit
Improved sensitivit
t7260678
 
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
American Public Gardens Association
 
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon ShoppingA Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
storckpromo
 

En vedette (20)

Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.pps
Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.ppsConsolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.pps
Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.pps
 
LessonPlanning
LessonPlanningLessonPlanning
LessonPlanning
 
RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDSRISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
RISK MANAGEMNT IN MUTUAL FUNDS
 
Презентация Unity Card
Презентация Unity CardПрезентация Unity Card
Презентация Unity Card
 
Presentacionpowerpoint
PresentacionpowerpointPresentacionpowerpoint
Presentacionpowerpoint
 
Improved sensitivit
Improved sensitivitImproved sensitivit
Improved sensitivit
 
Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.final
Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.finalConsolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.final
Consolidacion trabajo final 40% grupo grupo_9.final
 
Human computer interfaces v8
Human computer interfaces v8Human computer interfaces v8
Human computer interfaces v8
 
Up gradation of geometric design of sh 131 ch 9 35 km 15 575km using mxroad ...
Up gradation of geometric design of sh 131 ch  9 35 km 15 575km using mxroad ...Up gradation of geometric design of sh 131 ch  9 35 km 15 575km using mxroad ...
Up gradation of geometric design of sh 131 ch 9 35 km 15 575km using mxroad ...
 
Sin rumbo
Sin rumboSin rumbo
Sin rumbo
 
Habitat Mangement for Native Pollinators
Habitat Mangement for Native PollinatorsHabitat Mangement for Native Pollinators
Habitat Mangement for Native Pollinators
 
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
Pollinators in the Garden: Forging Partnerships for Native Insect Conservatio...
 
Reverse Mortgage Basics
Reverse Mortgage BasicsReverse Mortgage Basics
Reverse Mortgage Basics
 
Business Model Renewal: A Literature Survey
Business Model Renewal: A Literature SurveyBusiness Model Renewal: A Literature Survey
Business Model Renewal: A Literature Survey
 
День карьеры 26.10.2016
День карьеры 26.10.2016День карьеры 26.10.2016
День карьеры 26.10.2016
 
Cultural Nuance & Design for China's Education Market
Cultural Nuance & Design for China's Education MarketCultural Nuance & Design for China's Education Market
Cultural Nuance & Design for China's Education Market
 
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon ShoppingA Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
A Fantástica Escola de Circo do Bourbon Shopping
 
Reverse Mortgage Marketing Fundamentals
Reverse Mortgage Marketing FundamentalsReverse Mortgage Marketing Fundamentals
Reverse Mortgage Marketing Fundamentals
 
Atributos Del Producto
Atributos Del ProductoAtributos Del Producto
Atributos Del Producto
 
Frontier Tmn Process Model
Frontier Tmn Process ModelFrontier Tmn Process Model
Frontier Tmn Process Model
 

Similaire à เทคโนโลยีสารสนเทศ

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
Srisomwong Sukkantharak
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
Srisomwong Sukkantharak
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
elfinspiritap
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Kanokorn Thodsaphon
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
Worapon Masee
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
chaiing
 

Similaire à เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุดคำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
คำถาม ตอนที่ 2 พิจารณาข้อที่ถูกที่สุด
 
Iot
IotIot
Iot
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
Multimedia1
Multimedia1Multimedia1
Multimedia1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of Things
Internet of Things Internet of Things
Internet of Things
 
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 
Intemet of things
Intemet of thingsIntemet of things
Intemet of things
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์เข้าด้วยกันเพื่อให้สิ่งต่างมี ประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม 1.2 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง เทคโนดลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลสารสนเทศทาให้สารสนเทศนั้นมี ประโยชน์และสามารถใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น 1.3 ประโยชน์ของผู้มีความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) 1. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้สะดวกและคุ้มค่ามากขึ้น 2. ตามทันกับสภาพสังคมที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนแทศและคาดการณ์แนวโน้มการใช้ในอนาคตได้ 3. มีความรู้สามารถที่จะเลือกซื้อ หรือเลือกใช้ฮาร์ดแวร์และซอหต์แวร์ได้เหมาะสมกับงานและความต้องการของตนเอง 4. เป็นผู้มีความรู้ทันข่าวสารและเหตุการณ์ปัจจุบันอยู่เสมอ 5. เป็นผู้มีความรู้กว้างขวางในหลากหลายสาขา และได้รับความรอบตัวมากขึ้น 1.4 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์กรต่าง ๆ จะมีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น การติดต่อสื่อสารสามารถทาได้ภายใน ระยะเวลาอันรวดเร็ว สิ่งที่องค์กรต่าง ๆ จะต้องคานึงถึงในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ก็คือ 1. ความจาเป็น ถ้าเป็นธุรกิจขนาดเล็กที่มีบุคลากรภายในอง๕กรไม่มาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศก็อาจจะทาให้ สิ้นเปลืองงบประมาณ 2. การพัฒนาของเทคโนโลยี ซึ่งมีการพัฒนาของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว การนาเทคโนโลยีมาใช้จึงต้อง คานึงถึงอนาคตด้วยว่า แนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยีต่อไปจะเป็นอย่างไร 3. การบริหารจัดการ จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับรูปแบบขององค์กร ความได้เปรียบเสียเปรียบทางด้านการตลาด 1.5 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต 1. ด้านการติดต่อสื่อสาร มนุษย์จะสามารถรับรู้ข่าวสารกันได้อย่างไม่มีอุปสรรค ที่เรียกว่า “โลกไร้พรมแดน” 2. ด้านการศึกษา นักเรียนนักศึกษาในอนาคตมีแนวโน้มที่จะสามารถเรียนจากที่บ้านได้โดยไม่ต้องไปโรงเรียน เหมือนปัจจุบัน 3. ด้านการดาเนินชีวิต มนุษย์จะมีชีวิตที่สุขสบายมากยิ่งขึ้น เพราะคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในรูปแบบของ หุ่นยนต์เพื่อทางานแทนมนุษย์ 4. ด้านสุขภาพ วงการแพทย์จะมีความก้าวหน้าในการรักษาโรคมากขึ้น เพราะจะมีระบบแพทย์ออนไลน์ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ 5. ด้านการท่องเที่ยวและความบันเทิง สามารถทาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการจองตั๋ว การ ตรวจสอบสถานที่ 1.6 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ 1. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษา จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาผลิตสื่อสารเรียนการสอนที่เรียกว่า CAI นั้นทาให้เกิดปัญหาที่เห็นได้ชัดเจน เช่น - ครูกับนักเรียนจะขาดความสัมพันธ์และความใกล้ชิดกัน - นักเรียนที่มีฐานะยากจนไม่สามารถที่จะใช้สื่อประเภทนี้ได้
  • 2. 2. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสิ่งแวดล้อม - เกิดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ก็เพราะมนุษย์นาเทคโนโลยีทางด้าน IT ไปพัฒนาอย่างผิดวิธีและ นาไปใช้ในทางที่ผิด เพราะมุ่งเน้นเพียงแต่จะก่อประโยชน์แก่ตนเองเท่านั้น 3. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสังคม - ทาให้เกิดปัญหาการว่างงานของแรงงานเพราะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ - การปรับตัวเพื่อให้ทันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ของพนักงานที่มีอายุมากหรือมีความรู้น้อย - สมาชิกในสังคมมีการดาเนินชีวิตที่เป็นแบบต่างคนต่างอยู่ ไม่มีความสัมพันธ์กันภายในสังคมเพราะต่างมีชีวิต ที่ต้องการรีบเร่งและดิ้นรน 4. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเศรษฐกิจ - มนุษย์สามารถจับจ่ายใช้สอยได้ง่ายมากขึ้น เพราะมีบัตรเครดิตทาให้ไม่ต้องพกเงินสด หากต้องการซื้ออะไรที่ ไม่ได้เตรียมการไว้ล่วงหน้าก็สามารถซื้อได้ทันที - การแข่งขันกันทางธุรกิจสูงมากขึ้นเพราะต่างก็มุ่งหวังผลกาไรซึ่งก็เกิด ผลดี คือ อัตราการขยายตัวทางธุรกิจ สูงขึ้นแต่ผลกระทบก็เกิดตามมาคือ บางครั้งก็มุ่งแต่แข่งขันกันจนลืมความมีมนุษยธรรมหรือความมีน้าใจ 5. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อสุขภาพจิต - เมื่อการดาเนินชีวิตจากเดิมที่เป็นแบบเรียบง่าย ต้องเปลี่ยนมาปรับตัวให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันตลอดเวลา - พฤติกรรมของเยาวชน โดยเฉพาะพวกเกมคอมพิวเตอร์ทาให้เยาวชนมีพฤติกรรมก้าวร้าว ชอบการต่อสู้ - นักธุรกิจก็ต้องทางานแข่งกับเวลา ไม่มีเวลาได้พักผ่อนก็ก่อให้เกิดความเครียด สุขภาพจิตก็เสียตามมาด้วย บทที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ 2.1 ความหมายข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการ สังเกต การเก็บรวบรวม การวัด สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 2.2 คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี - มีความถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ได้ต้องนาไปใช้ในการตัดสินใจ หากข้อมูลไม่มีความถูกต้องแล้วก็จะก่อให้เกิดผล เสียหายตามมา - มีความเที่ยงตรงสามารถเชื่อถือได้ กรรมวิธีในการได้มาซึ่งข้อมูลจะต้องคานึงถึงความแม่นยาเป็นหลัก - มีความเป็นปัจจุบัน เพื่อตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และสามารถที่จะตอบสนองต่อผู้ใช้ได้รวดเร็วที่สุด - สามารถตรวจสอบได้ ข้อมูลนั้นจะต้องมีแหล่งที่มาที่ไป มีหลักฐานอ้างอิงได้ - มีความสมบูรณ์ชัดเจน ในบางครั้งก็จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลมากกว่าหนึ่งครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์จริง 2.3 การประมวลผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ 2.3.1 การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เบื้องต้น แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดเก็บอย่างมีระบบ ซึ่งใน ขั้นตอนนี้จะต้องมีความระมัดระวังเป็นอย่างมากเพื่อให้ได้ข้อมูลตรงกับคุณสมบัติของข้อมูลที่ดี 2.3.2 การประมวลผล แบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ 2.3.2.1 การประมวลผลด้วยมือ วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจานวนไม่มากและไม่ซับซ้อน และเป็นวิธีที่ใช้มาแต่อดีต อุปกรณ์ในการคานวณ 2.3.2.2 การประมวลผลด้วยเครื่องจักร วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจานวนปานกลาง และไม่จาเป็นต้องใช้ผลจากการ คานวณในทันทีทันใด เพราะต้องใช้เครื่องจักร และแรงงานคน
  • 3. 2.3.2.3 การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจานวนมาก ไม่สามารถใช้แรงงานคนได้และงาน มีการคานวณที่ยุ่งยากซับซ้อน 2.3.2.4 การดูแลรักษา ในขั้นตอนนี้จะต้องมีการทาสาเนาข้อมูล แม้ว่าจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการเก็บรักษา ข้อมูลแต่การทาสาเนาข้อมูลก็ถือว่าเป็นสิ่งจาเป็น เพราะข้อมูลที่จัดเก็บไว้อาจเสียหายโดยที่เราไม่ คาดคิด 2.4 ชนิดของข้อมูล 2.4.1 ข้อมูลตัวเลข (Numeric) ได้แก่ ตัวเลขต่าง ไ และสามารถนาไปคานวณได้ ข้อมูลชนิดนี้อาจเขียนไดหลาย รูปแบบ เช่น จานวนเต็ม 9,17,22,23 ทศนิยม 2.94, 3.14, 0.26 เป็นต้น 2.4.2 ข้อมูลตัวอักษร (Character) ได้แก่ตัวอักขระและตัวอักษรต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถนาไปคานวณได้ แต่ อาจจะนาไปจัดเรียงได้ 2.5 รหัสแทนข้อมูล 2.5.1 รหัสแอสกี (ASCII) เป็นรหัสที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย รหัสแอสกีเป็นรหัสมาตรฐานที่ได้จากหน่วยงาน กาหนดมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา (ASCII ย่อมาจาก American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัส 8 บิต หรือ 1 ไบต์ต่อหนึ่งอักขระและแทนข้อมูลลักษณ์ต่าง ๆ ได้256 ตัว รหัสแอสกีก็จะกาหนดไว้เป็นเลขฐานสิบเมื่อจะนาไปสู่หน่วยความจาคอมพิวเตอร์จึงจะเปลงเป็นเลขฐานสอง สาหรับผู้ใช้งานสามารถที่จะเขียนในรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย 2.5.2 รหัสเอบซีดิก (EBCDIC) มีการกาหนดรหัสเป็น 8 บิตเหมือนกันกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสจะมี ความแตกต่างกัน รหัสเอบซีดิกพัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม (EBCDIC ย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) 2.6 การแปลงเลขฐานสอง 2.6.1 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐาน 25 และเลขฐาน 8 จงเปลี่ยน 47 ฐาน 10 ให้เป็นเลขฐาน 2 วิธีทา 2)47 2)23 เศษ 1 2)11 เศษ 1 2)5 เศษ 1 2)2 เศษ 1 2)1 เศษ 0 0 เศษ 1 คาตอบคือ (101111) 2 = 47 จงเปลี่ยน 103 ฐาน 10 ให้เป็นเลขฐาน 8 วิธีทา 8)103 8)12 เศษ 7 8)1 เศษ 4 0 เศษ 1 คาตอบคือ (147) 8 =103 5
  • 4. 2.6.2 การแปลงเลขฐานอื่น ๆ มาเป็นเลขฐานสิบ จงเปลี่ยน (147) 8 ให้เป็นเลขฐาน 10 วิธีทา (147) 8 = ()()()012878481×+×+× = 73264++ = 103 จงเปลี่ยน ให้เป็นเลขฐาน 10 (2101111 วิธีทา = ()2101111()()()()()()012345212121212021×+×+×+×+×+× = 1248032+++++ = 47 บทที่ 3 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 3.1 โครงสร้างของการจัดข้อมูล 3.1.1 อักขระ (Character) เป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์พิเศษ อักขระนี้เป็นส่วนที่เล็กที่สุด ของข้อมูล 3.1.2 เขตข้อมูล (Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่กาหนดขึ้นมาแทนความหมายใดความหมายหนึ่ง เขตข้อมูลจะเกิดจาก การนาอักขระที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน 3.1.3 ระเบียนข้อมูล (Record) เกิดจากการนาเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้อง หรือ สัมพันธ์กันมารวมเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดความหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 3.1.4 แฟ้ มข้อมูล (File) เกิดจากการรวมระเบียนหลาย ๆ ระเบียนที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าด้วยกัน 3.1.5 ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากแฟ้มข้อมูลรวมกัน โดยใช้หลักการเพื่อไม่ให้ข้อมูลเกิดความซ้าซ้อนในการจัดเก็บ 3.2 ประโยชน์ของการจัดข้อมูล 1. สามารถค้นคว้าข้อมูล / สารสนเทศที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลและทาการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา 2. สามารถประมวลผลชุดคาสั่งที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลได้ 3. สามารถสร้าง ตั้งชื่อและเก็บแฟ้มข้อมูลนั้นไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 4. สามารถสร้างสาเนา ย้ายและลบแฟ้มข้อมูลเมื่อไม่มีความจาเป็นในการใช้งานแล้ว 5. สามารถทาการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 6. สามารถรับแฟ้มข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาสู่แฟ้มข้อมูลเพื่อการใช้งานร่วมกันได้ 3.3 การจัดระเบียบแฟ้ มข้อมูล 3.3.1 แฟ้ มลาดับ (Sequential File) การเรียงข้อมูลเป็นไปตามลาดับก่อนหลัง 3.3.2 แฟ้ มสุ่ม (Random File) การอ่านหรือเขียนข้อมูลผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับจากข้อมูลตัวแรก แต่ข้อมูลแต่ ละรายการจะมีคีย์หลักประจา เวลาที่ต้องการค้นหาข้อมูลก็สามารถดึงข้อมูลออกมาได้โดยตรง 3.3.3 แฟ้ มดัชนี (Index File) แฟ้มดัชนีนี้จะต้องเก็บข้อมูลโดยจัดเป็นกลุ่มดัชนีเสียก่อน การค้นหาข้อมูลก็จะวิ่งไป หาข้อมูลที่ต้องการเมื่อพบแล้วก็ดึงเอาข้อมูลที่ต้องการออก 3.4 ประเภทแฟ้ มข้อมูล 3.4.1 แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลที่สาคัญ ๆ ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ
  • 5. 3.4.2 แฟ้ มรายการปรับปรุง (Transaction File) เป็นแฟ้มที่มีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา รายการต่าง ๆ ในแฟ้ม รายการปรับปรุงนี้จะต้องนาไปปรับปรุงกับแฟ้มข้อมูลหลัก เพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีความเป็นปัจจุบันเสมอ 3.5 ลักษณะการประมวลข้อมูล 3.5.1 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็นการประมวลผลข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้เป็นกลุ่ม ในช่วง เวลาที่กาหนด 3.5.2 การประมวลผลแบบทันที (Transaction Processing) เป็นการประมวลผลในทันทีเมื่อข้อมูลมีการ เปลี่ยนแปลง 3.6 ระบบการจัดการฐานข้อมูล 3.6.1 การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) หมายถึง การบริหารแหล่งข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้เพื่อทาให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.6.2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการ ฐานข้อมูลในส่วนของการสร้างและการบารุงรักษา 3.6.3 ระบบการจัดการฐานข้อมูล 1. ภาษาคานิยามของข้อมูล จะเป็นคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดโครงสร้างของข้อมูล 2. ภาษาการจัดการข้อมูล เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการระบบฐานข้อมูล 3. พจนานุกรมข้อมูล เป็นแหล่งเก็บโครงสร้างของข้อมูลในระบบ 3.7 ลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดี 1. ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล 2. สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้ 3. การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสามารถทาได้สะดวกและถูกต้อง 4. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและเรียกใช้สารสนเทศ 5. ให้ความปลอดภัยในการใช้ระบบเพราะจะมีการจากัดสิทธิ 6. มีการควบคุมมาตรฐานการใช้งานจากศูนย์กลาง บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ - การศึกษา - การดาเนินชีวิตประจาวัน - การดาเนินธุรกิจ - อัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว - ระบบการทางาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องประกอบด้วย 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริการข้อมูลและติดต่อสื่อสาร 4.2 พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2.1 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ - ฮาร์ดแวร์ - ซอฟต์แวร์ - ข้อมูล - บุคลากร
  • 6. 4.2.2 โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้ (Programmers, System Analyst และ User) เป็นบุคคลที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะมีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ส่วน ผู้ใช้ เป็นกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด 4.2.3 หน่วยของข้อมูล หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด หน่วยแสดงผล ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล หน่วยเก็บข้อมูล ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอทาการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอ ส่งไปยังหน่วยแสดงผล 4.2.4 การจัดการข้อมูล หมายถึง แฟ้มข้อมูล 4.2.5 การประมวลผล ได้แก่ - การรวบรวมข้อมูล - การประมวลผล - การดูแลรักษา 4.3 เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ 4.3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ จะมีความสามารถในด้านการจัดการสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกการแก้ไข การ จัดทารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน 4.3.2 เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นเทคโนโลยีที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันและมีประโยชน์ดังนี้ - สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) - การจัดเก็บข้อมูลที่รวมไว้ที่เดียว ผู้ที่อยู่ห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว - องค์กรสามารถประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์ - สามารถทางานร่วมกันได้ 4.3.3 เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ - พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ - การทางาน ไม่ว่าจะเป็นงานเอกสาร หรืองานพิมพ์ต่าง ๆ - การออกแบบต่าง ๆ มีโปรแกรมที่ช่วยในการออกแบบและมีการใช้งานที่ง่ายขึ้น - มีระบบฝากข้อความเสียง - การประชุมทางไกล 4.3.4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือเรียกว่า CAI 4.4 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.4.1 การนามาประยุกต์ใช้ 4.4.2 การวางแผนที่ดี 4.4.3 มาตรฐานในการใช้ 4.4.4 การลงทุน 4.4.5 การจัดการข้อมูล 4.4.6 การรักษาความปลอดภัยของระบบ
  • 7. บทที่ 5 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 5.1 ระดับสารสนเทศ 5.1.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล เป็นระดับที่ช่วยให้แต่ละบุคคล สามารถทางานในหน้าที่ของตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมสาเร็จเป็นเครื่องช่วยในการทางาน 5.1.2 ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม วัตถุประสงค์ของระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดไม่ว่าจะเป็นการใช้ข้อมูลร่วมกันหรือการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน 5.1.3 ระบบสารสนเทศระดับองค์กร เปรียบเสมือนการนาเอาระบบสารสนเทศระดับกลุ่มมารวมเข้าด้วยกันเพราะ ระดับสารสนเทศระดับองค์กรนี้เป็นภาพรวมของหลาย ๆ แผนก เพื่อสนับสนุนงานด้านการบริหารและการจัดการให้ สะดวกยิ่งขึ้น 5.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 5.2.1 ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยประมวลผลต่าง ๆ ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญ ของระบบ สารสนเทศ 5.2.2 ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน ตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์แบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ - ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า “ระบบปฏิบัติการ” (Operating System) - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างหรือเฉพาะด้าน 5.2.3 ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ข้อมูล มีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะใช้เป็นเครื่องช่วยในการวางแผนงานการบริหารจัดการ 5.2.4 บุคลากร (People) คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้ พนักงานคอมพิวเตอร์ ผู้ ควบคุมระบบ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ จนถึงผู้อานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ 5.2.5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Process) จะต้องมีการวางแผนให้การทางาน เป็นไปตามลาดับขั้นตอนและต่อเนื่อง สัมพันธ์กันทั้งบุคลากรและเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ บทที่ 6 คอมพิวเตอร์ 6.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการคานวณผลในรูปแบบหนึ่ง ๆ ได้ อย่างรวดเร็วและให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ ความหมายของคอมพิวเตอร์จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อัตโนมัติทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์” 6.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 6.2.1 แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog computer) มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทาหน้าที่เป็นตัว กระทาและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ โดยจะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าเป็นหลักในการคานวณการรับข้อมูลจะรับใน ลักษณะของปริมาณที่มีค่าต่อเนื่องกันโดยรับจากแหล่งที่เกิดโดยตรง ข้อจากัดของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ คือ ผลการคานวณที่ได้จะมีความละเอียดต่า ทาให้ใช้กับงานได้เฉพาะอย่าง เท่านั้น
  • 8. 6.2.2 ดิจิตัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) หลักการคานวณจะเป็นแบบลูกคิดหรือหลักการนับ และทางานกับ ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะการคานวณจะแปลงเลขฐานสิบก่อนแล้วจึงประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองแล้วให้ผล ลัพธ์ออกมาในรูปของตัวเลข ข้อจากัดของดิจิตัลคอมพิวเตอร์ คือ ต้องใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า “สื่อข้อมูล” ในการบันทึกข้อมูล แต่แอนะล็อก คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลได้โดยตรงจากแหล่งเกิดข้อมูล 6.2.3 ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer) เป็นการนาแอนะล็อกคอมพิวเตอร์และดิจิตัลคอมพิวเตอร์ มาทางาน ร่วมกัน เพื่อให้สามารถทางานเฉพาะอย่างได้ดียิ่งขึ้น 6.3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 6.3.1 คอมพิวเตอร์ยุกแรก (ค.ศ. 1951 – 1958) - เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้กาลังไฟฟ้าสูง เพราะมีขนาดใหญ่ จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย - ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และหลอดสูญญากาศ - การทางานใช้ภาษาเครื่อง (Machine Language) - คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ คือ UNIVAC I - เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแรกได้แก่ มาร์ค วัน (Mark 1) อีนิแอค (Eniac) ยูนิแวค (Univac) ข้อเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแรก คือ ก่อนใช้งานต้องอุ่นให้หลออดสูญญากาศเสียก่อน จึงจะใช้งานได้ซึ่งต้องใช้เวลา หลายนาที และเมื่ออุ่นได้ที่แล้วก็มักจะร้อนเกินไปทันที และเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่และใช้กระแสไฟฟ้า 12 6.3.2 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง (ค.ศ. 1959 – 1964) - เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ - มีความเร็วที่สูงกว่า มีความถูกต้องแม่นยาและประสิทธิภาพในการทางานที่ดีกว่า - เครื่องมีขนาดเล็ก ใช้กาลังไฟฟ้าน้อยและราคาถูกลง - ใช้วงแหวนแม่เหล็กที่ทาขึ้นจากสาร Ferromagnetic เป็นหน่วยเก็บความจา - ในช่วงต้น ค.ศ. 1960 ได้เริ่มมีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก - ภาษาที่ใช้เป็นภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ 6.3.3 คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม (ค.ศ. 1965-971) - เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับคอมพิวเตอร์ เพราะมีการคิดค้น วงจรรวม (Integrated Circuit) หรือ IC ซึ่งสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว - เครื่องคอมพิวเตอร์จึงมีขนาดเล็กลง ความเร็วเพิ่มขึ้น และใช้กาลังไฟน้อย - โครงสร้างของคอมพิวเตอร์มีการออกแบบที่ซับซ้อนขึ้น - ภาษาที่ใช้ได้แก่ ภาษาโคบอล และภาษาพีแอลวัน 6.3.4 คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ (ค.ศ. 1972-1980) - เป็นยุคคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก - ขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงหรือไมโครคอมพิวเตอร์เป็นแบบตั้งโต๊ะ หรือพกพาได้ - ทางานเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น - ใช้สื่อข้อมูลพวกเทปแม่เหล็ก หรือ จานแม่เหล็ก - ภาษาที่ใช้เป็นภาษาใหม่ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล และ ภาษาซี - ซอฟต์แวร์มีการพัฒนามาก มีโปรแกรมสาเร็จให้เลือกใช้กันมากขึ้น
  • 9. 6.3.5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า (ค.ศ. 1980- ปัจจุบัน) - คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้เพื่อช่วยในการจัดการ การตัดสินใจ และแก้ปัญหา โดยจะมีการจัดเก็บข้อมูลไว้เมื่อ ต้องการใช้งานก็สามารถเรียกข้อมูลที่เก็บไว้มาใช้ในการทางานได้ - คอมพิวเตอร์ยุคนี้เรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ - มีการใช้คอมพิวเตอร์ทางานด้านกราฟิกอย่างแพร่หลายมากขึ้น - ขนาดเครื่องมีแนวโน้มเล็กลงและมีความเร็งสูง - การปฏิบัติงานต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์แทนแรงงานมนุษย์ - ซอฟต์แวร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วขึ้นมาก รวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นหุ่นยนต์ 6.4 ชนิดของคอมพิวเตอร์ 6.4.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) - เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคานวณที่ต้องคานวณตัวเลขจานวนมหาศาล ให้เสร็จภายในระยะเวลาสั้น ๆ - เครื่องมีขนาดใหญ่ซึ่งสามารถทางานได้เร็ว และมีประสิทธิภาพมากที่สุด - มีโครงสร้างการคานวณพิเศษ ที่เรียกว่า เอ็มพีพี 13 6.4.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframecomputer) - มีขนาดรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ - สาเหตุที่เรียนว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เพราะตัวเครื่องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ ซึ่งภายในตู้จะมีชิ้นส่วนและ อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นจานวนมาก - ใช้ในงานประมวลผลในงานสาหรับธุรกิจขนาดใหญ่ - ราคาสูงที่สุดในบรรดาคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานโดยทั่วไป - มีการประมวลผลที่รวดเร็วและเก็บข้อมูลได้มหาศาล - ต้องการดูแลรักษาเป็นอย่างดีและอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ - ข้อเด่นของเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ การทางานโดยมีระบบศูนย์กลางและกระจายงานไปยังที่ต่าง ๆ 6.4.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) - เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้หลายคนในเวลาเดียวกัน คือสามารถเชื่อมโยงกับเทอร์มินัล หลาย ๆ เครื่อง - ใช้ในงานประมวลผลในงานสาหรับธุรกิจขนาดกลาง - ขนาดเล็กกว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ความเร็วในการทางานและราคาก็ต่ากว่าด้วย 6.4.4 สถานีงานวิศวกรรม - ผู้ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นวิศวกรรม นักวิทยาศาสตร์ สถาปนิกและนักออกแบบ - จุดเด่นของสถานีงานวิศวกรรมคือเรื่องกราฟิก - ราคาของสถานีวิศวกรรมจะแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์มาก - การใช้งานก็จะต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้โดยเฉพาะ - หากนาสถานีวิศวกรรมมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย จะทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้งานร่วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพมาก 6.4.5 ไมโครคอมพิวเตอร์ - เครื่องมีขนาดเล็กและมีราคาถูก อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) หรือ พีซี - มีทั้งแบบตั้งโต๊ะ, แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์, ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ และโน้ตบุ้คคอมพิวเตอร์ - สามารถใช้งานได้ง่าย
  • 10. - สามารถใช้งานในลักษณะเครือข่าย และทาหน้าที่เป็นเทอร์มินัลได้ด้วย - มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์ 6.5 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 6.5.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ทั้งหมด โดยมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างหน่วยความจาด้วย ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางหรือพีซีนี้ จะประกอบด้วย 6.5.1.1 หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit : ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณ และหน้าที่ใน การเปรียบเทียบทางตรรกะโดยหน่วยควบคุมจะควบคุมความเร็วในการคานวณ 6.5.1.2 หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมกลไกการทางานของระบบทั้งหมด โดยจะทางาน ประสานกันกับหน่วยความจา และหน่วยคานวณ และตรรกะ ซีพียูหลักที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน คือ ไมโครชิป หรือที่เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ 6.5.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอทาการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลในระหว่างที่รอส่งปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์ประเภทของหน่วยความจาสามารถแบ่งได้ดังนี้ 6.5.2.1 ตามลักษณะของการเก็บข้อมูล - หน่วยความจาแบบลบเลือนได้คือ ในกรณีที่ไฟฟ้าดับหรือกาลังไฟฟ้าไม่เพียงพอ ข้อมูลที่เก็บไว้ก็จะหายหมด - หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน หน่วยความจาแบบนี้จะเก็บข้อมูลได้โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร 6.5.2.2 ตามสภาพการใช้งาน - หน่วยความจาอ่านอย่างเดียว (Read-Only Memory : ROM) หรือ รอม เป็นหน่วยความจาชนิดไม่ลบเลือน คือ ซีพียูสามารถอ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปได้ - หน่วยความจาเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory : RAM) หรือ แรม เป็นหน่วยความจาแบบลบเลือนได้ คือ สามารถเขียนหรืออ่านข้อมูลได้การเขียนหรืออ่านจะเลือกที่ตาแหน่งใดก็ได้ **** หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน แต่ยอมให้มีการแก้ไขหรือลบข้อมูลได้โดยกรรมวิธีพิเศษ เรียกว่า อีพร็อม (Erasable Programmabllle Read Only Memory : EPROM) 6.5.3 หน่วยความจารอง (Virtual Memory) มีเพื่อเพิ่มความสามารถในการจดจาของคอมพิวเตอร์ให้มากขึ้น ได้แก่ แผ่นบันทึกหรือแผ่นดิสก์ (Diskette) มีลักษณะเป็นแผ่นกลมแบนถูกเคลือบไว้ด้วยสารเหล็กออกไซด์เพื่อให้เกิด สนามแม่เหล็กได้ การอ่านข้อมูลของแผ่นดิสก์เวลาที่อ่านหัวอ่านจะแตกที่พื้นผิวของแผ่น ทาให้มีการเสื่อมคุณภาพได้ เมื่อใช้งานไปนาน ๆ แผ่นบันทึกในปัจจุบัน มีขนาด 5.25 นิ้ว และ 3.5 นิ้ว ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) การเก็บข้อมูลจะเก็บลงแผ่นโลหะอะลูมิเนียมที่เคลือบด้วยสารเหล็กออกไซด์ ฮาร์ดดิสก์สามารถจุ ข้อมูลได้มากกว่าและมีความเร็วกว่าฟลอปปี้ ดิสก์การบันทึกข้อมูลในฮาร์ดดิสก์จะแบ่งเป็นวงรอบเรียกว่า แทร็ก ซึ่งจะเก็บ ข้อมูลเป็นวงรอบหลาย ๆ วง การที่เราซื้อมาใหม่ ๆ นั้นก็เพื่อสร้างแทร็กนั่นเองและในแต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า เซ็กเตอร์ โดย 1 เซ็กเตอร์จะมีความจุเท่ากับ 512 ไบต์การอ่านข้อมูลของฮาร์ดดิสก์เวลาที่อ่านหัวอ่านจะไม่แตะที่ พื้นผิวของแผ่นแต่จะลอยสูงจากผิวประมาณ 4 ไมครอน ซึ่งถือว่าใกล้มากจนเกือบสัมผัส ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory : CDROM) เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่มีความเร็วในการใช้งานสูง และสามารถ เก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ซีดีรอมเป็นเทคโนโลยีจานแสง คือ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลนั้นหัวอ่านไม่ต้องสัมผัสกับ จานแต่จะใช้ลาแสงส่องและสะท้อนกลับ ซีดีรอมนี้สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อความ รูปภาพ เสียง และ ภาพวีดีโอ
  • 11. เวิร์ม (Write Once Read Many : WORM) เป็นสื่อชนิดที่มีการบรรทุกไม่มีการบันทึกใหม่ แต่จะมีการเรียกใช้หรืออ่าน ได้หลายครั้ง การที่จะเขียนข้อมูลลงแผ่นต้องใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ ตัวแผ่นเป็นโลหะและใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ เมนเฟรม 6.5.4 อุปกรณ์รับเข้า (Input Device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้าที่เป็นที่ รู้จักและนิยมใช้ได้ แก่ แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ทุกเครื่องจะต้องมีการรับข้อมูล คือ ผู้ใช้กดแป้นพิมพ์แล้วจึงแปลงรหัสเข้า สู่การประมวลผลต่อไป เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการใช้งานเพิ่มมากขึ้น เมาส์จะมีรูปร่างพอเหมาะกับมือ และมี ลูกกลิ้งอยู่ข้างล่าง โดยระบบคอมพิวเตอร์จะทางานสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของลูกกลิ้ง และรับคาสั่งจากการกดปุ่มเมาส์ สแกนเนอร์ (Scanner) จะทางานโดยการอ่านรูปภาพ แล้วแปรเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้าใจได้ 6.5.5 อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ใน ปัจจุบัน ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ผู้ใช้คุ้นเคยออกมากที่สุด ใช้แสดงผลในรูปของข้อความและรูปภาพ เริ่มแรกนั้น มีการนาเอาโทรทัศน์มาเป็นจอภาพสาหรับการแสดงผลแต่ผลที่ได้ไม่เป็นที่นาพอใจนัก จึงมีการผลิตจอขึ้นมา จอภาพนั้น มีหลายลักษณะซึ่งลักษณะที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คุ้นเคยและพบเห็นบ่อย ๆ ได้แก่ จอภาพแบบซีอาร์ที (Cathode ray tube : CRT) จะมีลักษณะจอโค้งนูน ลักษณการแสดงผลนั้นเริ่มแรกแสดงผลได้เฉพาะ เป็นตัวอักษรเท่านั้น แต่จะมีความละเอียดสูงเรียกว่า จอภาพแบบสีเดียว(Monochrome Display Adapter : MDA) ต่อมามีการ พัฒนาจอสี (Color Graphic Adapter : CGA) ซึ่งสามารถแสดงภาพสีและภาพกราฟิกได้ แต่แสดงตัวอักษรและตัวเลขได้มีดี เท่าจอแบบสีเดียว จอรุ่นต่อมาที่สามารถแสดงภาพกราฟิกได้ละเอียด และมีจานวนสีมากขึ้นเรียกว่า จอสีภาพละเอียด (Enhance Graphic Adapter : EGA) ส่วนจอสีภาพละเอียดพิเศษ (Video Graphic Array : VGA) เป็นจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก ปัจจุบันจอภาพที่ใช้ สาหรับงานคอมพิวเตอร์ในด้านการออกแบบจะใช้จอภาพ เอ็กซ์วีจีเอ (extra video graphic array : xvga) จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) เดิมเป็นจอภาพที่ใช้กับคิดเลขและนาฬิกาแต่ปัจจุบันจะพบได้ใน เครื่อง PC แบบพกพา จอภาพแบบนี้จะมีลักษณะแบนเรียบแบะบาง และ ได้พัฒนาให้การแสดงผลมีความละเอียดและ ได้ภาพที่ชัดเจน เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สาคัญรองลงมาจากจอภาพ เพราะจะแสดงผลลัพธ์ลงบนกระดาษทาให้ สะดวกต่อการใช้งาน โดยลักษณะของเครื่องพิมพ์ที่ใช้กันในปัจจุบันได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot – Matrix Printer) คุณภาพของงานพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ชนิดนี้ขึ้นอยู่กับจานวนจุดของเครื่อง เพราะผลที่ได้จากการพิมพ์จะมีลักษณะเป็นจุด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะมีราคาถูกเหมาะสาหรับงานพิมพ์ที่ไม่ต้องการความ ละเอียดมากนัก เครื่องพิมพ์แบบจุดนี้จัดเป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบ คือเวลาพิมพ์หัวพิมพ์จะกระทบกับผ้าหมึก เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก (Inkjet Printer) หลักการทางานคือ การฉีดหนึกลงบนกระดาษเป็นจุดเล็ก ๆ เพื่อให้ได้รูปแบบ งานพิมพ์ที่ต้องการงานพิมพ์ที่ได้จะมีความละเอียดกว่าเครื่องพิมพ์แบบจุดมากเครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกนี้จัดเป็น เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) หลักการทางานของเครื่องพิมพ์แบบนี้ จะใช้หลักการเดียวกันกับเครื่องถ่าย เอกสาร คือ ใช้แสงเลเซอร์ในการพิมพ์เรียกว่า LED (Light-Emit-ting Diode) และ LCS (Liquid Crystal Shutter) ซึ่งจะ พิมพ์งานออกทีละหน้า เราเรียกงานพิมพ์แบบนี้ว่า ppm (Page per minute) พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มักจะใช้ในงานเขียนแบบ หรืองนด้านกราฟิก
  • 12. 6.5.6 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ โมเด็ม (Modem) ย่อมาจาก Modulator – DeModulator ทาหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูล ประโยชน์ของโมเด็มเพื่อใช้ใน การสื่อสารระยะไกลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ต้องอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์ในการสื่อสารด้วย อัตราความเร็วในการ ส่งข้อมูลและโมเด็มมีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที โมเด็มสามารถรับและส่งได้ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความ ภาพและเสียง ลักษณะ ของโมเด็มมี 2 แบบ คือ 1. แบบ Internal คือ เป็นแผงวงจรเสียบเข้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. แบบ External ค เป็นอุปกรณ์ที่นามาต่อภายนอกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบนี้จะมีราคาสูงกว่าแบบ Internal 6.6 ระบบสื่อประสม (Multimedia) ระบบสื่อประสม คือ เป็นการทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแสดงได้หลาย ไ รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งจะเป็นการรวมเอาวิชาการหลาย ๆ สาขามาประยุกต์เข้าด้วยกัน ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้ในงาน ด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก เรียกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ผู้เรียนสามารถ เรียน ได้ตามความสามารถของแต่ละบุคคลโดยจะมีการโต้ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แสดงผลให้ผู้เรียนเห็นผ่านทาง จอภาพที่สาคัญเทคโนโลยีนี้สามารถใช้สื่อประสมหลาย ไ ชนิดเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง สื่อการเรียนรูปแบบนี้สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนได้มากขึ้น บทที่ 7 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 7.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ต่าง ไ เพื่อให้เกิดการทางานที่ประสานกันและเกิดการประมวลผล เรา สามารถแบ่งออกตามหน้าที่การทางานได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 7.1.1 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เป็นฮาร์ดแวร์ที่สาคัญที่สุดเพราะเป็นหัวใจของการ ทางาน เพราะซีพียูจะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ดดยรับคาสั่งหรือข้อมูลมาทาการ ประมวลผลแล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้ยังหน่วยแสดงผล หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithematic and Logic Unit : ALU) ทาหน้าที่ในการคานวณ หน่วยควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุมกลไกการทางานของระบบ ทั้งหมด 7.1.2 หน่วยความจา (Memory) หน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รับส่ง สัญญาณไฟฟ้าซึ่งจะมีสภาพเป็น เปิดและปิด โดยใช้รหัสเลขฐานสองคือเลข 0 และ 1 ซึ่งแต่ละตัวเรียกว่า บิต (Binary Digit : Bit) โดยที่อักษร 1 ตัวจะเกิดจากการรวมเลขฐานสอง 8 บิต ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 ไบต์ (Byte) ประเภทของหน่วยความจา แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ หน่วยความจาหลัก (Main Memory) คือ หน่วยความจาที่อยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและคาสั่ง ต่าง ๆ รวมถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลด้วย หน่วยความจาประเภทนี้สามารถแบ่งได้ดังนี้ ตามลักษณะของการเก็บข้อมูล จะแบ่งได้เป็น - หน่วยความจาแบบลบเลือนได้(Volatile Memory) - หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory) ตามสภาพการใช้งาน จะแบ่งได้เป็น - หน่วยความจาอ่านอย่างเดียว (Read-Only Memory : ROM) หรือ รอม - หน่วยความจาเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory : RAM) หรือ แรม หน่วยความจารอง (Secondary storage) หรือหน่วยความจาภายนอกเครื่อง คือ สื่อที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลหรือ โปรแกรมเพื่อเก็บไว้ใช้งานต่อไป การใช้หน่วยความจารองถือว่า เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจดจาข้อมูลของเครื่อง คอมพิวเตอร์ แต่ก็มีข้อจากัด เช่น เนื้อที่หรือความจุในการบันทึกมีจากัด
  • 13. 7.1.3 อุปกรณ์รับเข้า (Input Device) ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 7.1.4 อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล 7.2 ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นอย่างมีลาดับขั้นตอนเพื่อควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมนี้เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 7.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการควบคุมการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ซึ่งระบบปฏิบัติการนี้จะไปควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์รวมถึงการจัดสรร อุปกรณ์และทรัพยากรต่าง ๆ ภายในระบบให้ประสานกัน 7.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ โปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่าง หรือเฉพาะด้าน เช่น ด้านการคานวณ ด้าน การจัดทาเอกสาร ด้านการัดการฐานข้อมูล หรือ การทางานภายในโรงงานเป็นต้น การเรียนรู้ใช้งานก็ทาได้ง่ายประเภท ของซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ซอฟต์แวร์ทั่วไป หรือ ซอฟต์แวร์สาเร็จ (Software Packages) ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ไม่ได้มุ่งเน้นในการทางานใด ๆ เจาะจง มากมากนัก แต่ผู้ใช้จะต้องนาไปประยุกต์หรือปรับตามการทางานของตนเอง หรือนาไปพัฒนาเพื่อสร้างชิ้นงาน ราคาจึง ไม่สูงมากนัก ซอฟต์แวร์เฉพาะทาง ใช้สาหรับงานอย่างจาเพาะเจาะจง เช่น โปรแกรมบัญชี โปรแกรมสต๊อก เป็นต้น 7.3 ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การเก็บ รวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี ได้แก่ - มีความถูกต้อง - มีความเที่ยงตรงสามารถเชื่อถือได้ - มีความเป็นปัจจุบัน - สามารถตรวจสอบได้ - มีความสมบูรณ์ชัดเจน 7.4 บุคลากร (People) เป็นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ใช้อาจจะเป็นผู้มีความรู้หรือไม่มีความรู้ในการใช้ระบบเลยก็ได้เราจะเรียกกลุ่มผู้ใช้นี้ว่า End Users ซึ่งจะเป็นผู้มี อิทธิพลต่อทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการออกแบบพัฒนาก็จะต้องยึดความต้องการของผู้ใช้ เป็นหลัก กลุ่มนักคอมพิวเตอร์ เป็นกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่ในงานคอมพิวเตอร์ - ผู้อานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ จัดโครงการและวางแผนงานภายในหน่วยงาน - นักวิเคราะห์ระบบ มีหน้าที่วิเคราะห์เกี่ยวกับการออกแบบระบบงาน ตามความต้องการของผู้ใช้ให้มากที่สุด - โปรแกรมเมอร์ หรือนักเขียนโปรแกรม มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่ นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ - ผู้ควบคุมเครื่อง ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ - พนักงานจัดเตรียมข้อมูล ทาหน้าที่เตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานต่อได้ บทที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 8.1 การสื่อสารข้อมูล (data Communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและ ผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและ ผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน วิธีการส่งข้อมูลนี้ จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาฯหรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็ จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรคที่ เกิดขึ้น คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ข้อมูลบางส่วนเสียหายหรือผิดเพี้ยนไปได้ ส่วนประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
  • 14. 1. ตัวส่งข้อมูล 2. ช่องทางการส่งสัญญาณ 3. ตัวรับข้อมูล 8.2 การสื่อข้อมูลในระดับเครือข่าย มาตรฐานกลางที่ใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย คือ มาตรฐาน OSI (Open Systems Interconnection Mode) ซึ่งทาให้ทั้งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ สามารถ เชื่อมโยงและใช้งานในเครือข่ายได้ จุดมุ่งหมายของการกาหนดมาตรบาน OSI นี้ขึ้นมาก็เพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายและกาหนดหน้าที่ การทางานในแต่ละชั้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชั้น โดยมีหลักเกณฑ์ในการกาหนดมีดังต่อไปนี้ 1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกในแต่ละชั้นจนมากเกิดไป 2. แต่ละชั้นมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน 3. หน้าที่การทางานคล้ายกันจะถูกจัดให้อยู่ในชั้นเดียวกัน 4. เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลกระสบสาเร็จมาแล้ว 5. กาหนดหน้าที่การทางานเฉพาะง่าย ๆ เผื่อว่ามีการออกแบบหรือเปลี่ยนแปลงใหม่ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์จะได้ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงตาม 6. มีการกาหนดอินเตอร์เฟชมาตรฐาน 7. มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละชั้น 7 Application 6 Presentation 5 Session 4 Transport 3 Network 2 Data Link 1 Physical บทที่ 9 เทคโนโลยีสื่อสมัยใหม่ 9.1 อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อระบบต่าง ๆ จากทั่วทุกมุมโลกเขาด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น สถาบันการศึกษา องค์กร หน่วยงานทั้งราชการและเอกชน 9.1.1 ที่มาของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตถูกพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ.1969 ซึ่ง หน่วยงานที่ทาหน้าที่ดูแลเครือข่ายมีชื่อว่า ARPA (Advanced Research Project Agency) เครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้จึงเรียกว่า อาร์พาเน็ต เครือข่ายนี้สร้างขึ้นเพื่อการใช้งานทางด้านการทหาร โปรโตคอลที่ใช้ชื่อว่า DARPA ต่อมา ARPA ได้สร้าง มาตรฐานในการเชื่อมต่อขึ้นใหม่ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถติดต่อสื่อสารกัน จึงได้สร้างโปรโตคอลขึ้นมาใน ปัจจุบันที่เรียกว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) และเมื่อปี ค.ศ. 1989 มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อใน เครือข่ายมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า อินเทอร์เน็ต 9.1.2 อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย การใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2530 ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยลักษณะการเชื่อมต่อนั้นเป็นการเชื่อมต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ติดต่อกันเป็นครั้งคราว และ ใช้โมเด็มความเร็วเพียง 2,400 บิต ต่อวินาที เท่านั้น ต่อมาปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตโดย สมบูรณ์เป็นครั้งแรก โดยมีความเร็ว 9,600 บิตต่อวินาที และต่อมาศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติก็ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาภายในประเทศเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ โดยชื่อว่า ไทยสาร 9.1.3 ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต คือ สิ่งที่เราสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่งานของเราได้ได้แก่ 1. เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web : WWW) 2. โกเฟอร์ (Gopher) 3. เทลเน็ต (Telnet) 4. เวย์ส (wais , wide area information service)
  • 15. 5. อาร์ซี (archie) World Wide Web : WWW เป็นระบบอินเทอร์เน็ตโดยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลเอกสารจากแฟ้มข้อมูลในรูปข้อความหลายมิติ www มีคุณสมบัติดังนี้ - User-friendly ที่ทาให้ผู้ใช้สะดวกในการเลือกตัวเลือกต่าง ๆ บนหน้าจอ และเข้าถึงส่วนต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต - เอกสารในรูปมัลติมีเดีย - มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้และ Server Gopher เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาตั้งแต่ยังไม่มี www โดยมหาวิทยาลัยมินเนโศตา จุดประสงค์ก็เพื่อค้นหา สารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต Telnet เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันคล้ายกับการโทรศัพท์เข้าไปที่ เครื่อง WAIS เป็นเครื่องมือในการค้นหาฐานข้อมูลลนอินเตอร์เน็ต โดยระบบจะมีวิธีดาเนินการที่ทาให้ผู้ใช้เห็นว่ามี ฐานข้อมูลอยู่เพียงพอ Archieเป็นการค้นหาข้อมูลโดยใช้ขั้นตอนของการโยกย้ายบนแฟ้มข้อมูลผู้ใช้จะต้องเข้าไปค้นหาก่อนว่าข้อมูล ที่ตนเองต้องการเก็บอยู่สถานที่ใดจากนั้นจึงจะเข้าไปค้นหาที่สถานที่ที่ต้องการ 9.1.4 เว็บพราวเซอร์ (Web Browser) Web browser เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเลือกดูเอกสารในระบบ อินเตอร์เน็ตที่เป็น www ซึ่ง Web browser จะต้องเชื่อมต่อไปยัง เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือ โฮสต์ เพื่อเรียกข้อมูลที่ต้องการ 9.1.5 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต - ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า e-mail - แหล่งค้นคว้าของข้อมูลขนาดใหญ่ - แหล่งรวมโปรแกรมที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมต่าง ๆ - การถ่ายโอนข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ - ใช้สนทนาพูดคุยโต้ตอบกันโดยผ่านทางแป้ นพิมพ์ - แหล่งรวมความบันเทิงต่าง ๆ - เป็นเครื่องมือในการติดต่อซื้อขายทางธุรกิจ 9.1.6 ข้อจากัดและผลกระทบของอินเทอร์เน็ต ข้อจากัด - ทาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น - จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ ผลกระทบ - อาจทาให้มีปัญหาเกี่ยวกับสายตาได้ - หากใช้ไปในทางที่ไม่ถูกต้องก็เกิดผลเสียแต่ผู้ใช้เอง 9.1.7 ลักษณะการทางานของอินเตอร์เน็ต มาตรฐานที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถติดต่อสื่อสาร กันได้คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในปัจจุบัน คือ TCP/IP TCP/IP คือ ภาษากลางบนอินเตอร์เน็ต ทาให้เครื่องสามารถเข้าใจกันได้สิ่งที่ช่วยให้เรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ ละเครื่องก็คือ ไอพีแอดเดรส (IP Address) เป็นหมายเลขประจาตัวเครื่องแต่ละเครื่อง ซึ่งไม่ซ้ากันกับเครื่องอื่นในโลก โดยมีจุด (.) เป็นสัฯลักษณ์แบ่งตัวเลขเป็นชุดซึ่งแต่ละชุดมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 ความหมายของโดเมนเนม แบ่งออกเป็น 6 ประเภท 1. .com - กลุ่มองค์การค้า 2. .edu - กลุ่มการศึกษา 3. .mit - กลุ่มองค์การทหาร 4. .net - กลุ่มองค์การ บริการเครือข่าย 5. .org - กลุ่มองค์กรอื่น ๆ 6. .int - หน่วยงานที่ตั้งขึ้นโดยสัญญาหรือจ้อตกลงระหว่างประเทศ
  • 16. ความหมายของโดเมนเนมของประเทศไทย - .ac สถาบันการศึกษา - .co องค์กรธุรกิจ - .or องค์กรอื่น ๆ - .net ผู้วางระบบเน็ตเวิร์ก - .go หน่วยงานของรัฐบาล 9.1.8 รูปแบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต - อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตดังนี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ CPU Pentium 233 ขึ้นไป 2. หน่วยความจา 128 MB ขึ้นไป 3. ฮาร์ดดิสก์ความจุ 40 GB ขึ้นไป 4. จอภาพแบบ SVGA 5. โมเด็มความเร็วตั้งแต่ 56 kbps 6. โทรศัพท์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ 1 คู่สาย - การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้ทั่วไป - การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตสาหรับองค์กรที่มีผู้ใช้จานวนมาก - ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต 1. ISP หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสิ่งที่สาคัญคือ การจัดการอินเทอร์เน็ตมาใช้ ผู้ใช้จะต้องพิจารณาเลือก รายการที่ดีที่สุด 2. การใช้อินเทอร์เน็ตที่บ้าน จาเป็นจะต้องพิจารณาผู้ให้บริการ สิ่งที่ควรคานึงถึงในเลือกผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต คือ 1. ตรวจสอบดูว่ามีบริการใดให้บ้าง เพราะผู้ให้บริการบางรายให้บริการแต่ www แต่ไม่ให้บริการ e-mail 2. คู่สายโทรศัพท์มีเพียงพอกับจานวนผู้ใช้หรือไม่ 9.2 สานักงานอัตโนมัติ เป็นการนาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงาน ทาให้ - พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยทาง e-mail - การทางานไม่ว่าจะเป็นงานเอกสารหรืองานพิมพ์ต่าง ๆ สามารถบันทึกไว้เป็นแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ - การออกแบบต่าง ๆ - มีระบบฝากข้อความเสียง - การประชุมทางไกล 9.3 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้รับความสนใจมากที่สุด เพราะ EDI เป็นการ ส่งเอกสารธุรกิจหรือข้อมูลในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ไปยังผู้รับโดยผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของ EDI คือ ทาให้สะดวกรวดเร็วในการสื่อสาร ประหยัดแรงงานคนในการบันทึกข้อมูล และประหยัด ค่าใช้จ่ายในการทางาน 9.4 ทางด่วนข้อมูล เป็นเทคโนโลยีที่มีค่าใช้จ่ายสูงมาก สาหรับประเทศไทยก็ได้มีการดาเนินการไปบ้างแล้ว โดยการวาง เส้นใยแก้วนาแสงไปตามแนวทางรถไฟ เพื่อใช้ในการสื่อสารทางโทรศัพท์ 9.5 ระบบรักษาความปลอดภัย - สาหรับระบบคอมพิวเตอร์ควรมีกาลังไฟสารอง - สาหรับศูนย์คอมพิวเตอร์จะต้องมีการรักษาความปลอดภัย - ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ระมัดระวังเป็นพิเศษ - ข้อมูลจะต้องมีการสาเนาไว้ - มีการจากัดสิทธิผู้ใช้ระบบ