SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
การศึก ษาเรื่อ ง ระบบร่า งกฎหมายไทย



                       เสนอ
     อ า จ า ร ย ์ เ จ ร ิญ
                            ศ ร ี ศ ร ีแ ส   นยง

                          ีก า ร ศ ึก ษ า ๒ ๕ ๕ ๕
  ภ า ค เ ร ีย น ท ี่ ๒ ป

  โรงเรีย นเตรีย มอุด มศึก ษาพัฒ นาการ
                 ลำา ลูก กา
ผู้จ ัด ทำา


      นาย ทศพร ศรีแ ย้ม              เลขที่ ๑    ม .๕/๔
       นาย รฐนนท์ ศรีร ัต นมาศ        เลขที่ ๗    ม .๕/๔
       นาย อภิเ ชษฐ์ ศรีธ รานนท์      เลขที่ ๘    ม .๕/๔
       นาย เอกพล สีช มพู               เลขที่ ๙   ม .๕/๔
       นางสาว จุฬ ารัต น์ วงศ์โ สภา   เลขที่ ๒๙ ม .๕/๔
       นางสาว นีร นุช สัม พัน ธ์       เลขที่ ๓๐ ม .๕/๔
       นางสาว วิก านดา บุบ ผา          เลขที่ ๓๑ ม .๕/๔
       นางสาว อุษ ณย์ จริย ะกุล คุณ า เลขที่ ๓๒ ม .๕/๔
       นางสาว ชมชนก เมธาวนิช           เลขที่ ๓๓ ม .๕/๔
ุ
ว ัต ถ ป ระสงค์


a. เพื่อ ให้เ ข้า ใจถึง กฎหมายไทย

๒. ได้ร ู้ถ ึง ระบบร่า งกฎหมายไทย

๓. เพื่อ ใช้ใ นการดำา เนิน ชีว ิต ประจำา วัน อย่า ง
   ถูก ต้อ ง
บ่อ เกิด ของกฎหมาย
ความหมายของบ่อ เกิด ของ
           กฎหมาย

       บ่อเกิดของกฎหมายในภาษาอังกฤษเรียกว่า “Source of Law” หรือใน
ภาษาเยอรมันเรียกว่า “Rechtsquelle” มาจากรากศัพท์ดั้งเดิมนภาษาลาติน คือ
juris fons หรือ juris fonts คำาว่า “fons” หรือ “source” หมายถึงแหล่งที่นำ้าพุ่ง
ขึนมา บ่อเกิดของกฎหมายจึงเป็นคำาที่ใช้เปรียบเทียบให้เห็นภาพพจน์ว่าถ้าเรา
  ้
จะไปหานำ้าจะต้องไปหาที่แหล่งนำ้าหรือบ่อนำ้าก็จะได้นำ้าทำานองเดียวกันเมื่อเกิด
ปัญหาว่าใครถูกใครผิดในการพิจารณาคดีหรือข้อพิพาท ผู้ตัดสินคดีหรือ
ชี้ขาดข้อพิพาทก็จะต้องไปหากฎหมายมาตัดสิน มีป ัญ หาว่า จะไปหา
กฎหมายที่ไ หน คำา ตอบก็ค ือ จะต้อ งไปหาที่บ ่อ เกิด กฎหมาย บ่อเกิดใน
แง่นี้จึงหมายถึงแหล่งกำาเนิดกฎหมาย ถ้าผู้ตัดสินคดีไม่รู้จักบ่อเกิดกฎหมายก็จะ
หากฎหมายมาตัดสินคดีไม่ได้ บ่อเกิดของกฎหมายจึงเป็นคำาศัพท์เทคนิคทาง
กฎหมายโดยเฉพาะ (Terminus Technicus)
       บ่อเกิดของกฎหมายมีความหมายได้หลายความหมาย เพื่อความเข้าใจที่
ชัดเจนจึงแบ่งความหมายของบ่อเกิดของกฎหมายออกเป็น 3 ความหมาย
๑. ความหมายในแง่ต ้น ตอทางประวัต ิศ าสตร์
      เรียกว่า “บ่อเกิดทางประวัติศาสตร์” (Historical
     Source) บ่อเกิด
ของกฎหมายว่าหมายถึงต้นตอในทางประวัติศาสตร์ของ
     กฎหมายกลาง
คือ เนือหาของกฎหมายมาจากไหน มีความเป็นมาอย่างไร
       ้
๒ . ความหมายในแง่น ิต ิป รัช ญา
      เรียกว่า “บ่อเกิดทางปรัชญา” (Philosophical Source)
เป็นการมองกฎหมายในแง่ปรัชญาถึงต้นตอความคิดใน
กฎหมาย ซึ่งก็แตกต่างกันไปตามความคิดของนิติปรัชญาของ
แต่ละสำานักความคิด เช่น ความคิดลำานักกฎหมายธรรมชาติ
(Natural Law) บอกว่า “เหตุผ ล (Reason)” ซึ่งอยู่ใน
ความรู้สึกในจิตใจของคน เป็นบ่อเกิดของกฎหมายเป็นต้นตอ
ก่อให้เกิดกฎหมาย
ส่วนสำานักประวัติศาสตร์ Savigny ก็อธิบายว่า “จิต
วิญ ญาณประชาชาติ (Volksgeist)” คือความรู้ผิดชอบ
ชั่วดีอันเป็นอุปนิสัยของหมู่คนทั่วไปในสังคมแต่ละสังคมเป็น
บ่อเกิดของกฎหมาย และสำานักกฎหมายบ้านเมือง ดังนั้นความ
เป็นกฎหมายแท้ๆอยู่ที่ “อำา นาจ (Power)” คือ รัฏฐาปัตย์
รัฏฐาปัตย์จึงเป็นบ่อเกิดของกฎหมาย
๓ . ความหมายในแง่น ิต ิศ าสตร์โ ดยแท้
       เรียกว่า “บ่อเกิดทางกฎหมาย” (Legal Source) หมาย
ถึงคำาสอนที่ว่ากฎเกณฑ์อะไรที่ถือว่าเป็นกฎหมาย ซึ่งเป็น
คำาถามที่นักนิติศาสตร์จะต้องรู้และต้องตอบตามความหมายนี้
เป็นความหมายเทคนิคทางกฎหมาย (Terminus Technicus)
บ่อ เกิด ของกฎหมายในระบบกฎหมาย
                         ไทย


๑ . กฎหมายบัญ ญัต ิ หมายถึง กฎหมายที่เกิดขึ้นจาก
กระบวนการนิติบัญญัติ หรือกฎหมายลายลักษณ์อกษรโดยแท้
                                         ั
เดิมเคยเรียกว่า “กฎหมายส่ว นบัญ ญัต ิ ”

๒ . กฎหมายส่ว นที่ม ิไ ด้บ ัญ ญัต ิ หมายถึง กฎหมายที่มิได้เกิด
ขึ้นโดยกระบวนการนิติบัญญัติและไม่เป็นลายลักษณ์อกษร
                                                ั
หมายถึง “จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น” และ “หลักกฎหมาย
ทั่วไป”
บ่อ เกิด ประเภทกฎหมายบัญ ญัต ิ ิ
           บ่อ เกิด ประเภทกฎหมายบัญ ญัต


      กฎหมายบัญญัติ (enacted law) cted law) หรือ
กฎหมายบัญญัติ (Gesetztes Rechct) หรือที่มักนิยมเรียก
ว่า กฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (jus scriptum) เพราะอยู่
ในรูปแบบของกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ตาม ป.พ.พ
มาตรา ๔ กฎหมายลายลักษณ์อกษรเป็นบ่อเกิดที่สำาคัญที่สุด
                            ั
และจะต้องใช้กอนเกิดประเภทอื่น
             ่
๑. ข้อ พิจ ารณาความเป็น กฎหมายของกฎหมาย
               ลายลัก ษณ์อ ัก ษร

๑.๑ ผู้บ ัญ ญัต ิก ฎหมายมีอ ำา นาจโดยชอบธรรมหรือ ไม่
       อำานาจในการตรากฎหมายย่อมแตกต่างกันไปตามยุคตาม
สมัย ในประเทศที่เป็นประชาธิปไตยกฎหมายจะต้องตามมาโดย
รัฐสภาซึ่งเป็นตัวแทนของประชาชนทั่วประเทศ

๑.๒ การบัญ ญัต ิต ามกฎหมายได้ก ระทำา ถูก ต้อ งตามวิธ ีก าร
หรือ กระบวนการหรือ ไม่
         พิธีการหรือกระบวนการบัญญัติกฎหมายจะต้องการทำา
อย่างไร พิจารณาตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแต่ละประเทศ ซึ่งระบุไว้
ว่า การบัญญัติกฎหมายจะต้องปฏิบัติอย่างไร ใครเป็นผู้เสนอ ใคร
เป็นผู้พิจารณา
๑.๓ การประกาศใช้ก ฎหมายได้ก ระทำา โดยชอบธรรม
       เนื่องจากกฎหมายที่ออกมานั้นจะใช้บังคับประชาชน
ทั้งหมดในสังคมจึงจำาเป็นที่จะต้องให้ประชาชนได้รับรู้เสียก่อน
กฎหมายจะมีผลบังคับใช้จะต้องมีการประกาศเป็นหลักการที่
ยอมรับกันโดยทั่วไป ในประเทศไทยโดยปกติกำาหนดให้ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา

๑.๔ มีก ฎหมายอื่น มาเปลี่ย นแปลงยกเลิก หรือ ไม่
        แม้จะเป็นกฎหมายแล้วแต่หากมีกฎหมายอื่นออกมา
เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกกฎหมายนั้นไปโดยชอบก็ทำาให้กฎหมาย
นั้นใช้บังคับไม่ได้
 
๒. กฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทต่างๆ


 ๒.๑ กฎหมายนิต ิบ ญ ญัต ิ
                     ั
         กฎหมายนิติบญญัติเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายนิติบญญัติ
                         ั                                    ั
 ได้แก่ พระราชบัญ ญัต ิ (พ.ร.บ.) พระราชบัญญัติจึงถือว่าเป็น
 “กฎหมายโดยแท้” เพราะออกมาโดยองค์ที่ทำาหน้าที่นิติบัญญัติตาม
 บทบัญญัติโดยตรง เมือรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้วจะต้องนำาขึน
                       ่                                    ้
 ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมือ     ่
 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วจึงมีผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย

 ๒.๒ กฎหมายบริห ารบัญ ญัต ิ
          กฎหมายบริหารบัญญัติเป็นกฎหมายซึ่งตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
 จึงต้องถือว่าเป็น “กฎหมายยกเว้น”เพราะโดยปกติฝายบริหารไม่มหน้าที่
                                              ่           ี
 ออกกฎหมายโดยตรงในการตรากฎหมายเป็นอำานาจของฝ่าย
 นิติบญญัติโดยเฉพาะ
      ั
กฎหมายบริหารบัญญัติในระบบกฎหมายไทยแบ่ง
ได้เป็น ๒ ประเภทคือ พระราชกำา หนด ซึ่งมีค่าบังคับเท่ากับ
พระราชบัญญัติและ กฎหมายลำา ดับ รอง ซึ่งมีค่าบังคับตำ่า
กว่าพระราชบัญญัติ


    พระราชกำา หนด (พ.ร.ก)

       พระราชกำาหนดคือกฎหมายบริหารบัญญัติซึ่งฝ่าย
บริหาร คือคณะรัฐมนตรีได้รับอำานาจจากรัฐธรรมนูญให้ตรา
กฎหมายแทนฝ่ายนิติบัญญัติ พระราชกำาหนดจึงมีค่าบังคับท่า
กับพระราชบัญญัติ และอาจแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกพระราช
บัญญัติได้
กรณีพิเศษที่รัฐธรรมนูญไทยส่วนใหญ่กำาหนดเงื่อนไข
ให้ฝ่ายบริหารตราพระราชกำาหนดมี ๒ กรณีคือ

      ๑. ในกรณีฉุกเฉินทีมีความจำาเป็นรีบด่วน ในอันที่จะ
                        ่
รักษาความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ
หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องกันภัย
พิบัติสาธารณะ

      ๒. ในระหว่างสมัยประชุมของรัฐสภามีความจำาเป็น
ต้องมีกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา
กฎหมายลำาดับรอง (Subordinate
         legislation)


      กฎหมายลำาดับรองเป็นกฎหมายที่ฝ่ายบริหารได้รับมอบ
อำานาจจากฝ่ายนิติบัญญัติให้ตราบทบัญญัติกำาหนดหลักเกณฑ์
      การตรากฎหมายลำาดับรองประเภทต่างๆจะต้องอ้างถึง
อำานาจของกฎหมายแม่บทที่มอบอำานาจฉบับนั้นๆ เสมอ การตรา
กฎหมายลำาดับรองของฝ่ายบริหาร จึงถูกจำากัดอำานาจโดย
กฎหมายแม่บท (พระราชบัญญัติหรือพระราชกำาหนด)
      กฎหมายลำาดับรองในรูปแบบต่างๆมีดังต่อไปนี้
๑. พระราชกฤษฎีก า (พ.ร.ฎ.)
       พระราชกฤษฎีกาเป็นกฎหมายที่สร้างขึ้นโดยฝ่าย
บริหารเพื่อใช้ในการจัดระเบียบบริหารราชการ

๒. กฎกระทรวง
       กฎกระทรวงเป็นกฎหมายลำาดับรองที่ตราขึ้นโดย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราช
บัญญัติซึ่งเป็นกฎหมายแม่บท
       กฎกระทรวงหรือกฎทบวงตราขึ้นโดยอำานาจบริหาร
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเช่นเดียวกับพระราช
กฤษฎีกา
๓ . ประกาศกระทรวง
        ประกาศกระทรวงเป็นประกาศที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงเป็นผู้ออกเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามพระราช
บัญญัติ

๔ . ข้อ บัง คับ ต่า งๆ
        ข้อบังคับเป็นกฎเกณฑ์ซึ่งพระราชบัญญัติหรือพระราช
กำาหนดให้อำานาจแก่องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองหรือเจ้า
พนักงานตามกฎหมายหรือคณะกรรมการซึ่งตั้งขึ้นตาม
กฎหมายเพื่อวางข้อกำาหนดเกียวกับหลักเกณฑ์ วิธการ หรือ
                           ่                  ี
เงื่อนไข
๒.๓ กฎหมายองค์ก ารบัญ ญัต ิ (Verordnung)
         กฎหมายองค์การบัญญัติเป็นกฎหมายซึ่งออกโดย
องค์การมหาชนที่มีอำานาจอิสระ (autonomy) กล่าวคือ มี
อำานาจปกครองตนเองภายในขอบเขตที่กฎหมายกำาหนดไว้
องค์การปกครองตนเองในปัจจุบันนี้ ได้แก่ เทศบาล องค์การ
บริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำาบล กรุงเทพมหานคร
และเมืองพัทยา องค์การปกครองตนเองเล่านีซึ่งตามกฎหมาย
                                        ้
เรียกว่า
“ราชการบริห ารส่ว นท้อ งถิ่น ”
๓. ลำา ดับ ชั้น ของกฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (Hierarchy of
๓. ลำา ดับ ชั้น ของกฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (Hierarchy of
                         Law)
                          Law)


        กฎหมายลายลักษณ์อักษรมีอยู่ดวยกันหลายรูปแบบด้วยกัน
                                      ้
แต่กฎหมายแต่ละรูปแบบนั้นหาได้มคาบังคับเท่ากันไม่ กฎหมายที่อยู่
                                  ี ่
ในลำาดับชั้นตำ่ากว่าจะขัดแย้งกับกฎหมายที่อยู่ในลำาดับชั้นสูงกว่าไม่
ได้
        กฎหมายรัฐ ธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดเป็นแม่บทของ
กฎหมายทั้งหลาย ดังนั้นกฎหมายทุกประเภทจะออกมาขัดหรือแย้งกับ
รัฐธรรมนูญมิได้
        พระราชบัญ ญัต ิ เป็นกฎหมายที่มีลำาดับรองจากรัฐธรรมนูญ
เพราะเป็นกฎหมายทีออกมาโดยอาศัยอำานาจของรัฐธรรมนูญโดยตรง
                     ่
พระราชกฤษฎีก า เป็นกฎหมายได้ 2 กรณีคือ พระราช
กฤษฎีกาออกโดยอาศัยอำานาจรัฐธรรมนูญและพระราชกฤษฎีกาที่ออก
โดยอาศัยอำานาจตามกฎหมายอืน พระราชกฤษฎีกาจึงขัดกับ
                          ่
รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอืน
                      ่

      กฎกระทรวง เป็นกฎหมายที่ออกมาโดยอาศัยแม่บท คือ พระ
ราชบัญญัติ หรือพระราชกำาหนดเพือบัญญัติเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ
                               ่
ของกฎหมายแม่บท และเมื่ออาศัยกฎหมายต่างๆเป็นแม่บทแล้ว กฎ
กระทรวงก็จะขัดต่อกฎหมายที่เป็นแม่บทไม่ได้

       กฎหมายองค์ก ารบัญ ญัต ิ เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดย
องค์การมหาชนอิสระ ได้แก่ ข้อบัญญัติทองถินต่างๆ เช่น เทศบัญญัติ
                                      ้ ่
ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเหล่านี้
สวัสดีค่ะ

Contenu connexe

Tendances

ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550Parun Rutjanathamrong
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550Poramate Minsiri
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 

Tendances (20)

ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบงานสารบรรณระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบงานสารบรรณ
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 

Similaire à ระบบร่างกฎหมายไทย Is

กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909CUPress
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1PolCriminalJustice
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdfssuser04a0ab
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์Chor Chang
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์Chor Chang
 

Similaire à ระบบร่างกฎหมายไทย Is (20)

T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
doc_ago3.pdf
doc_ago3.pdfdoc_ago3.pdf
doc_ago3.pdf
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
 
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
ข้อเสนอแก้ ๑๑๒ ฉบับรณรงค์
 

ระบบร่างกฎหมายไทย Is

  • 1. การศึก ษาเรื่อ ง ระบบร่า งกฎหมายไทย เสนอ อ า จ า ร ย ์ เ จ ร ิญ ศ ร ี ศ ร ีแ ส นยง ีก า ร ศ ึก ษ า ๒ ๕ ๕ ๕ ภ า ค เ ร ีย น ท ี่ ๒ ป โรงเรีย นเตรีย มอุด มศึก ษาพัฒ นาการ ลำา ลูก กา
  • 2. ผู้จ ัด ทำา นาย ทศพร ศรีแ ย้ม เลขที่ ๑ ม .๕/๔ นาย รฐนนท์ ศรีร ัต นมาศ เลขที่ ๗ ม .๕/๔ นาย อภิเ ชษฐ์ ศรีธ รานนท์ เลขที่ ๘ ม .๕/๔ นาย เอกพล สีช มพู เลขที่ ๙ ม .๕/๔ นางสาว จุฬ ารัต น์ วงศ์โ สภา เลขที่ ๒๙ ม .๕/๔ นางสาว นีร นุช สัม พัน ธ์ เลขที่ ๓๐ ม .๕/๔ นางสาว วิก านดา บุบ ผา เลขที่ ๓๑ ม .๕/๔ นางสาว อุษ ณย์ จริย ะกุล คุณ า เลขที่ ๓๒ ม .๕/๔ นางสาว ชมชนก เมธาวนิช เลขที่ ๓๓ ม .๕/๔
  • 3. ุ ว ัต ถ ป ระสงค์ a. เพื่อ ให้เ ข้า ใจถึง กฎหมายไทย ๒. ได้ร ู้ถ ึง ระบบร่า งกฎหมายไทย ๓. เพื่อ ใช้ใ นการดำา เนิน ชีว ิต ประจำา วัน อย่า ง ถูก ต้อ ง
  • 5. ความหมายของบ่อ เกิด ของ กฎหมาย บ่อเกิดของกฎหมายในภาษาอังกฤษเรียกว่า “Source of Law” หรือใน ภาษาเยอรมันเรียกว่า “Rechtsquelle” มาจากรากศัพท์ดั้งเดิมนภาษาลาติน คือ juris fons หรือ juris fonts คำาว่า “fons” หรือ “source” หมายถึงแหล่งที่นำ้าพุ่ง ขึนมา บ่อเกิดของกฎหมายจึงเป็นคำาที่ใช้เปรียบเทียบให้เห็นภาพพจน์ว่าถ้าเรา ้ จะไปหานำ้าจะต้องไปหาที่แหล่งนำ้าหรือบ่อนำ้าก็จะได้นำ้าทำานองเดียวกันเมื่อเกิด ปัญหาว่าใครถูกใครผิดในการพิจารณาคดีหรือข้อพิพาท ผู้ตัดสินคดีหรือ ชี้ขาดข้อพิพาทก็จะต้องไปหากฎหมายมาตัดสิน มีป ัญ หาว่า จะไปหา กฎหมายที่ไ หน คำา ตอบก็ค ือ จะต้อ งไปหาที่บ ่อ เกิด กฎหมาย บ่อเกิดใน แง่นี้จึงหมายถึงแหล่งกำาเนิดกฎหมาย ถ้าผู้ตัดสินคดีไม่รู้จักบ่อเกิดกฎหมายก็จะ หากฎหมายมาตัดสินคดีไม่ได้ บ่อเกิดของกฎหมายจึงเป็นคำาศัพท์เทคนิคทาง กฎหมายโดยเฉพาะ (Terminus Technicus) บ่อเกิดของกฎหมายมีความหมายได้หลายความหมาย เพื่อความเข้าใจที่ ชัดเจนจึงแบ่งความหมายของบ่อเกิดของกฎหมายออกเป็น 3 ความหมาย
  • 6. ๑. ความหมายในแง่ต ้น ตอทางประวัต ิศ าสตร์ เรียกว่า “บ่อเกิดทางประวัติศาสตร์” (Historical Source) บ่อเกิด ของกฎหมายว่าหมายถึงต้นตอในทางประวัติศาสตร์ของ กฎหมายกลาง คือ เนือหาของกฎหมายมาจากไหน มีความเป็นมาอย่างไร ้
  • 7. ๒ . ความหมายในแง่น ิต ิป รัช ญา เรียกว่า “บ่อเกิดทางปรัชญา” (Philosophical Source) เป็นการมองกฎหมายในแง่ปรัชญาถึงต้นตอความคิดใน กฎหมาย ซึ่งก็แตกต่างกันไปตามความคิดของนิติปรัชญาของ แต่ละสำานักความคิด เช่น ความคิดลำานักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) บอกว่า “เหตุผ ล (Reason)” ซึ่งอยู่ใน ความรู้สึกในจิตใจของคน เป็นบ่อเกิดของกฎหมายเป็นต้นตอ ก่อให้เกิดกฎหมาย ส่วนสำานักประวัติศาสตร์ Savigny ก็อธิบายว่า “จิต วิญ ญาณประชาชาติ (Volksgeist)” คือความรู้ผิดชอบ ชั่วดีอันเป็นอุปนิสัยของหมู่คนทั่วไปในสังคมแต่ละสังคมเป็น บ่อเกิดของกฎหมาย และสำานักกฎหมายบ้านเมือง ดังนั้นความ เป็นกฎหมายแท้ๆอยู่ที่ “อำา นาจ (Power)” คือ รัฏฐาปัตย์ รัฏฐาปัตย์จึงเป็นบ่อเกิดของกฎหมาย
  • 8. ๓ . ความหมายในแง่น ิต ิศ าสตร์โ ดยแท้ เรียกว่า “บ่อเกิดทางกฎหมาย” (Legal Source) หมาย ถึงคำาสอนที่ว่ากฎเกณฑ์อะไรที่ถือว่าเป็นกฎหมาย ซึ่งเป็น คำาถามที่นักนิติศาสตร์จะต้องรู้และต้องตอบตามความหมายนี้ เป็นความหมายเทคนิคทางกฎหมาย (Terminus Technicus)
  • 9. บ่อ เกิด ของกฎหมายในระบบกฎหมาย ไทย ๑ . กฎหมายบัญ ญัต ิ หมายถึง กฎหมายที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการนิติบัญญัติ หรือกฎหมายลายลักษณ์อกษรโดยแท้ ั เดิมเคยเรียกว่า “กฎหมายส่ว นบัญ ญัต ิ ” ๒ . กฎหมายส่ว นที่ม ิไ ด้บ ัญ ญัต ิ หมายถึง กฎหมายที่มิได้เกิด ขึ้นโดยกระบวนการนิติบัญญัติและไม่เป็นลายลักษณ์อกษร ั หมายถึง “จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น” และ “หลักกฎหมาย ทั่วไป”
  • 10. บ่อ เกิด ประเภทกฎหมายบัญ ญัต ิ ิ บ่อ เกิด ประเภทกฎหมายบัญ ญัต กฎหมายบัญญัติ (enacted law) cted law) หรือ กฎหมายบัญญัติ (Gesetztes Rechct) หรือที่มักนิยมเรียก ว่า กฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (jus scriptum) เพราะอยู่ ในรูปแบบของกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร ตาม ป.พ.พ มาตรา ๔ กฎหมายลายลักษณ์อกษรเป็นบ่อเกิดที่สำาคัญที่สุด ั และจะต้องใช้กอนเกิดประเภทอื่น ่
  • 11. ๑. ข้อ พิจ ารณาความเป็น กฎหมายของกฎหมาย ลายลัก ษณ์อ ัก ษร ๑.๑ ผู้บ ัญ ญัต ิก ฎหมายมีอ ำา นาจโดยชอบธรรมหรือ ไม่ อำานาจในการตรากฎหมายย่อมแตกต่างกันไปตามยุคตาม สมัย ในประเทศที่เป็นประชาธิปไตยกฎหมายจะต้องตามมาโดย รัฐสภาซึ่งเป็นตัวแทนของประชาชนทั่วประเทศ ๑.๒ การบัญ ญัต ิต ามกฎหมายได้ก ระทำา ถูก ต้อ งตามวิธ ีก าร หรือ กระบวนการหรือ ไม่ พิธีการหรือกระบวนการบัญญัติกฎหมายจะต้องการทำา อย่างไร พิจารณาตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแต่ละประเทศ ซึ่งระบุไว้ ว่า การบัญญัติกฎหมายจะต้องปฏิบัติอย่างไร ใครเป็นผู้เสนอ ใคร เป็นผู้พิจารณา
  • 12. ๑.๓ การประกาศใช้ก ฎหมายได้ก ระทำา โดยชอบธรรม เนื่องจากกฎหมายที่ออกมานั้นจะใช้บังคับประชาชน ทั้งหมดในสังคมจึงจำาเป็นที่จะต้องให้ประชาชนได้รับรู้เสียก่อน กฎหมายจะมีผลบังคับใช้จะต้องมีการประกาศเป็นหลักการที่ ยอมรับกันโดยทั่วไป ในประเทศไทยโดยปกติกำาหนดให้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ๑.๔ มีก ฎหมายอื่น มาเปลี่ย นแปลงยกเลิก หรือ ไม่ แม้จะเป็นกฎหมายแล้วแต่หากมีกฎหมายอื่นออกมา เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกกฎหมายนั้นไปโดยชอบก็ทำาให้กฎหมาย นั้นใช้บังคับไม่ได้  
  • 13. ๒. กฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทต่างๆ ๒.๑ กฎหมายนิต ิบ ญ ญัต ิ ั กฎหมายนิติบญญัติเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายนิติบญญัติ ั ั ได้แก่ พระราชบัญ ญัต ิ (พ.ร.บ.) พระราชบัญญัติจึงถือว่าเป็น “กฎหมายโดยแท้” เพราะออกมาโดยองค์ที่ทำาหน้าที่นิติบัญญัติตาม บทบัญญัติโดยตรง เมือรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้วจะต้องนำาขึน ่ ้ ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมือ ่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วจึงมีผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย ๒.๒ กฎหมายบริห ารบัญ ญัต ิ กฎหมายบริหารบัญญัติเป็นกฎหมายซึ่งตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร จึงต้องถือว่าเป็น “กฎหมายยกเว้น”เพราะโดยปกติฝายบริหารไม่มหน้าที่ ่ ี ออกกฎหมายโดยตรงในการตรากฎหมายเป็นอำานาจของฝ่าย นิติบญญัติโดยเฉพาะ ั
  • 14. กฎหมายบริหารบัญญัติในระบบกฎหมายไทยแบ่ง ได้เป็น ๒ ประเภทคือ พระราชกำา หนด ซึ่งมีค่าบังคับเท่ากับ พระราชบัญญัติและ กฎหมายลำา ดับ รอง ซึ่งมีค่าบังคับตำ่า กว่าพระราชบัญญัติ พระราชกำา หนด (พ.ร.ก) พระราชกำาหนดคือกฎหมายบริหารบัญญัติซึ่งฝ่าย บริหาร คือคณะรัฐมนตรีได้รับอำานาจจากรัฐธรรมนูญให้ตรา กฎหมายแทนฝ่ายนิติบัญญัติ พระราชกำาหนดจึงมีค่าบังคับท่า กับพระราชบัญญัติ และอาจแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกพระราช บัญญัติได้
  • 15. กรณีพิเศษที่รัฐธรรมนูญไทยส่วนใหญ่กำาหนดเงื่อนไข ให้ฝ่ายบริหารตราพระราชกำาหนดมี ๒ กรณีคือ ๑. ในกรณีฉุกเฉินทีมีความจำาเป็นรีบด่วน ในอันที่จะ ่ รักษาความปลอดภัยของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องกันภัย พิบัติสาธารณะ ๒. ในระหว่างสมัยประชุมของรัฐสภามีความจำาเป็น ต้องมีกฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา
  • 16. กฎหมายลำาดับรอง (Subordinate legislation) กฎหมายลำาดับรองเป็นกฎหมายที่ฝ่ายบริหารได้รับมอบ อำานาจจากฝ่ายนิติบัญญัติให้ตราบทบัญญัติกำาหนดหลักเกณฑ์ การตรากฎหมายลำาดับรองประเภทต่างๆจะต้องอ้างถึง อำานาจของกฎหมายแม่บทที่มอบอำานาจฉบับนั้นๆ เสมอ การตรา กฎหมายลำาดับรองของฝ่ายบริหาร จึงถูกจำากัดอำานาจโดย กฎหมายแม่บท (พระราชบัญญัติหรือพระราชกำาหนด) กฎหมายลำาดับรองในรูปแบบต่างๆมีดังต่อไปนี้
  • 17. ๑. พระราชกฤษฎีก า (พ.ร.ฎ.) พระราชกฤษฎีกาเป็นกฎหมายที่สร้างขึ้นโดยฝ่าย บริหารเพื่อใช้ในการจัดระเบียบบริหารราชการ ๒. กฎกระทรวง กฎกระทรวงเป็นกฎหมายลำาดับรองที่ตราขึ้นโดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราช บัญญัติซึ่งเป็นกฎหมายแม่บท กฎกระทรวงหรือกฎทบวงตราขึ้นโดยอำานาจบริหาร โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเช่นเดียวกับพระราช กฤษฎีกา
  • 18. ๓ . ประกาศกระทรวง ประกาศกระทรวงเป็นประกาศที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเป็นผู้ออกเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามพระราช บัญญัติ ๔ . ข้อ บัง คับ ต่า งๆ ข้อบังคับเป็นกฎเกณฑ์ซึ่งพระราชบัญญัติหรือพระราช กำาหนดให้อำานาจแก่องค์กรเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองหรือเจ้า พนักงานตามกฎหมายหรือคณะกรรมการซึ่งตั้งขึ้นตาม กฎหมายเพื่อวางข้อกำาหนดเกียวกับหลักเกณฑ์ วิธการ หรือ ่ ี เงื่อนไข
  • 19. ๒.๓ กฎหมายองค์ก ารบัญ ญัต ิ (Verordnung) กฎหมายองค์การบัญญัติเป็นกฎหมายซึ่งออกโดย องค์การมหาชนที่มีอำานาจอิสระ (autonomy) กล่าวคือ มี อำานาจปกครองตนเองภายในขอบเขตที่กฎหมายกำาหนดไว้ องค์การปกครองตนเองในปัจจุบันนี้ ได้แก่ เทศบาล องค์การ บริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำาบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา องค์การปกครองตนเองเล่านีซึ่งตามกฎหมาย ้ เรียกว่า “ราชการบริห ารส่ว นท้อ งถิ่น ”
  • 20. ๓. ลำา ดับ ชั้น ของกฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (Hierarchy of ๓. ลำา ดับ ชั้น ของกฎหมายลายลัก ษณ์อ ัก ษร (Hierarchy of Law) Law) กฎหมายลายลักษณ์อักษรมีอยู่ดวยกันหลายรูปแบบด้วยกัน ้ แต่กฎหมายแต่ละรูปแบบนั้นหาได้มคาบังคับเท่ากันไม่ กฎหมายที่อยู่ ี ่ ในลำาดับชั้นตำ่ากว่าจะขัดแย้งกับกฎหมายที่อยู่ในลำาดับชั้นสูงกว่าไม่ ได้ กฎหมายรัฐ ธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดเป็นแม่บทของ กฎหมายทั้งหลาย ดังนั้นกฎหมายทุกประเภทจะออกมาขัดหรือแย้งกับ รัฐธรรมนูญมิได้ พระราชบัญ ญัต ิ เป็นกฎหมายที่มีลำาดับรองจากรัฐธรรมนูญ เพราะเป็นกฎหมายทีออกมาโดยอาศัยอำานาจของรัฐธรรมนูญโดยตรง ่
  • 21. พระราชกฤษฎีก า เป็นกฎหมายได้ 2 กรณีคือ พระราช กฤษฎีกาออกโดยอาศัยอำานาจรัฐธรรมนูญและพระราชกฤษฎีกาที่ออก โดยอาศัยอำานาจตามกฎหมายอืน พระราชกฤษฎีกาจึงขัดกับ ่ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอืน ่ กฎกระทรวง เป็นกฎหมายที่ออกมาโดยอาศัยแม่บท คือ พระ ราชบัญญัติ หรือพระราชกำาหนดเพือบัญญัติเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ่ ของกฎหมายแม่บท และเมื่ออาศัยกฎหมายต่างๆเป็นแม่บทแล้ว กฎ กระทรวงก็จะขัดต่อกฎหมายที่เป็นแม่บทไม่ได้ กฎหมายองค์ก ารบัญ ญัต ิ เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดย องค์การมหาชนอิสระ ได้แก่ ข้อบัญญัติทองถินต่างๆ เช่น เทศบัญญัติ ้ ่ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเหล่านี้