SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  183
Télécharger pour lire hors ligne
TP M
TOTAL PRODUCTIVE
MAINTENANCE
การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม
                               ่




                          สมพร บุญนวล
                          อดิศร สิงหกาญจน์
ความเปลียนแปลงสัมผัสได้ทีหน้างาน
พัฒนาคน เพือมาพัฒนาเครืองจักร
คํานํา

         หลังจากปี   2553 จนมาถึงปั จจุบนระบบรางในประเทศไทยได้ถูกหน่วยงาน
                                        ั
ภาคเอกชนภาครัฐและประชาชนสื* อต่างๆเฝ้ ามองมากมาย ว่ามีความสําคัญต่อการ
พัฒนาประเทศ            การเปลี*ยนแปลงได้เกิดขึ3นมากมายกับการรถไฟฯ                      รวมถึง
งบประมาณต่างๆที*ไหลบ่ามาที*การรถไฟฯ จนผูปฏิบติเองยังไม่สามารถตอบสนอง
                                        ้ ั
ความต้องการที*ภาครัฐหยิบยืนให้ได้อย่างทันท่วงที
                          *                                 ในความคาดหวังของภาครัฐ
แล้วการเฝ้ ามองการรถไฟฯ ที*เปรี ยบเสมือนคนป่ วยที*ตองได้รับการดูแลเป็ นพิเศษ
                                                   ้
กลายเป็ นภาระที*หนักของพนักงานการรถไฟ ที*ตองปรับตัวให้ความสําคัญต่อการ
                                          ้
เปลี*ยนแปลงและลงมือปรับปรุ งแนวทางการบริ หารจัดการที*ยงล้าสมัยอิงกับระบบ
                                                      ั
ปฏิบติงานเหมือนเมื*อครั3งที*ยงเป็ นราชการอยู่ ระบบระเบียบแบบแผนเก่าๆที*ยงไม่
    ั                        ั                                          ั
สามารถสลัดออกจากองค์กรได้กลายเป็ นพันธะผูกพันธุ์                    จนทําให้คนในองค์กร
ขาดความเชื*อมันในการก้าวเดินไปสู่การเปลี*ยนแปลงใหม่ได้ ในอนาคต
              *
         แนวทางในการพัฒนาองค์กร ฝ่ ายการช่างกล ได้เริ* มปรับตัวขึ3นเพือรับต่อ
                                                                      *
การเปลี*ยนแปลง ปี    2553 ฝ่ ายการช่างกลเริ* มสนใจที*จะนําทฤษฎีระบบบริ หารจัดการ
ซ่อมบํารุ งแบบทวีผลที*ทุกคนมีส่วนร่ วม(TPM:       Total Productive Maintenance)          เข้ามา
บริ หารจัดการในงานซ่อมบํารุ ง แต่ก็ยงเป็ นเรื* องยากที*จะให้ทุกคนเข้าใจถึงแนวทาง
                                    ั
ในการปฏิบติ เนื*องจากทฤษฎีจะให้ความสําคัญกับทุกคนหรื อทีม มากกว่า ใครคน
         ั
ใดคนหนึ*ง การทํางานที*เน้นเป็ นระบบ เน้นการทํางานเป็ นทีม มีแบบแผน ที*
ชัดเจน      การที*จะปรับตัวไปสู่การเป็ นทีมได้จึงต้องมีการศึกษาทฤษฎีการบริ หาร
จัดการที*ถูกต้อง การซ่อมบํารุ งรถจักรหรื อล้อเลื*อนหรื ออุปกรณ์ส่วนควบ ของฝ่ าย

                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
่
การช่างกลที*ผาน มีระบบการบริ หารจัดการ แบบการซ่อมบํารุ งรักษาเชิงป้ องกัน
(PM:Preventive Maintenance)     และการซ่อมบํารุ งเชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance)
แต่ในแนวทางปฏิบติ ยังไม่สามารถ ทําได้อย่างเต็มที* จากสาเหตุและปั จจัยหลาย
               ั
อย่าง            ในขณะที*สถานการณ์ความต้องการใช้รถจักรยังคงเท่าเดิม แต่สภาพ
เครื* องจักรหรื อรถจักรกลับเก่าลงตามสภาพเงื*อนไขการใช้งาน การซ่อมบํารุ งรักษา
แบบทวีผลอาจเป็ นแนวทางหรื อหนทางที*จะช่วยพยุงการซ่อมบํารุ งรักษาอุปกรณ์รถ
จักรล้อเลื*อนต่างๆให้ดีข3 นโดยผ่ านการทํางานเป็ นที ม และการจัดตั3งทีมงานเล็กๆที*
                          ึ
เรี ยกว่าSmall   group   เข้ามาปรับปรุ งในเรื* องเฉพาะเรื* อง(Focused        Improvement)    หรื อการ
เน้นการถ่ายทอดความรู ้ จากรุ่ นสู่รุ่นในการปฏิบติงาน
                                               ั                     (Learning & Training)     และยัง
รวมถึงการกําหนดแผนงานการทําวาระ การจัดระบบแผนงานทางพัสดุเพื*อรองรับ
การซ่อมบํารุ งต่างๆและยังรวมถึงการนําเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทํางาน
อีกด้วย(Planed Maintenance) ที*กล่าวมาถือว่าเป็ นส่วนหนึ*งของ TPM แต่พ3ืนฐานที*สาคัญ
                                                                                ํ
อย่างมากคือการบํารุ งรักษาด้วยตนเอง(AM:             Autonomous Maintenance)         ซึ*งจะเป็ นกุญแจ
สําคัญไปสู่การบริ หารจัดการซ่อมบํารุ งแบบทวีผลที*เต็มรู ปแบบได้ในอนาคต
           ในเอกสารตําราฉบับนี3จะเน้นพื3นฐานการซ่อมบํารุ งรักษาเริ* มจากการ
บํารุ งรักษาด้วยตนอง          (AM: Autonomous Maintenance)        ซึ*งสามารถเริ* มจากทุกพื3นที*ทุก
หน่วยงานได้แม้แต่บนรถจักรล้อเลื*อนก็สามารถนําเอาทฤษฎีน3 ีไปปรับปรุ งเพื*อให้
เหมาะสมต่อการปฏิบติงาน และยังรวมไปถึงการดูแลสถานที* โรงงาน โรงซ่อม
                 ั
บํารุ ง ให้เป็ นระบบ ระเบียบ และให้พนักงานทุกคนมีส่วนในการตัดสิ นใจในการ
บริ หารจัดการด้วยตนเองได้อย่างเป็ นรู ปธรรมเพื*อสร้างขวัญและกําลังใจต่อโดยยัง
ไม่เน้นไปที*ส่วนอื*นของทั3งหมดของTPM ทั3ง              8    เสา แต่จะเริ* มจากผูปฏิบติงานที*อยู่
                                                                                ้ ั
                                         การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                        ่

                                                           สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
หน้างานในโรงงาน โรงซ่อมบํารุ งของฝ่ ายการช่างกล ว่ามีการเปลี*ยนแปลงอย่างไร
เมื*อได้ลงมือปฏิบติจริ ง ซึ*งระบบ
                 ั                   TPM   มองไปที การเปลียนแปลงที สัมผัสได้ ทีหน้ า
งาน และมุ่งไปสู่ความสัมฤทธิผล และ การมีส่วนร่ วมของพนักงานทุกคน
             วันนี3หลักปฏิบติอาจมองยังไม่เห็นได้เป็ นรู ปธรรม
                           ั                                                 แต่ การพัฒนาคน
เพือให้ คนไปพัฒนาเครื องจักร ยังคงเป็ นแนวทางของ               TPM      ผูเ้ ขียนและเรี ยบเรี ยง
เนื3อหาในตําราฉบับนี3ตองขอขอบคุณ อาจารย์ธานี
                      ้                                          อ่วมอ้อ จากสถาบันTPM
consulting     ที*ปรึ กษาและอาจารย์พิเศษฝ่ ายการช่างกลที*ให้คาแนะนําแนวทางในการ
                                                             ํ
จัดทํา TPMให้เกิดขึ3นเป็ นรู ปธรรมในฝ่ ายการช่างกลการรถไฟฯเหมือนองค์กรบริ ษท
                                                                           ั
ชั3นนําที*ใหญ่ในประเทศไทย ขอบคุณ ท่าน รวก.นายช่างสิ ทธิพงษ์ พรมลา ที*
สนับสนุนแนวทางการทํางานTPM ขอบคุณท่าน วญก.นายช่างณรงค์ฤทธิa ศิวะ
สาโรช            ที*ให้คาแนะในการนําทฤษฎีไปใช้งานเพื*อให้เห็นแนวทางปฏิบติอย่าง
                        ํ                                              ั
ชัดเจน        ขอบคุณเพื*อนร่ วมงานฝ่ ายการช่างกลที*ร่วมแรงร่ วมใจกันเปลี*ยนเพื*อการ
รถไฟฯของทุกคน
                                                      สมพร บุญนวล วซข.บซ.
                                                      อดิศร สิ งหกาญจน์ วศก. 8




                                    การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                   ่

                                                    สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
สารบัญ
                                                                           หน้า
บทนํา                                                                      1
การบริ หารการเปลี*ยนแปลง                                                   2-4
การรถไฟฯกับทศวรรษใหม่                                                      5-10
หน่วยธุรกิจซ่อมบํารุ ง                                                     11-15
บทที* 1
กิจกรรม 5 ส.                                                               16-22
บทที* 2
พื3นฐานการซ่อมบํารุ งรักษา                                                 23-25
ความล้มเหลวการซ่อมบํารุ ง                                                  26-29
การทํางานเป็ นทีม                                                          30-38
บทที* 3
การบํารุ งรักษาแบบทวีผลที*ทุกคนมีส่วนร่ วมTPM                              39-44
เป้ าหมายการทําTPM                                                         45-48
ประวัติความเป็ นมาของTPM                                                   49-51
ประเภทของการซ่อมบํารุ งรักษาที*สนับสนุนTPM                                 52-53
บทสรุ ปเป้ าหมายTPM                                                        54
บทที* 4
แปดเสาหลักTPM                                                              55-73



                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
บทที* 5
เส้นทางสู่ TPM                                                               74-81
บทที* 6
Autonomous Maintenance                                                       82-85
การบํารุ งรักษาตนเองคืออะไร                                                  85-89
บทบาทของผูใช้เครื* อง
          ้                                                                  89-90
บทบาทของฝ่ ายซ่อมบํารุ ง                                                     91-92
7 ขั3นตอนในการบํารุ งรักษาด้วยตนเอง                                          92-95
4เครื* องมือหลักในการทํา AM                                                  96-99
ขั3นตอนในการทําAM                                                            100
เครื* องจักรกับOEE                                                           101-112
ขั3นตอนการเปลี*ยนแปลงเครื* องจักร                                            113-120
ปั ญหาความสะอาดของเครื* องจักร                                               121-122
การทําความสะอาดแบบตรวจสอบ                                                    123
จุดผิดปกติและจุดยากลําบากแหล่งกําเนิดปั ญหา                                  124-127
การกําจัดจุดยากและจุดกําเนิดปัญหา                                            128-148
ตัวอย่าง การจัดทําList ,OPL                                                  149-154
บทที* 7
การบํารุ งรักษาเชิงวางแผน                                                    155-171
บทสรุ ป                                                                      172-174



                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
1




                                       บทนํา
               การบริหารการเปลียนแปลง(Change Management)
การสือสารภายในองค์ กร
        ความหมายของการสือสารข้ อมูล เกิดจากคําสองคํา คือ การสือสาร
(Communication) ซึงหมายถึงการส่งเนือหาจากฝ่ ายหนึงไปยังอีกฝ่ ายหนึง และคํา
ว่า ข้ อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ งทีถือหรื อยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ ง
ทําไมต้องมีการสื อสารภายในองค์กร ก็เพือให้พนักงานทุกกลุ่มงาน ได้มีความรู ้
ความเข้าใจ เพือให้มีทศนคติทีดีในการทํางาน
                     ั
       โรเจอร์(Roger,1978:208-209 อ้างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร 2533:122)
ได้กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีชีว่า บุคคลนัน คิดและรู ้สึกอย่างไร กับคนรอบข้าง
วัตถุหรื อสิ งแวดล้อมตลอดจนสถานการณ์ต่างๆโดย ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก
ความเชือทีอาจส่งผลถึงพฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ นเพียงความพร้อมที
จะตอบสนองต่อสิ งร้าว และเป็ นมิติของการประเมินเพือแสงดว่าชอบหรื อไม่ชอบ
ต่อประเด็นหนึงๆซึงถือเป็ นการสื อสารภายในบุคคล(Interpersonal
Communication) ทีเป็ นผลกระทบมาจากการรับสารอันจะมีผลต่อพฤติกรรมต่อไป




                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
2




ทัศนคติ (Attitude)
    โรเสนเบิร์กและฮอฟแลนด์(Rosenberg and Hovland,1960:1 )ให้นิยามว่า เป็ น
การจูงใจต่อแนวโน้ม การตอบสนองอย่างเฉพาะเจาะจงกับสิ งทีเกิดขึน
   เคลเลอร์(Howard H.Kendler,1963:572) กล่าวว่า ทัศนคติหมายถึง สภาวะความ
พร้อม ของบุคคลทีจะแสดงพฤติกรรมออกมาในทางสนับสนุน หรื อ ต่อต้านบุคคล
สถาบัน สถานการณ์หรื อแนวความคิด
   ศักดิa สุนทรเสณี (2531:2) กล่าวถึง ทัศนคติ ทีเชือมโยงไปถึงพฤติกรรมของ
บุคคลว่า ทัศนคติ หมายถึง
    1.ความซําซ้อนของความรู ้สึก หรื อการมีอคติของบุคคลในการทีจะสร้างความ
พร้อม ทีจะกระทําสิ งใดสิ งหนึงตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ทีได้รับมา
    2.ความโน้มเอียง        ทีจะมีปฏิกิริยาต่อสิ งใดสิ งหนึงในทางทีดีหรื อต่อต้าน
สิ งแวดล้อม ทีจะมาทางหนึงทางใด
    3.ในด้าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรี ยมตัว หรื อความพร้อมทีจะตอบสนอง

                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
3




                                       ่
จากคําจํากัดความต่างๆเหล่านี จะเห็นได้วามีประเด็นร่ วมทีสําคัญดังนี คือ
   3.1 ความรู ้สึกภายใน
   3.2.ความพร้อม หรื อ แนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึง




           ภาพที 1 การเปลียนทัศนคติต่อการปฏิบติงาน
                                             ั




                          การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                         ่

                                          สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
4




                ภาพที 2 การมุ่งไปสู่การเปลียนแปลงในอนาคต
                        ่
      ดังนันจึงสรุ ปได้วา ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ทีคาบเกียวระหว่าง ความรู ้สึก
และความเชือหรื อการเรี ยนรู ้ของบุคคลกับแนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมโต้ตอบในทาง
ใดทางหนึงต่อเป้ าหมายของทัศนคตินน โดยสรุ ป ทัศนคติ ในงานทีนีเป็ นเรื องของ
                                ั
จิต ท่าที ความรู ้สึกนึกคิดและความโน้มเอียงบุคคลทีมีต่อข้อมูลข่าวสารและการ
เปิ ดรับรายการกรองสถานการณ์ทีได้รับมา             ซึงเป็ นไปได้ทงเชิงบวกและเชิงลบ
                                                                ั
                                                 ่
ทัศนคติมีผลให้มีการแสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้วา ทัศนคติ ประกอบด้วย
ความคิดทีผลต่ออารมณ์ และความรู ้สึกนันออกมาโดยทางพฤติกรรม
         สรุป ถ้าหากพนักงานทุกระดับได้รับข้อมูลข่าวสารทีถูกต้อง ชัดเจน ก็จะ
ส่งผลให้มีทศนคติทีดี แสดงพฤติกรรมออกมาในเชิงบวก(Positive Mind)
           ั
        แล้วเราควรจะสื อสารข้อมูลด้านใดให้พนักงานรับทราบบ้าง ?




                                การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                               ่

                                                สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
5




การปรับตัว เมือการรถไฟมุ่งไปสู่ ทศวรรษใหม่




                          ภาพที 3 การรถไฟในทศวรรษใหม่
วิสัยทัศน์ (Vision)
"มุ่งสู่ความเป็ นเลิศในการให้ บริ การ
ระบบรางที สะดวก ตรงต่ อเวลา และปลอดภัย"
พันธกิจ(Mission)
        -มุ่งเน้นการให้บริ การทีตอบสนองต่อความต้องการของผูใช้บริ การ
                                                          ้                                   เพือ
สร้างรายได้และผลกําไรให้แก่องค์กร               รวมทังการพัฒนาประสิ ทธิภาพในการ
ให้บริ การอย่างต่อเนือง เพือเป็ นทางเลือกในการขนส่งทีมีประสิ ทธิภาพ
        -ดําเนินการให้บริ การในเชิงสังคม เพือประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน
และประเทศ               และตอบสนองนโยบายในการให้บริ การขนส่งราคาตําและมี
ประสิ ทธิภาพของภาครัฐ
                                   การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                  ่

                                                   สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
6




       -ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนา ขยายและเชือมโยงโครงข่าย
การขนส่งผูโดยสารและสิ นค้า
          ้




ภาพที 4 การพัฒนาระบบราง
วัตถุประสงค์ (Objectives)
  1.เพือสร้างความเป็ นเลิศในการให้บริ การของการรถไฟฯภายใต้สภาพแวดล้อม
ทีเปลียนแปลงไป
  2.เพือปรับปรุ งผลการดําเนินงานของการรถไฟฯทังธุรกิจหลักและธุรกิจรอง
รวมทัง มีการจัดการ ต้นทุนอย่างมีประสิ ทธิภาพ
  3.เพือให้เกิดการพัฒนาองค์กรและบุคลากรทีสอดคล้องกับแผนการลงทุนด้าน
โครงสร้างพืนฐานระบบรางอันจะนําไปสู่ความสามารถในการแข่งขันทียังยืนของ
การรถไฟฯในระยะยาว
  4.เพือให้เกิดการบูรณะการ การทํางานร่ วมกันของหน่วยงานต่างๆของการรถไฟ
ฯในการผลักดันวิสยทัศน์การรถไฟฯอย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
                ั

                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
7




ยุทธศาสตร์ (Strategies)
   กลุ่มยุทธศาสตร์ดานการปรับปรุ งและเพิมประสิ ทธิภาพการให้บริ การ
                   ้
ด้ านการให้ บริการขนส่ งผู้โดยสารและสินค้ า
    1.เพิมประสิ ทธิภาพการให้บริ การและความปลอดภัยเพือรองรับการคมนาคม
ขนส่งทีเพิมขึนในอนาคต
    2.เพือสร้างรายได้จากการให้บริ การรถไฟมากขึน
    3.สร้างความเชือมโยงด้านการขนส่งผูโดยสารและสิ นค้าระหว่างโครงข่ายการ
                                     ้
ขนส่งอืนๆภายในประเทศและประเทศเพือนบ้าน




ภาพที 5 รถจักร-ล้อเลือน
ด้ านรถจักรและล้ อเลือน
    1.จัดหาจํานวนรถไฟทีมีประสิ ทธิภาพและความน่าเชือถือเพือให้บริ การอย่าง
เพียงพอ
    2.จัดรถให้เพียงพอตรงเวลาตามตารางเดินรถและตรวจสภาพรถจักรให้
ปลอดภัยมีมาตรฐาน
                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
8




    3.การให้บริ การเดินรถอย่างปลอดภัยมีมาตรฐาน เกิดการบริ การทีดี
                   ้ ั
    4.จัดให้มีการกูภยเมือเกิดอุบติเหตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                ั
ด้ านโครงสร้ างพืนฐาน
                 I
    1.ปรับปรุ งระบบโครงสร้างพืนฐานในปัจจุบน
                                          ั
    2.พัฒนาระบบโครงสร้างพืนฐานเพิมเติม
    3.เพิมประสิ ทธิภาพหน่วยงานในการบํารุ งรักษาและบริ หารโครงการ
กลุ่มยุทธศาสตร์ดานการพัฒนาระบบการบริ หารจัดการของการรถไฟฯ
                ้
ด้ านบริหารทรัพย์ สิน
    1.การแสวงหาแหล่งรายได้ใหม่ทีทําให้มีรายได้เพิมขึนอย่างมีนยสําคัญ
                                                             ั
    2.การสร้างและพัฒนาระบบข้อมูลของทรัพย์สินแบบครบวงจร
    3.การสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการบริ หารทรัพย์สิน
ด้ านการเงินบัญชี
   1.การสร้างและพัฒนาบุคลากรทางการเงินและการบัญชี
   2.มีระบบการบริ หารความเสียงด้านการจัดการทางการเงิน
   3.การสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณการเงินและการบัญชี
ด้ านการพัฒนาและบริหารองค์ กร
   1.องค์กรมีความคล่องตัว ปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลียนแปลงและแข่งขัน
ได้ในเชิงธุรกิจ
   2.ส่งเสริ มการนําเทคโนโลยีดานการจัดการทีทันสมัยมาใช้
                              ้



                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
9




   3.มีระบบการบริ หารจัดการทีเหมาะสมกับโครงสร้างในรู ปแบบหน่วยธุรกิจ
สามารถบริ หารจัดการบูรณาการทํางานและสร้างความเป็ นเอกภาพ ระหว่างหน่วย
ธุรกิจให้สอดคล้องและ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
  4.มีภาพลักษณ์ทีทันสมัย โปร่ งใส ตรวจสอบได้ และผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยมีความ
                                                  ้
เชือมัน การมีมีส่วนร่ วม และการยอมรับของบุคลากรทุกระดับขององค์กร




           ภาพที 6 การพัฒนาองค์กรพลมุ่งไปสู่ความทันสมัย



ด้ านการพัฒนาและบริหารบุคลากร
  1.เพิมขีดความสามารถของฝ่ ายบริ หารงานบุคคลให้สามารถเป็ นหุนส่วนในเชิง
                                                            ้
ยุทธศาสตร์ขององค์กร



                              การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                             ่

                                              สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
10




  2.เพิมและขยายเทคโนโลยีทีทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพสําหรับการพัฒนาและ
บริ หารบุคลากร
  3.จัดสรรบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละหน่วยธุรกิจ
                                                      ั
  4.พัฒนาบุคลากรให้เป็ นพลังสําคัญในการสร้างคุณค่าให้กบองค์กรอย่างยังยืน
และส่งเสริ มบุคลากรให้เกิดการเรี ยนรู ้ และพัฒนาองค์ความรู ้อย่างต่อเนือง
  5.สร้างแรงจูงใจและรักษาบุคลากรมีมีคุณภาพ




        ภาพที 7 มุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจและเป็ นกําลังใจให้กบคนทํางาน
                                                            ั
ด้ านการพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ
                         ั
 1.เพิมทักษะด้าน ICT ให้กบบุคลากรทัวไป พร้อมทังพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ให้
เพียงพอต่อภาระงาน
  2.เพิมประสิ ทธิภาพและประสิทธิผลของบุคลากรด้านต่างๆให้มีปริ มาณและ
คุณภาพเพียงพอต่อการปฏิบติงาน
                       ั
  3.ให้ระบบ ICT มีความพร้อมความมันคงเชือถือได้ และเพียงพอ สามารถรองรับ
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อการขยายตัวในอนาคต
  4.พัฒนาระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ

                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
11




  5.การบริ หารจัดการ ICT มีประสิ ทธิภาพ
  6.เน้นการบริ หารองค์กรยุคใหม่ทีมุ่งให้ผบริ หารใช้ ICT เป็ นปัจจัยใน
                                         ู้
    กระบวนการพัฒนาองค์กร




หน่ วยธุรกิจการซ่ อมบํารุง
วิสัยทัศน์ (VISION)
          "มุ่งสู่ความเป็ นเลิศในการให้ บริ การรถจักร ล้ อเลือน
              และการขับเคลือนขบวนรถ ที ได้ มาตรฐาน"
พันธกิจ(Mission)
         1.พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการซ่อมบํารุ งรถจักรล้อเลือน                          และการ
ขับเคลือนขบวนรถ
          เพือส่งมอบรถจักรล้อเลือนและพนักงานขับรถทีมีคุณภาพ

                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
12




        2.พัฒนากระบวนการทํางานเพือเป็ นหน่วยงาน Cost Center ทีเป็ นเลิศ
        3.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์(Human Capital) เพือรองรับการเปลียนแปลง
เทคโนโลยีที เกียวข้องกับระบบราง
        4.พัฒนาและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวตการทํางาน ความปลอดภัยและ
                                         ิ
สุขลักษณะ (Quality of Work Life และ Occupational Safety and Health)
ยุทธศาสตร์ (Strategic)
       1.ยกระดับมาตรฐานการซ่อมบํารุ งรถจักรและล้อเลือน
       2.ยกระดับมาตรฐานการขับเคลือนขบวนรถ
                            ้ ั
       3.ยกระดับมาตรฐานการกูภย
       4.การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
       5.การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
       6.การพัฒนาจัดวางระบบต้นทุนค่าใช้จ่าย
       7.การพัฒนาหน่วยธุรกิจในระยะยาว
       8.การหาหุนส่วนในเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Partder)มาดําเนินการในโรง
                ้
ซ่อมแห่งใหม่




                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
13




Change :การเปลียนแปลง
   การยกระดับการซ่อมบํารุ งรถจักร ล้อเลือน และการขับเคลือนขบวนรถให้มี
มาตรฐานนัน สิ งทีสําคัญทีสุดคือการพัฒนา “คน” การสื อสารภายในองค์กรทีได้
กล่าวมาแล้วในข้างต้น ถือว่ามีความสําคัญทีสุดทีจะให้พนักงานทุกระดับได้มีการ
เปลียนทัศนคติ แต่เนืององค์กร การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็ นองค์กรทีเก่าแก่ จึงมี
ความยากอยู่ 2 ประการ คือ
           1.วัฒนธรรมในการทํางาน
           2.ผูนาในการเปลียนแปลงมีนอย
               ้ ํ                 ้
การเปลียนแปลงทัศนคติในการทํางาน
                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
14




คําศัพท์ หรือ คํานิยาม ทีควรจะมาสร้ างความเข้ าใจร่ วมกัน
“มาตรฐาน” (Standards) ได้ถูกเขียนขึนโดยนําเอารายละเอียดของความจําเพาะ
ทางเทคนิค หรื อหลักเกณฑ์ต่างๆ ทีเห็นพ้องร่ วมกัน เพือใช้เป็ นกฏ, แนวทาง หรื อ
                                               ่
คํานิยามของคุณลักษณะต่างๆ ทังนี เพือให้มนใจได้วา วัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์,
                                        ั
กระบวนการ หรื อบริ การต่างๆ เหมาะสมตามเป้ าหมายทีตังไว้”
ประสิทธิภาพ (Efficiency )
 หมายถึงกระบวนการดําเนินงาน ทีมีลกษณะดังนี
                                 ั
 1. ประหยัด (Economy) ได้แก่ ประหยัดต้นทุน(Cost) ประหยัดทรัพยากร
(Resources)
    และประหยัดเวลา (Time)
 2. เสร็ จทันตามกําหนดเวลา (Speed)
 3. คุณภาพ (Quality) โดยพิจารณาทังกระบวนการตังแต่ปัจจัยนําเข้า (Input) หรื อ
วัตถุดิบ มีการคัดสรรอย่างดี มีกระบวนการดําเนินงาน กระบวนการผลิต(Process)
ทีดี และมีผลผลิต (Output)
ทีดีการมีประสิ ทธิภาพจึงต้องพิจารณากระบวนการดําเนินงานว่า ประหยัด รวดเร็ ว
มีคุณภาพของงานซึงเป็ นกระบวนการดําเนินงานทังหมด
ประสิทธิผล (Effective )
 1.หมายถึงผลสําเร็ จของงานทีเป็ นไปตามความมุ่งหวัง (Purpose) ทีกําหนดไว้ใน
วัตถุประสงค์ (Objective) หรื อเป้ าหมาย (Goal) และเป้ าหมายเฉพาะ (Target)
ได้แก่
 2. เป้ าหมายเชิงปริ มาณ จะกําหนดชนิดประเภทและจํานวนของผลผลิต สุดท้าย
                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
15




ต้องการทีได้รับเมือการดําเนินงานเสร็ จสิ นลง
 3. เป้ าหมายเชิงคุณภาพ จะแสดงถึงคุณค่าของผลผลิตทีได้รับจากการดําเนินงาน
นัน ๆ
 4. มุ่งเน้นทีจุดสิ นสุดของกิจกรรมหรื อการดําเนินงานว่าได้ผลตามทีตังไว้
หรื อไม่
 5. มีตวชีวัด (Indicator) ทีชัดเจน
       ั
              ่
สรุป กล่าวได้วาการทํางานทีประสบผลสําเร็ จ จะต้อง มีประสิ ทธิผลและมี
ประสิ ทธิภาพด้วย


            “ลูกค้ า... คือบุคคลที สําคัญที สุดทีมาเยือนเราในสถานที นี -
                   เขามิได้ มาพึงเรา เราต่ างหาก ที จําเป็ นต้ องพึงเขา
           เขามิได้ มาขัดจังหวะการทํางานของเรา หากแต่ การรั บใช้ เขา
 คือวัตถุประสงค์ ของงานของเรา เขามิได้ เป็ นบุคคลภายนอก เขาเป็ นส่ วนหนึงของ
                            ธุรกิจนีทีเดียว ในการรั บใช้ เขา
                                    -
              เรามิได้ ช่วยเหลืออะไรเขาเลย เขาต่ างหากที เป็ นฝ่ าย
               ช่ วยเหลือเราโดยให้ โอกาสแก่ เราในการรั บใช้ เขา...”




                                     การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                    ่

                                                     สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
16




                                   บทที 1
                                กิจกรรม 5 ส.
    กิจกรรม 5 ส.เป็ นพืนฐานทีสําคัญ ทีทางหัวหน้างานและพนักงานจะต้องให้
ความสําคัญในการทีจะเรี ยนรู ้ แล้วนําไปประยุกต์ใช้ให้เกิดการเปลียนแปลงทีเป็ น
รู ปธรรม




ภาพที 1 การกําหนดขอบเขตพืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan
                                ั
Railway)




                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
17




5 ส. คือ กระบวนการในการจัดสถานทีทํางานให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยโดยมุ่งเน้น
ทีจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการทํางานและจิตสํานึกในการปรับปรุ ง
สภาพแวดล้อมทีดีของผูปฏิบติงาน
                    ้ ั


  5 ส. คําย่ อซึงแปลมาจาก 5S ซึงเป็ นอักษรตัวแรกของคําในภาษาญีปุ่ น 5 คํา คือ
1.SEIRI (เซริ )                = สะสาง
2.SEITON (เซตง)                = สะดวก
3.SEISO (เซโซ)                  = สะอาด
4.SEIKETSU (เซเคทซึ)           = สุขลักษณะ
5.SHITSUKE(ซิทซึเคะ)           = สร้างนิสย
                                         ั
1.สะสาง
 คือ การแยกของทีจําเป็ นออกจากของทีไม่จาเป็ นและขจัดของที ไม่ จําเป็ นออกไป
                                       ํ
                        ่
มีของทีไม่จาเป็ นปะปนอยูในตู ้ ชัน และบริ เวณทีทํางานหรื อไม่
           ํ
ทีทํางานคับแคบหาของไม่เจอ เสียเวลาค้นหาหรื อไม่
มีวสดุอุปกรณ์มากเกินความจําเป็ นหรื อไม่
   ั
เกิดความสูญเปล่าหรื อไม่
   ต้ องมันใจว่ าในสถานทีทํางานมีเฉพาะของทีจําเป็ นใช้ งานเท่ านั#น
            :Only necessary things remain at the workplace




                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
18




ภาพที 2 การกําหนดขอบเขตพืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan
                                ั
                            Railway)




      ภาพที 3 สภาพพืนทีการปฏิบติงานภายในโรงงานการรถไฟฯ
                              ั
                         การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                        ่

                                         สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
19




2.สะดวก
     คือ การจัดวางหรื อจัดสิ งของต่างๆในสถานทีทํางานอย่างเป็ นระบบ เพือความ
สะดวก ปลอดภัยและคงไว้ซึงคุณภาพ ประสิ ทธิภาพในการทํางาน
    - มีการกําหนดทางเดิน และกําหนดทีวางชัดเจนหรื อไม่
    -     มีการจัดแยกประเภทเครื องมือ         อุปกรณ์ต่างๆโดยคํานึงถึงความรวดเร็ ว
ปลอดภัย
        และคงไว้ซึงคุณภาพหรื อไม่
    - ทีชันวางมีป้ายบอก ทีของมีป้ายติด และมีตารางแสดงตําแหน่งการจัดวาง
สิ งของ
     หรื อไม่
    - มีอุบติเหตุเกิดขึนในสถานทีทํางานบ่อยหรื อไม่
           ั
           มีทสําหรับของทุกสิง และของทุกสิงต้ องอยู่ในทีของมัน
              ี
           : A place for everything .Everything in its place.




                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
20




                  ภาพที 4 การไร้ซึงระเบียบการทิงขยะเกลือนกราด
3.สะอาด
      คือ การทําความสะอาด(ปัด กวาด เช็ด ถู) เครื องจักร เครื องมือ อุปกรณ์ และ
สถานทีทํางาน
- เครื องจักร คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่างๆ มีฝน สนิม คราบนํามันหรื อไม่
                                          ุ่
- มีการทําความสะอาดเครื องจักร อุปกรณ์ ก่อนและหลังใช้งานทุกครังหรื อไม่
-   มีการมอบหมายให้พนักงานแต่ละคน               รับผิดชอบทําความสะอาดเครื องจักร
อุปกรณ์หรื อไม่
- สถานทีทํางานโดยรวมปราศจากฝุ่ นและหยากไย่หรื อไม่
- มีการทําความสะอาดครังใหญ่ประจําปี หรื อไม่
          การทําความสะอาดคือการตรวจสอบ:Cleaning is inspection
                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
21




        ภาพที 5 สภาพการทํางานขาดการวางแผนและระเบียบการจัดวาง
4.สุ ขลักษณะหรือสร้ างมาตรฐาน
     คือ การรักษามาตรฐานการปฏิบติ 3 ส.แรกทีดีไว้ ค้นหาสาเหตุ ต่างๆเพือ
                               ั
ยกระดับมาตรฐานให้สูงขึน
- ขจัดสาเหตุของฝุ่ นละออง และมลภาวะต่างๆได้หรื อไม่
- ป้ าย สัญลักษณ์ต่างๆมีขนาด และอยูในระดับทีเหมาะสมกับสายตาหรื อไม่
                                   ่
-     มีการกําหนดแนวทางและวิธีการปฏิบติเพือรักษามาตรฐานความเป็ นระเบียบ
                                     ั
เรี ยบร้อยในสถานทีทํางานหรื อไม่
- จัดสถานทีทํางานเพือให้เกิดสภาพแวดล้อมทีดี สดชืน น่าทํางานหรื อไม่
รักษามาตรฐานและปรับปรุงให้ ดขึ#น
                            ี
Maintain present standards and aim at improvement

                                   การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                  ่

                                                   สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
22




         ภาพที 6 พืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan Railway)
                          ั
5.สร้ างนิสัย
    คือ การปฏิบติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของหน่วยงานอย่างสมําเสมอ จนกลายเป็ น
               ั
การกระทําทีเกิดขึนเองโดยอัตโนมัติ หรื อ โดยธรรมชาติ
- ฝึ กอบรมให้ความรู ้ สร้างความเข้าใจ และปลูกฝังทัศนคติทีดีในการักษาความ
สะอาด
  ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสถานทีทํางาน
- ทุกคนปฏิบติตามกฎเกณฑ์และระเบียบของหน่วยงาน
           ั
- ผูบงคับบัญชาทุกระดับต้องเป็ นแบบอย่างทีดี
    ้ ั
                สร้ างทัศนคติทดีในการทํางาน:Positive work attitude
                              ี



                                    การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                   ่

                                                    สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
23




                                     บทที 2
                           พืนฐานการซ่ อมบํารุงรักษา
                             I
         การซ่อมบํารุ งรักษาแรกเริ มทีเดียวคือการบํารุ งรักษาตามอาการหรื อการ
บํารุ งรักษาเมือขัดข้อง เมือเครื องจักรมีอาการเสี ยเช่นไรก็ซ่อมบํารุ งไปตามอาการ
นัน เพือให้สามาถนํากลับมาใช้การได้อีกเช่น มอเตอร์ชารุ ด ก็เปลียนมอเตอร์
                                                  ํ
                            ่
สายพานขาดก็เปลียนสายพาน แม้วาจะใช้ ไปขาดไปก็ไม่ได้มีการวิเคราะห์ความ
ชํารุ ด ไม่มีการจัดกิจกรรมการซ่อมบํารุ งรักษาใดๆทังสิ นเพราะถือว่า การหยุดเดิน
เครื องจักรถือว่าเป็ น การสูญเสี ยการทํากิจกรรมประจําวันของเครื องจักร




                         ภาพที 1 การซ่อมบํารุ งชินส่วนเครื องจักร
                                                      ั
         การซ่อมบํารุ งรักษาดังกล่าวไม่สามารถนํามาใช้กบเครื องจักรได้ทุกๆ
เครื องเพราะ นันหมายถึง ความเสี ยหายทีเกิดขึนจากการชํารุ ดกะทันหัน เช่น รถ
จักรดีเซล ทีวิงระหว่างทําขบวน เมือเกิดการชํารุ ดระหว่างทางทีเปลียว แล้วไม่
สามารถแก้ไขได้ ต้องรอนํารถมาเปลียน แสดงว่าการซ่อมบํารุ งเมือเกิดเหตุขดข้อง
                                                                     ั

                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
24




          ั
ใช้ไม่ได้กบเครื องจักรบางชนิด เพราะอาจส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวง ดังเช่นที
กล่าวมาก โดยเฉพาะงานบริ การทีเกียวข้องกับมนุษย์ เพราะอาจได้รับเสี ยงร้องเรี ยน
ความไม่สะดวกสบายต่อการเดินทาง                  นอกจากนันแล้วความน่าเชือถือต่อตัว
เครื องจักรย่อมลดลงไปด้วย
         การบํารุ งรักษาทีกล่าวมานันถือว่าเป็ นยุคแรกๆ                 ของการพัฒนางาน
กิจกรรมซ่อมบํารุ งรักษาเพราะหลังจากนันกิจกรรมงานซ่อมบํารุ งรักษาก็ได้พฒนา
                                                                      ั
มาเรื อยตามการพัฒนางานด้านอุตสาหกรรมของโลก มีการพัฒนากิจกรรมการซ่อม
บํารุ งรักษา เพือป้ องกันความชํารุ ด มีการกําหนดแผนงานเพือหยุดเครื องจักรซ่อม
บํารุ งรักษาก่อนความชํารุ ด ไม่ตองรอให้เครื องจักรเกิดความชํารุ ดเสี ยหาย แต่ก็ยง
                                ้                                               ั
ประสบกับปั ญหาอีกเกียวกับตัวเครื องจักร ทีไม่สะดวกต่องานซ่อมบํารุ ง ต้องการ
แก้ไขและบํารุ งรักษาอยูบ่อย
                       ่       รวมถึงเป็ นการยากลําบากและโอกาสผิดพลาดมีสูง
ต่อมาจึงต้องมีการแก้ไขปรับปรุ ง เพือให้ซ่อมบํารุ งได้ง่ายขึนอีก แต่ก็ตองเสี ยเวลา
                                                                      ้
จึงมีการพัฒนามาเป็ นการป้ องกันการบํารุ งรักษา              จนถึงการพยากรณ์งานซ่อม
บํารุ งรักษา ซึงเราสามารถแบ่งวิวฒนาการงานซ่อมบํารุ งรักษาออกได้ดงนี:-
                                ั                               ั


    1) การบํารุ งรักษาเมือขัดข้อง(Breakdown Maintenance :BM)
    2) การบํารุ งรักษาเชิงป้ องกัน(Preventive Maintenance :PM)
    3) การบํารุ งรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance : CM)
    4) การป้ องกันการบํารุ งรักษา (Maintenance Prevention : MP)
    5) การบํารุ งรักษาทวีผล ( Productive Maintenance : PM)


                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
25




ภาพที 2 สาเหตุของการชํารุ ดแบบ Breakdown




                    ภาพที 3 ประเภทของงานบํารุ งรักษา



                             การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                            ่

                                             สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
26




ความล้ มเหลวต่ อการซ่ อมบํารุงรักษาแบบดัIงเดิม
    1. ปั ญหาของการซ่อมบํารุ งรักษาแบบดังเดิมคือการทีไม่ได้ให้ผใช้เครื อง
                                                               ู้
         จักรเข้ามามีส่วนร่ วมของการกําหนดการซ่อมบํารุ งรักษาหรื อมีส่วนร่ วม
         ในการซ่อมบํารุ งขันพืนฐาน          ผูใช้งานไม่รู้จก เครื องจักรดีพอ หรื อถ้า
                                              ้            ั
         เป็ นรถจักรหรื อล้อเลือน ผูใช้ก็คือพนักงานรถจักร ทีมีหน้าใช้เพียงเดียว
                                    ้
         โดยขาดทักษะการดูแลหรื อการแก้ไขความชํารุ ดในเหตุการณ์เฉพาะหน้า
         หรื อแม้กระทังการทีจะแจ้งให้ช่างให้ผตรวจสอบรับรู ้ถึงอาการความชํารุ ด
                                             ู้
         ของเครื องจักรหรื ออุปกรณ์ทีใช้งาน
    2. นอกจากนันแล้วระบบการซ่อมบํารุ งแบบเดิมบางหน่วยงานยังไม่ได้มีการ
         จัดเก็บข้อมูลการซ่อมบํารุ งในแต่ละวาระ หรื อมีการเก็บข้อมูลจริ งแต่ไม่
         สามารถนํามาใช้งานได้เมือต้องการ
    3. การซ่อมบํารุ งทีไม่มีการวางแผนงานชัดเจนหรื อไม่มีการซ่อมบํารุ งตาม
         แผนงาน จนทําให้ไม่เกิดการซ่อมบํารุ งรักษาแบบป้ องกัน รวมถึงยังไม่มี
         การตรวจสอบติดตามอย่างเป็ นระบบ
         ถ้าเปรี ยบเทียบการซ่อมบํารุ งรักษาต่างๆแล้ว          มีคาถามว่าฝ่ ายการช่างกล
                                                                 ํ
                                                                ่
การรถไฟ ฯมีระบบหรื อการวางแผนงานในการซ่อมบํารุ งรักษาล้อเลือนอยูในระดับ
ไหนฝ่ ายการช่างกล การรถไฟ ฯมีการวางแผนงานเรื องระบบการทําวาระรถจักร
ล้อเลือน ทีเรี ยกว่า Preventive Maintenance :PM มีการกําหนดแบบแผน และ
แผนงานตามแต่ละชนิดรถและชนิดล้อเลือนทีใช้การ รวมถึงการนําเอา บํารุ งรักษา


                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
27




เชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance : CM) มาแก้ไขความชํารุ ดและ
ปรับปรุ งปัญหาต่างๆทีเกิดในกระบวนการต่างๆอีกด้วย
ตัวอย่างการกําหนดแผนงานการซ่อมบํารุ งล้อเลือนของ East Japan railway




         ภาพที 4 การกําหนดแผนงานซ่อมบํารุ งของรถไฟประเทศญีปุ่ น
 East Japan Railway กําหนดแผนงาน ในลักษณะการบํารุ งรักษาเชิงป้ องกันหรื อ
                          Preventive Maintenance



                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
28




ทําไมต้ องทํา TPM
                                          ่
             ทําไมเครื องจักรยังคงเสี ยอยูประจําและใช้เวลามากในการแก้ไข
คําตอบทีได้โดยทัวไปมักจะได้คาตอบทํานองว่าไม่ช่วยกันดูแลรักษา ไม่มีอะไหล่
                            ํ
ไม่มีเวลาในการตรวจซ่อมทําวาระ เนืองจากต้องนํารถจักรไปใช้งาน อะไหล่ไม่มี
คุณภาพ ขาดแคลนแรงงาน เป็ นต้น การจัดองค์การในการบํารุ งรักษา การทํางาน
ของฝ่ ายต่างๆไม่ประสานกัน ไม่มีการวัดผล และไม่มีการวางแผนการบํารุ งรักษา
ขาดฐานข้อมูลทีดี
            การจัดองค์การในการบํารุ งรักษาแบบดังเดิมทีผ่าน เป็ นการจัดองค์การ
ในการบํารุ งรักษาทีขึนอยูกบฝ่ ายซ่อมบํารุ งเพียงฝ่ ายเดียว ทําให้เกิดปั ญหาอยูเ่ ป็ น
                         ่ ั
ประจําว่า พนักงานไม่ช่วยกันดูแลรักษาเครื องจักร               ดังนันการจัดองค์การในการ
บํารุ งรักษาทีดี ควรให้เกิดการประสานงานทีดีระหว่างฝ่ ายซ่อมบํารุ งในฐานะผูดูแล
                                                                          ้
                                                                    ่
เครื องจักรกับฝ่ ายผูใช้เครื องจักร โดยมีฝ่ายต่างๆให้การสนับสนุนไม่วาฝ่ ายบริ หาร
                     ้
ฝ่ ายจัดซือ ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ ายวิจยและพัฒนา TPM จึงเป็ นระบบการ
                                      ั
บํารุ งรักษาทีให้ทุกฝ่ ายทีเกียวข้องมีเป้ าหมายร่ วมกัน




                                    การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                   ่

                                                    สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
29




ภาพที 5 การสร้างระบบทีมงานย่อยทีมีความชํานาญงานหลากหลายและเฉพาะด้าน
          คําตอบ ทําไมต้องทํา TPM ก็คือ เพือพัฒนาเครื องจักรอุปกรณ์ พัฒนาคน
และพัฒนาองค์การ       การทําให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักรสูงสุดด้วยการ
เสริ มสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับเครื องจักร               เปรียบเสมือนหนึงว่ า
ตนเองเป็ นเจ้ าของเครืองจักร คือ เป้ าหมายของ TPM และการพัฒนาคนให้รู้จกร
                                                                      ั
ทํางานเป็ นทีม ก็คือ การก้าวเดินไปสู่จุดหมายของ TPM
ขัIนตอนการเรียนรู้ TPM
       ถือว่าเราเป็ นหน่วยงานเก่า ในทีนีหมายถึง มีสภาพพืนทีโรงซ่อมทีเก่า
                                             ั ั
พนักงานมีประเพณี วัฒนธรรมในการทํางานทีถือปฏิบติกนมาเป็ นแบบเครื อญาติ
ยังขาดในการจัดวางระบบทีดี ดังนันในการทีดําเนินการเรี ยนรู ้จดทํา TPM จะต้อง
                                                            ั
เริ มที “คน”ก่อน




                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
30




การสร้ างทีมงานการพัฒนาทีมสู่ ความเป็ นเลิศ
การทํางานเป็ นทีม(TEAM WORKING)




การรวมตัวของบุคคลในองค์การตังแต่ 2 คนขึนไป มาร่ วมกันคิด…..ร่ วมใจ…….
และร่ วมมือทํางานและมีปฏิสมพันธ์ต่อกันต่อเป้ าหมายเดียวกันด้วยความเต็มใจ
                          ั
โดยมีสมพันธภาพทีดีต่อกัน
      ั                                 เพือช่วยกันทํางานให้บรรลุเป้ าหมายอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและเกิดประสิ ทธิผล โดยมีความพอใจในการทํางานร่ วมกัน
แนวคิดการทํางานเป็ นทีมสู่ ความเป็ นเลิศ
                               คิดร่ วมกันเป็ นที ม
                            มีใจร่ วมเป็ นหนึงเดียวกัน
                               ทําร่ วมกันเป็ นที ม


                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
31




ความสําคัญของการทํางานเป็ นทีม
        งานบางอย่างไม่สามารถทําสําเร็ จเพียงคนเดียวองค์การอาจมีงานเร่ งด่วนที
ต้องการระดมพนักงาน เพือปฏิบติงานให้เสร็ จทันเวลาทีกําหนด และมีคุณภาพงาน
                           ั
บางอย่างต้องอาศัยความรู ้ความสามารถ และความเชียวชาญจากหลายฝ่ าย




               ภาพที 6 การสร้างบรรยากาศของการทํางานเป็ นทีม
ภาพจากห้องประชุมพนักงานโรงงาน AKITA East Japan Railway
        งานบางอย่างเป็ นงานทีมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ ต้องการความร่ วมมือ
อย่างจริ งจังจากทุกฝ่ ายทีเกียวข้อง เป็ นงานทีต้องการความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เพือ
แสวงหาแนวทาง วิธีการ และเป้ าหมายใหม่ องค์การต้องการสร้างบรรยากาศของ
ความสามัคคีให้เกิดขึน


                                  การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                 ่

                                                  สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
32




ประโยชน์ ของการทํางานร่ วมกัน
       เพือพัฒนาศักยภาพของทีมงานและองค์การเพือตอบสนองความต้องการ
ของทีมและองค์การ เพือป้ องกันความเสี ยงเพือการแก้ไขปั ญหา เพือสร้างเสริ ม
ความสุขในการทํางาน




              ภาพที 7 การสร้างบรรยากาศของการทํางานเป็ นทีม
       ภาพจากห้องประชุมพนักงานโรงงาน AKITA East Japan Railway




                                การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                               ่

                                                สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
33




องค์ ประกอบในการทํางานร่ วมกัน
        1. มีเป้ าหมายร่ วมกัน
        2.เปิ ดใจยอมรับความเป็ นทีมงานเดียวกัน
                      ั
        3. ให้เกียรติกน
        4.ร่ วมมือ และเต็มใจทํางานร่ วมกัน
        5.มีความเข้าใจซึงกันและกัน
        6.เปิ ดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น
        7.แบ่งงานและหน้าทีตามความเหมาะสม
        8. ทุกคนในทีมมีความรับผิดชอบ




                   ภาพที 8 แสดงถึงการทํางานเป็ นระบบทีม




                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
34




เป้ าหมายการสร้ างทีมงาน
        1.เพือแต่ละบุคคล
         2.เพือความสําเร็ จตามเป้ าหมายของทีมงาน
         3.เพือความเจริ ญก้าวหน้าขององค์การ
การบรรลุเป้ าหมายของทีมงานด้วย…..3 P
PURPOSE : มีวตถุประสงค์ทีชัดเจน
             ั
PRIORITY : มีการจัดลําดับความสําคัญในการทํางาน
PERFORMANCE : มุ่งสู่ผลในการปฏิบติงาน
                                ั
การพัฒนาคุณค่ าของตนเองเพือการพัฒนาทีมงาน
     ตระหนักในคุณค่าของตนเอง         ตระหนักในคุณค่าของผูอืน ทําคุณค่าให้แก่
                                                         ้
ผูอืนและทําให้ผอืนมีคุณค่า
  ้            ู้




       ภาพที 9 การทํางานเป็ นทีมโรงงานKoriyama East Japan Railway

                               การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                              ่

                                               สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
35




หลักการทํางานร่ วมกันเป็ นทีมในยุคใหม่
       ความไว้วางใจต่อกัน (Trust)
       เข้าใจเห็นใจกัน (Empathy)
      ความเห็นร่ วมกัน (Agreement)
      ตระหนักในผลประโยชน์ร่วมกัน(Mutual Benefit)
      เต็มใจทํางานร่ วมกัน(Willingness)
       ให้โอกาสกับทุกคนในทีม(Opportunity)
       ยอมรับซึงกันและกัน(Recognition)
       แลกเปลียนเรี ยนรู ้และประสบการณ์ในการทํางานร่ วมกัน(Knowledge
Transfer)ขัIนตอนการทํางานเป็ นทีม
         ขันตอนที 1 : การจัดระบบการปฏิบติงาน
                                       ั
         ขันตอนที 2 : วางแผนการปฏิบติงานอย่างเป็ นระบบ
                                   ั
         ขันตอนที 3 : การลงมือปฏิบติงานร่ วมกัน
                                  ั
          ขันตอนที 4: การประเมินผลการปฏิบติงาน
                                         ั
          ขันตอนที 5: การปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพ
ทักษะทีสําคัญในการทํางานเป็ นทีม(Team working Skill)
          1.การสร้างมนุษย์สมพันธ์ เพือการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม
                           ั
          2.การสื อสาร เพือสร้างสรรค์การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิ ทธิภาพ
          3.การประสานงาน เพือสร้างสรรค์การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิ ทธิภาพ



                                การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                               ่

                                                สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
36




1.การสร้ างมนุษยสัมพันธ์ เพือการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม
         มีการเปิ ดใจ – รับฟัง
          ไว้วางใจต่อกัน
          เชือมันในความสามารถของทีม
          เอาใจใส่ต่อกัน
          บรรยากาศเป็ นกันเอง อบอุ่นและช่วยเหลือกัน
          ทุกคนมีบทบาทและส่วนร่ วมในกิจกรรม
          มีการสื อความเพือสร้างความเข้าใจทีสร้างสรรค์
          เคารพนับถือซึงกันและกัน
          คิดในแง่ดี มองในมุมบวก
                           ่
          ให้ความปรารถนาดีตอกัน




                ภาพที 10 การสร้างบรรยากาศการทํางานทีอบอุ่น
                                 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                                ่

                                                 สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
37




2.ทักษะการสือสาร เพือสร้ างสรรค์ การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิทธิภาพ
          มีความเข้าใจในสารทีถูกต้อง-ชัดเจน
          เปิ ดโอกาสให้ผรับสารมีการตอบสนอง
                        ู้
          มีการรับฟังอย่างตังใจ สนใจ และจับใจความได้
          มีสติ และใช้เหตุผลในการตอบโต้ขอมูลต่อกัน
                                        ้
          ข่าวสารตรงไปตรงมา ไม่แต่งแต้มทางลบ
          ใช้การสื อสารสองทาง
          ใช้ภาษาทีเหมาะสม




  ภาพที 11 การหมันสร้างทักษะการสื อสารภายในองค์กรเพือพัฒนาตนเองเสมอ


3.ทักษะการประสาน เพือสร้ างการทํางานเป็ นทีมทีมีประสิทธิภาพ
           ทุกคนให้ความสําคัญต่อเป้ าหมายของทีม
           คํานึงถึงความต้องการของผูขอรับการประสาน
                                    ้
          มีการติดต่อสื อสารทีดีระหว่างผูประสานงาน
                                         ้

                                การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance)
                                                               ่

                                                สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm
Tpm

Contenu connexe

Tendances

การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกyahapop
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการpop Jaturong
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายBeerza Kub
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัยการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับเด็กปฐมวัยPitchayakarn Nitisahakul
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean maruay songtanin
 

Tendances (20)

การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัยการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับเด็กปฐมวัย
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean
 
การพูดอภิปราย
การพูดอภิปรายการพูดอภิปราย
การพูดอภิปราย
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 

En vedette

การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMการบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMWasinee MooMaizza
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาpong27
 
Autonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAutonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAbdul Rehman Ghauri
 
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notes
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notesN1 b1&2 jh_1&2-postlecture notes
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notesedbiochem
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3maruay songtanin
 
เฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิดเฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิดKasetsart University
 
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)Muhammad Asif Khan Awan
 
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14Aสูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14APak Tangprakob
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989Kithchaya Chiang
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก Vai2eene K
 
Risk mgnt spu bldg 11
Risk mgnt spu bldg 11Risk mgnt spu bldg 11
Risk mgnt spu bldg 11qcstandard
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวการซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวPiti Sukontasukkul
 

En vedette (20)

การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMการบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
 
Autonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance PresentationAutonomous Maintenance Presentation
Autonomous Maintenance Presentation
 
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notes
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notesN1 b1&2 jh_1&2-postlecture notes
N1 b1&2 jh_1&2-postlecture notes
 
5ส
5ส5ส
5ส
 
Kaizen
KaizenKaizen
Kaizen
 
Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
กิจกรรม 5 ส.
กิจกรรม 5 ส.กิจกรรม 5 ส.
กิจกรรม 5 ส.
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
 
5s
5s5s
5s
 
เฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิดเฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิด
 
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
 
project with grovement
project with grovement project with grovement
project with grovement
 
มยผ.1301 50
มยผ.1301 50มยผ.1301 50
มยผ.1301 50
 
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14Aสูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
 
Risk mgnt spu bldg 11
Risk mgnt spu bldg 11Risk mgnt spu bldg 11
Risk mgnt spu bldg 11
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวการซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
การซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
 

Plus de WeIvy View

ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานWeIvy View
 
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราWeIvy View
 
รับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯรับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯWeIvy View
 
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556WeIvy View
 
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556WeIvy View
 
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลรายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลWeIvy View
 
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม WeIvy View
 
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001WeIvy View
 
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2WeIvy View
 
ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1WeIvy View
 
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารWeIvy View
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม TpmWeIvy View
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม TpmWeIvy View
 
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักโครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักWeIvy View
 
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา WeIvy View
 
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556WeIvy View
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559WeIvy View
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 

Plus de WeIvy View (19)

ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
 
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
 
รับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯรับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯ
 
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
 
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
 
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลรายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
 
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
 
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
 
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
 
ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1
 
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpm
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpm
 
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักโครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
 
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
 
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 

Tpm

  • 3. คํานํา หลังจากปี 2553 จนมาถึงปั จจุบนระบบรางในประเทศไทยได้ถูกหน่วยงาน ั ภาคเอกชนภาครัฐและประชาชนสื* อต่างๆเฝ้ ามองมากมาย ว่ามีความสําคัญต่อการ พัฒนาประเทศ การเปลี*ยนแปลงได้เกิดขึ3นมากมายกับการรถไฟฯ รวมถึง งบประมาณต่างๆที*ไหลบ่ามาที*การรถไฟฯ จนผูปฏิบติเองยังไม่สามารถตอบสนอง ้ ั ความต้องการที*ภาครัฐหยิบยืนให้ได้อย่างทันท่วงที * ในความคาดหวังของภาครัฐ แล้วการเฝ้ ามองการรถไฟฯ ที*เปรี ยบเสมือนคนป่ วยที*ตองได้รับการดูแลเป็ นพิเศษ ้ กลายเป็ นภาระที*หนักของพนักงานการรถไฟ ที*ตองปรับตัวให้ความสําคัญต่อการ ้ เปลี*ยนแปลงและลงมือปรับปรุ งแนวทางการบริ หารจัดการที*ยงล้าสมัยอิงกับระบบ ั ปฏิบติงานเหมือนเมื*อครั3งที*ยงเป็ นราชการอยู่ ระบบระเบียบแบบแผนเก่าๆที*ยงไม่ ั ั ั สามารถสลัดออกจากองค์กรได้กลายเป็ นพันธะผูกพันธุ์ จนทําให้คนในองค์กร ขาดความเชื*อมันในการก้าวเดินไปสู่การเปลี*ยนแปลงใหม่ได้ ในอนาคต * แนวทางในการพัฒนาองค์กร ฝ่ ายการช่างกล ได้เริ* มปรับตัวขึ3นเพือรับต่อ * การเปลี*ยนแปลง ปี 2553 ฝ่ ายการช่างกลเริ* มสนใจที*จะนําทฤษฎีระบบบริ หารจัดการ ซ่อมบํารุ งแบบทวีผลที*ทุกคนมีส่วนร่ วม(TPM: Total Productive Maintenance) เข้ามา บริ หารจัดการในงานซ่อมบํารุ ง แต่ก็ยงเป็ นเรื* องยากที*จะให้ทุกคนเข้าใจถึงแนวทาง ั ในการปฏิบติ เนื*องจากทฤษฎีจะให้ความสําคัญกับทุกคนหรื อทีม มากกว่า ใครคน ั ใดคนหนึ*ง การทํางานที*เน้นเป็ นระบบ เน้นการทํางานเป็ นทีม มีแบบแผน ที* ชัดเจน การที*จะปรับตัวไปสู่การเป็ นทีมได้จึงต้องมีการศึกษาทฤษฎีการบริ หาร จัดการที*ถูกต้อง การซ่อมบํารุ งรถจักรหรื อล้อเลื*อนหรื ออุปกรณ์ส่วนควบ ของฝ่ าย การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 4. ่ การช่างกลที*ผาน มีระบบการบริ หารจัดการ แบบการซ่อมบํารุ งรักษาเชิงป้ องกัน (PM:Preventive Maintenance) และการซ่อมบํารุ งเชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance) แต่ในแนวทางปฏิบติ ยังไม่สามารถ ทําได้อย่างเต็มที* จากสาเหตุและปั จจัยหลาย ั อย่าง ในขณะที*สถานการณ์ความต้องการใช้รถจักรยังคงเท่าเดิม แต่สภาพ เครื* องจักรหรื อรถจักรกลับเก่าลงตามสภาพเงื*อนไขการใช้งาน การซ่อมบํารุ งรักษา แบบทวีผลอาจเป็ นแนวทางหรื อหนทางที*จะช่วยพยุงการซ่อมบํารุ งรักษาอุปกรณ์รถ จักรล้อเลื*อนต่างๆให้ดีข3 นโดยผ่ านการทํางานเป็ นที ม และการจัดตั3งทีมงานเล็กๆที* ึ เรี ยกว่าSmall group เข้ามาปรับปรุ งในเรื* องเฉพาะเรื* อง(Focused Improvement) หรื อการ เน้นการถ่ายทอดความรู ้ จากรุ่ นสู่รุ่นในการปฏิบติงาน ั (Learning & Training) และยัง รวมถึงการกําหนดแผนงานการทําวาระ การจัดระบบแผนงานทางพัสดุเพื*อรองรับ การซ่อมบํารุ งต่างๆและยังรวมถึงการนําเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทํางาน อีกด้วย(Planed Maintenance) ที*กล่าวมาถือว่าเป็ นส่วนหนึ*งของ TPM แต่พ3ืนฐานที*สาคัญ ํ อย่างมากคือการบํารุ งรักษาด้วยตนเอง(AM: Autonomous Maintenance) ซึ*งจะเป็ นกุญแจ สําคัญไปสู่การบริ หารจัดการซ่อมบํารุ งแบบทวีผลที*เต็มรู ปแบบได้ในอนาคต ในเอกสารตําราฉบับนี3จะเน้นพื3นฐานการซ่อมบํารุ งรักษาเริ* มจากการ บํารุ งรักษาด้วยตนอง (AM: Autonomous Maintenance) ซึ*งสามารถเริ* มจากทุกพื3นที*ทุก หน่วยงานได้แม้แต่บนรถจักรล้อเลื*อนก็สามารถนําเอาทฤษฎีน3 ีไปปรับปรุ งเพื*อให้ เหมาะสมต่อการปฏิบติงาน และยังรวมไปถึงการดูแลสถานที* โรงงาน โรงซ่อม ั บํารุ ง ให้เป็ นระบบ ระเบียบ และให้พนักงานทุกคนมีส่วนในการตัดสิ นใจในการ บริ หารจัดการด้วยตนเองได้อย่างเป็ นรู ปธรรมเพื*อสร้างขวัญและกําลังใจต่อโดยยัง ไม่เน้นไปที*ส่วนอื*นของทั3งหมดของTPM ทั3ง 8 เสา แต่จะเริ* มจากผูปฏิบติงานที*อยู่ ้ ั การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 5. หน้างานในโรงงาน โรงซ่อมบํารุ งของฝ่ ายการช่างกล ว่ามีการเปลี*ยนแปลงอย่างไร เมื*อได้ลงมือปฏิบติจริ ง ซึ*งระบบ ั TPM มองไปที การเปลียนแปลงที สัมผัสได้ ทีหน้ า งาน และมุ่งไปสู่ความสัมฤทธิผล และ การมีส่วนร่ วมของพนักงานทุกคน วันนี3หลักปฏิบติอาจมองยังไม่เห็นได้เป็ นรู ปธรรม ั แต่ การพัฒนาคน เพือให้ คนไปพัฒนาเครื องจักร ยังคงเป็ นแนวทางของ TPM ผูเ้ ขียนและเรี ยบเรี ยง เนื3อหาในตําราฉบับนี3ตองขอขอบคุณ อาจารย์ธานี ้ อ่วมอ้อ จากสถาบันTPM consulting ที*ปรึ กษาและอาจารย์พิเศษฝ่ ายการช่างกลที*ให้คาแนะนําแนวทางในการ ํ จัดทํา TPMให้เกิดขึ3นเป็ นรู ปธรรมในฝ่ ายการช่างกลการรถไฟฯเหมือนองค์กรบริ ษท ั ชั3นนําที*ใหญ่ในประเทศไทย ขอบคุณ ท่าน รวก.นายช่างสิ ทธิพงษ์ พรมลา ที* สนับสนุนแนวทางการทํางานTPM ขอบคุณท่าน วญก.นายช่างณรงค์ฤทธิa ศิวะ สาโรช ที*ให้คาแนะในการนําทฤษฎีไปใช้งานเพื*อให้เห็นแนวทางปฏิบติอย่าง ํ ั ชัดเจน ขอบคุณเพื*อนร่ วมงานฝ่ ายการช่างกลที*ร่วมแรงร่ วมใจกันเปลี*ยนเพื*อการ รถไฟฯของทุกคน สมพร บุญนวล วซข.บซ. อดิศร สิ งหกาญจน์ วศก. 8 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 6. สารบัญ หน้า บทนํา 1 การบริ หารการเปลี*ยนแปลง 2-4 การรถไฟฯกับทศวรรษใหม่ 5-10 หน่วยธุรกิจซ่อมบํารุ ง 11-15 บทที* 1 กิจกรรม 5 ส. 16-22 บทที* 2 พื3นฐานการซ่อมบํารุ งรักษา 23-25 ความล้มเหลวการซ่อมบํารุ ง 26-29 การทํางานเป็ นทีม 30-38 บทที* 3 การบํารุ งรักษาแบบทวีผลที*ทุกคนมีส่วนร่ วมTPM 39-44 เป้ าหมายการทําTPM 45-48 ประวัติความเป็ นมาของTPM 49-51 ประเภทของการซ่อมบํารุ งรักษาที*สนับสนุนTPM 52-53 บทสรุ ปเป้ าหมายTPM 54 บทที* 4 แปดเสาหลักTPM 55-73 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 7. บทที* 5 เส้นทางสู่ TPM 74-81 บทที* 6 Autonomous Maintenance 82-85 การบํารุ งรักษาตนเองคืออะไร 85-89 บทบาทของผูใช้เครื* อง ้ 89-90 บทบาทของฝ่ ายซ่อมบํารุ ง 91-92 7 ขั3นตอนในการบํารุ งรักษาด้วยตนเอง 92-95 4เครื* องมือหลักในการทํา AM 96-99 ขั3นตอนในการทําAM 100 เครื* องจักรกับOEE 101-112 ขั3นตอนการเปลี*ยนแปลงเครื* องจักร 113-120 ปั ญหาความสะอาดของเครื* องจักร 121-122 การทําความสะอาดแบบตรวจสอบ 123 จุดผิดปกติและจุดยากลําบากแหล่งกําเนิดปั ญหา 124-127 การกําจัดจุดยากและจุดกําเนิดปัญหา 128-148 ตัวอย่าง การจัดทําList ,OPL 149-154 บทที* 7 การบํารุ งรักษาเชิงวางแผน 155-171 บทสรุ ป 172-174 การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 8. 1 บทนํา การบริหารการเปลียนแปลง(Change Management) การสือสารภายในองค์ กร ความหมายของการสือสารข้ อมูล เกิดจากคําสองคํา คือ การสือสาร (Communication) ซึงหมายถึงการส่งเนือหาจากฝ่ ายหนึงไปยังอีกฝ่ ายหนึง และคํา ว่า ข้ อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ งทีถือหรื อยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ ง ทําไมต้องมีการสื อสารภายในองค์กร ก็เพือให้พนักงานทุกกลุ่มงาน ได้มีความรู ้ ความเข้าใจ เพือให้มีทศนคติทีดีในการทํางาน ั โรเจอร์(Roger,1978:208-209 อ้างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร 2533:122) ได้กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีชีว่า บุคคลนัน คิดและรู ้สึกอย่างไร กับคนรอบข้าง วัตถุหรื อสิ งแวดล้อมตลอดจนสถานการณ์ต่างๆโดย ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก ความเชือทีอาจส่งผลถึงพฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ นเพียงความพร้อมที จะตอบสนองต่อสิ งร้าว และเป็ นมิติของการประเมินเพือแสงดว่าชอบหรื อไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึงๆซึงถือเป็ นการสื อสารภายในบุคคล(Interpersonal Communication) ทีเป็ นผลกระทบมาจากการรับสารอันจะมีผลต่อพฤติกรรมต่อไป การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 9. 2 ทัศนคติ (Attitude) โรเสนเบิร์กและฮอฟแลนด์(Rosenberg and Hovland,1960:1 )ให้นิยามว่า เป็ น การจูงใจต่อแนวโน้ม การตอบสนองอย่างเฉพาะเจาะจงกับสิ งทีเกิดขึน เคลเลอร์(Howard H.Kendler,1963:572) กล่าวว่า ทัศนคติหมายถึง สภาวะความ พร้อม ของบุคคลทีจะแสดงพฤติกรรมออกมาในทางสนับสนุน หรื อ ต่อต้านบุคคล สถาบัน สถานการณ์หรื อแนวความคิด ศักดิa สุนทรเสณี (2531:2) กล่าวถึง ทัศนคติ ทีเชือมโยงไปถึงพฤติกรรมของ บุคคลว่า ทัศนคติ หมายถึง 1.ความซําซ้อนของความรู ้สึก หรื อการมีอคติของบุคคลในการทีจะสร้างความ พร้อม ทีจะกระทําสิ งใดสิ งหนึงตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ทีได้รับมา 2.ความโน้มเอียง ทีจะมีปฏิกิริยาต่อสิ งใดสิ งหนึงในทางทีดีหรื อต่อต้าน สิ งแวดล้อม ทีจะมาทางหนึงทางใด 3.ในด้าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรี ยมตัว หรื อความพร้อมทีจะตอบสนอง การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 10. 3 ่ จากคําจํากัดความต่างๆเหล่านี จะเห็นได้วามีประเด็นร่ วมทีสําคัญดังนี คือ 3.1 ความรู ้สึกภายใน 3.2.ความพร้อม หรื อ แนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึง ภาพที 1 การเปลียนทัศนคติต่อการปฏิบติงาน ั การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 11. 4 ภาพที 2 การมุ่งไปสู่การเปลียนแปลงในอนาคต ่ ดังนันจึงสรุ ปได้วา ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ทีคาบเกียวระหว่าง ความรู ้สึก และความเชือหรื อการเรี ยนรู ้ของบุคคลกับแนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมโต้ตอบในทาง ใดทางหนึงต่อเป้ าหมายของทัศนคตินน โดยสรุ ป ทัศนคติ ในงานทีนีเป็ นเรื องของ ั จิต ท่าที ความรู ้สึกนึกคิดและความโน้มเอียงบุคคลทีมีต่อข้อมูลข่าวสารและการ เปิ ดรับรายการกรองสถานการณ์ทีได้รับมา ซึงเป็ นไปได้ทงเชิงบวกและเชิงลบ ั ่ ทัศนคติมีผลให้มีการแสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้วา ทัศนคติ ประกอบด้วย ความคิดทีผลต่ออารมณ์ และความรู ้สึกนันออกมาโดยทางพฤติกรรม สรุป ถ้าหากพนักงานทุกระดับได้รับข้อมูลข่าวสารทีถูกต้อง ชัดเจน ก็จะ ส่งผลให้มีทศนคติทีดี แสดงพฤติกรรมออกมาในเชิงบวก(Positive Mind) ั แล้วเราควรจะสื อสารข้อมูลด้านใดให้พนักงานรับทราบบ้าง ? การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 12. 5 การปรับตัว เมือการรถไฟมุ่งไปสู่ ทศวรรษใหม่ ภาพที 3 การรถไฟในทศวรรษใหม่ วิสัยทัศน์ (Vision) "มุ่งสู่ความเป็ นเลิศในการให้ บริ การ ระบบรางที สะดวก ตรงต่ อเวลา และปลอดภัย" พันธกิจ(Mission) -มุ่งเน้นการให้บริ การทีตอบสนองต่อความต้องการของผูใช้บริ การ ้ เพือ สร้างรายได้และผลกําไรให้แก่องค์กร รวมทังการพัฒนาประสิ ทธิภาพในการ ให้บริ การอย่างต่อเนือง เพือเป็ นทางเลือกในการขนส่งทีมีประสิ ทธิภาพ -ดําเนินการให้บริ การในเชิงสังคม เพือประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน และประเทศ และตอบสนองนโยบายในการให้บริ การขนส่งราคาตําและมี ประสิ ทธิภาพของภาครัฐ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 13. 6 -ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนา ขยายและเชือมโยงโครงข่าย การขนส่งผูโดยสารและสิ นค้า ้ ภาพที 4 การพัฒนาระบบราง วัตถุประสงค์ (Objectives) 1.เพือสร้างความเป็ นเลิศในการให้บริ การของการรถไฟฯภายใต้สภาพแวดล้อม ทีเปลียนแปลงไป 2.เพือปรับปรุ งผลการดําเนินงานของการรถไฟฯทังธุรกิจหลักและธุรกิจรอง รวมทัง มีการจัดการ ต้นทุนอย่างมีประสิ ทธิภาพ 3.เพือให้เกิดการพัฒนาองค์กรและบุคลากรทีสอดคล้องกับแผนการลงทุนด้าน โครงสร้างพืนฐานระบบรางอันจะนําไปสู่ความสามารถในการแข่งขันทียังยืนของ การรถไฟฯในระยะยาว 4.เพือให้เกิดการบูรณะการ การทํางานร่ วมกันของหน่วยงานต่างๆของการรถไฟ ฯในการผลักดันวิสยทัศน์การรถไฟฯอย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล ั การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 14. 7 ยุทธศาสตร์ (Strategies) กลุ่มยุทธศาสตร์ดานการปรับปรุ งและเพิมประสิ ทธิภาพการให้บริ การ ้ ด้ านการให้ บริการขนส่ งผู้โดยสารและสินค้ า 1.เพิมประสิ ทธิภาพการให้บริ การและความปลอดภัยเพือรองรับการคมนาคม ขนส่งทีเพิมขึนในอนาคต 2.เพือสร้างรายได้จากการให้บริ การรถไฟมากขึน 3.สร้างความเชือมโยงด้านการขนส่งผูโดยสารและสิ นค้าระหว่างโครงข่ายการ ้ ขนส่งอืนๆภายในประเทศและประเทศเพือนบ้าน ภาพที 5 รถจักร-ล้อเลือน ด้ านรถจักรและล้ อเลือน 1.จัดหาจํานวนรถไฟทีมีประสิ ทธิภาพและความน่าเชือถือเพือให้บริ การอย่าง เพียงพอ 2.จัดรถให้เพียงพอตรงเวลาตามตารางเดินรถและตรวจสภาพรถจักรให้ ปลอดภัยมีมาตรฐาน การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 15. 8 3.การให้บริ การเดินรถอย่างปลอดภัยมีมาตรฐาน เกิดการบริ การทีดี ้ ั 4.จัดให้มีการกูภยเมือเกิดอุบติเหตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ั ด้ านโครงสร้ างพืนฐาน I 1.ปรับปรุ งระบบโครงสร้างพืนฐานในปัจจุบน ั 2.พัฒนาระบบโครงสร้างพืนฐานเพิมเติม 3.เพิมประสิ ทธิภาพหน่วยงานในการบํารุ งรักษาและบริ หารโครงการ กลุ่มยุทธศาสตร์ดานการพัฒนาระบบการบริ หารจัดการของการรถไฟฯ ้ ด้ านบริหารทรัพย์ สิน 1.การแสวงหาแหล่งรายได้ใหม่ทีทําให้มีรายได้เพิมขึนอย่างมีนยสําคัญ ั 2.การสร้างและพัฒนาระบบข้อมูลของทรัพย์สินแบบครบวงจร 3.การสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการบริ หารทรัพย์สิน ด้ านการเงินบัญชี 1.การสร้างและพัฒนาบุคลากรทางการเงินและการบัญชี 2.มีระบบการบริ หารความเสียงด้านการจัดการทางการเงิน 3.การสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านงบประมาณการเงินและการบัญชี ด้ านการพัฒนาและบริหารองค์ กร 1.องค์กรมีความคล่องตัว ปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลียนแปลงและแข่งขัน ได้ในเชิงธุรกิจ 2.ส่งเสริ มการนําเทคโนโลยีดานการจัดการทีทันสมัยมาใช้ ้ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 16. 9 3.มีระบบการบริ หารจัดการทีเหมาะสมกับโครงสร้างในรู ปแบบหน่วยธุรกิจ สามารถบริ หารจัดการบูรณาการทํางานและสร้างความเป็ นเอกภาพ ระหว่างหน่วย ธุรกิจให้สอดคล้องและ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน 4.มีภาพลักษณ์ทีทันสมัย โปร่ งใส ตรวจสอบได้ และผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยมีความ ้ เชือมัน การมีมีส่วนร่ วม และการยอมรับของบุคลากรทุกระดับขององค์กร ภาพที 6 การพัฒนาองค์กรพลมุ่งไปสู่ความทันสมัย ด้ านการพัฒนาและบริหารบุคลากร 1.เพิมขีดความสามารถของฝ่ ายบริ หารงานบุคคลให้สามารถเป็ นหุนส่วนในเชิง ้ ยุทธศาสตร์ขององค์กร การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 17. 10 2.เพิมและขยายเทคโนโลยีทีทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพสําหรับการพัฒนาและ บริ หารบุคลากร 3.จัดสรรบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละหน่วยธุรกิจ ั 4.พัฒนาบุคลากรให้เป็ นพลังสําคัญในการสร้างคุณค่าให้กบองค์กรอย่างยังยืน และส่งเสริ มบุคลากรให้เกิดการเรี ยนรู ้ และพัฒนาองค์ความรู ้อย่างต่อเนือง 5.สร้างแรงจูงใจและรักษาบุคลากรมีมีคุณภาพ ภาพที 7 มุ่งเน้นการสร้างแรงจูงใจและเป็ นกําลังใจให้กบคนทํางาน ั ด้ านการพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ ั 1.เพิมทักษะด้าน ICT ให้กบบุคลากรทัวไป พร้อมทังพัฒนาบุคลากรด้าน ICT ให้ เพียงพอต่อภาระงาน 2.เพิมประสิ ทธิภาพและประสิทธิผลของบุคลากรด้านต่างๆให้มีปริ มาณและ คุณภาพเพียงพอต่อการปฏิบติงาน ั 3.ให้ระบบ ICT มีความพร้อมความมันคงเชือถือได้ และเพียงพอ สามารถรองรับ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อการขยายตัวในอนาคต 4.พัฒนาระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 18. 11 5.การบริ หารจัดการ ICT มีประสิ ทธิภาพ 6.เน้นการบริ หารองค์กรยุคใหม่ทีมุ่งให้ผบริ หารใช้ ICT เป็ นปัจจัยใน ู้ กระบวนการพัฒนาองค์กร หน่ วยธุรกิจการซ่ อมบํารุง วิสัยทัศน์ (VISION) "มุ่งสู่ความเป็ นเลิศในการให้ บริ การรถจักร ล้ อเลือน และการขับเคลือนขบวนรถ ที ได้ มาตรฐาน" พันธกิจ(Mission) 1.พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการซ่อมบํารุ งรถจักรล้อเลือน และการ ขับเคลือนขบวนรถ เพือส่งมอบรถจักรล้อเลือนและพนักงานขับรถทีมีคุณภาพ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 19. 12 2.พัฒนากระบวนการทํางานเพือเป็ นหน่วยงาน Cost Center ทีเป็ นเลิศ 3.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์(Human Capital) เพือรองรับการเปลียนแปลง เทคโนโลยีที เกียวข้องกับระบบราง 4.พัฒนาและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวตการทํางาน ความปลอดภัยและ ิ สุขลักษณะ (Quality of Work Life และ Occupational Safety and Health) ยุทธศาสตร์ (Strategic) 1.ยกระดับมาตรฐานการซ่อมบํารุ งรถจักรและล้อเลือน 2.ยกระดับมาตรฐานการขับเคลือนขบวนรถ ้ ั 3.ยกระดับมาตรฐานการกูภย 4.การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 6.การพัฒนาจัดวางระบบต้นทุนค่าใช้จ่าย 7.การพัฒนาหน่วยธุรกิจในระยะยาว 8.การหาหุนส่วนในเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Partder)มาดําเนินการในโรง ้ ซ่อมแห่งใหม่ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 20. 13 Change :การเปลียนแปลง การยกระดับการซ่อมบํารุ งรถจักร ล้อเลือน และการขับเคลือนขบวนรถให้มี มาตรฐานนัน สิ งทีสําคัญทีสุดคือการพัฒนา “คน” การสื อสารภายในองค์กรทีได้ กล่าวมาแล้วในข้างต้น ถือว่ามีความสําคัญทีสุดทีจะให้พนักงานทุกระดับได้มีการ เปลียนทัศนคติ แต่เนืององค์กร การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็ นองค์กรทีเก่าแก่ จึงมี ความยากอยู่ 2 ประการ คือ 1.วัฒนธรรมในการทํางาน 2.ผูนาในการเปลียนแปลงมีนอย ้ ํ ้ การเปลียนแปลงทัศนคติในการทํางาน การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 21. 14 คําศัพท์ หรือ คํานิยาม ทีควรจะมาสร้ างความเข้ าใจร่ วมกัน “มาตรฐาน” (Standards) ได้ถูกเขียนขึนโดยนําเอารายละเอียดของความจําเพาะ ทางเทคนิค หรื อหลักเกณฑ์ต่างๆ ทีเห็นพ้องร่ วมกัน เพือใช้เป็ นกฏ, แนวทาง หรื อ ่ คํานิยามของคุณลักษณะต่างๆ ทังนี เพือให้มนใจได้วา วัตถุดิบ, ผลิตภัณฑ์, ั กระบวนการ หรื อบริ การต่างๆ เหมาะสมตามเป้ าหมายทีตังไว้” ประสิทธิภาพ (Efficiency ) หมายถึงกระบวนการดําเนินงาน ทีมีลกษณะดังนี ั 1. ประหยัด (Economy) ได้แก่ ประหยัดต้นทุน(Cost) ประหยัดทรัพยากร (Resources) และประหยัดเวลา (Time) 2. เสร็ จทันตามกําหนดเวลา (Speed) 3. คุณภาพ (Quality) โดยพิจารณาทังกระบวนการตังแต่ปัจจัยนําเข้า (Input) หรื อ วัตถุดิบ มีการคัดสรรอย่างดี มีกระบวนการดําเนินงาน กระบวนการผลิต(Process) ทีดี และมีผลผลิต (Output) ทีดีการมีประสิ ทธิภาพจึงต้องพิจารณากระบวนการดําเนินงานว่า ประหยัด รวดเร็ ว มีคุณภาพของงานซึงเป็ นกระบวนการดําเนินงานทังหมด ประสิทธิผล (Effective ) 1.หมายถึงผลสําเร็ จของงานทีเป็ นไปตามความมุ่งหวัง (Purpose) ทีกําหนดไว้ใน วัตถุประสงค์ (Objective) หรื อเป้ าหมาย (Goal) และเป้ าหมายเฉพาะ (Target) ได้แก่ 2. เป้ าหมายเชิงปริ มาณ จะกําหนดชนิดประเภทและจํานวนของผลผลิต สุดท้าย การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 22. 15 ต้องการทีได้รับเมือการดําเนินงานเสร็ จสิ นลง 3. เป้ าหมายเชิงคุณภาพ จะแสดงถึงคุณค่าของผลผลิตทีได้รับจากการดําเนินงาน นัน ๆ 4. มุ่งเน้นทีจุดสิ นสุดของกิจกรรมหรื อการดําเนินงานว่าได้ผลตามทีตังไว้ หรื อไม่ 5. มีตวชีวัด (Indicator) ทีชัดเจน ั ่ สรุป กล่าวได้วาการทํางานทีประสบผลสําเร็ จ จะต้อง มีประสิ ทธิผลและมี ประสิ ทธิภาพด้วย “ลูกค้ า... คือบุคคลที สําคัญที สุดทีมาเยือนเราในสถานที นี - เขามิได้ มาพึงเรา เราต่ างหาก ที จําเป็ นต้ องพึงเขา เขามิได้ มาขัดจังหวะการทํางานของเรา หากแต่ การรั บใช้ เขา คือวัตถุประสงค์ ของงานของเรา เขามิได้ เป็ นบุคคลภายนอก เขาเป็ นส่ วนหนึงของ ธุรกิจนีทีเดียว ในการรั บใช้ เขา - เรามิได้ ช่วยเหลืออะไรเขาเลย เขาต่ างหากที เป็ นฝ่ าย ช่ วยเหลือเราโดยให้ โอกาสแก่ เราในการรั บใช้ เขา...” การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 23. 16 บทที 1 กิจกรรม 5 ส. กิจกรรม 5 ส.เป็ นพืนฐานทีสําคัญ ทีทางหัวหน้างานและพนักงานจะต้องให้ ความสําคัญในการทีจะเรี ยนรู ้ แล้วนําไปประยุกต์ใช้ให้เกิดการเปลียนแปลงทีเป็ น รู ปธรรม ภาพที 1 การกําหนดขอบเขตพืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan ั Railway) การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 24. 17 5 ส. คือ กระบวนการในการจัดสถานทีทํางานให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยโดยมุ่งเน้น ทีจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการทํางานและจิตสํานึกในการปรับปรุ ง สภาพแวดล้อมทีดีของผูปฏิบติงาน ้ ั 5 ส. คําย่ อซึงแปลมาจาก 5S ซึงเป็ นอักษรตัวแรกของคําในภาษาญีปุ่ น 5 คํา คือ 1.SEIRI (เซริ ) = สะสาง 2.SEITON (เซตง) = สะดวก 3.SEISO (เซโซ) = สะอาด 4.SEIKETSU (เซเคทซึ) = สุขลักษณะ 5.SHITSUKE(ซิทซึเคะ) = สร้างนิสย ั 1.สะสาง คือ การแยกของทีจําเป็ นออกจากของทีไม่จาเป็ นและขจัดของที ไม่ จําเป็ นออกไป ํ ่ มีของทีไม่จาเป็ นปะปนอยูในตู ้ ชัน และบริ เวณทีทํางานหรื อไม่ ํ ทีทํางานคับแคบหาของไม่เจอ เสียเวลาค้นหาหรื อไม่ มีวสดุอุปกรณ์มากเกินความจําเป็ นหรื อไม่ ั เกิดความสูญเปล่าหรื อไม่ ต้ องมันใจว่ าในสถานทีทํางานมีเฉพาะของทีจําเป็ นใช้ งานเท่ านั#น :Only necessary things remain at the workplace การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 25. 18 ภาพที 2 การกําหนดขอบเขตพืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan ั Railway) ภาพที 3 สภาพพืนทีการปฏิบติงานภายในโรงงานการรถไฟฯ ั การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 26. 19 2.สะดวก คือ การจัดวางหรื อจัดสิ งของต่างๆในสถานทีทํางานอย่างเป็ นระบบ เพือความ สะดวก ปลอดภัยและคงไว้ซึงคุณภาพ ประสิ ทธิภาพในการทํางาน - มีการกําหนดทางเดิน และกําหนดทีวางชัดเจนหรื อไม่ - มีการจัดแยกประเภทเครื องมือ อุปกรณ์ต่างๆโดยคํานึงถึงความรวดเร็ ว ปลอดภัย และคงไว้ซึงคุณภาพหรื อไม่ - ทีชันวางมีป้ายบอก ทีของมีป้ายติด และมีตารางแสดงตําแหน่งการจัดวาง สิ งของ หรื อไม่ - มีอุบติเหตุเกิดขึนในสถานทีทํางานบ่อยหรื อไม่ ั มีทสําหรับของทุกสิง และของทุกสิงต้ องอยู่ในทีของมัน ี : A place for everything .Everything in its place. การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 27. 20 ภาพที 4 การไร้ซึงระเบียบการทิงขยะเกลือนกราด 3.สะอาด คือ การทําความสะอาด(ปัด กวาด เช็ด ถู) เครื องจักร เครื องมือ อุปกรณ์ และ สถานทีทํางาน - เครื องจักร คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่างๆ มีฝน สนิม คราบนํามันหรื อไม่ ุ่ - มีการทําความสะอาดเครื องจักร อุปกรณ์ ก่อนและหลังใช้งานทุกครังหรื อไม่ - มีการมอบหมายให้พนักงานแต่ละคน รับผิดชอบทําความสะอาดเครื องจักร อุปกรณ์หรื อไม่ - สถานทีทํางานโดยรวมปราศจากฝุ่ นและหยากไย่หรื อไม่ - มีการทําความสะอาดครังใหญ่ประจําปี หรื อไม่ การทําความสะอาดคือการตรวจสอบ:Cleaning is inspection การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 28. 21 ภาพที 5 สภาพการทํางานขาดการวางแผนและระเบียบการจัดวาง 4.สุ ขลักษณะหรือสร้ างมาตรฐาน คือ การรักษามาตรฐานการปฏิบติ 3 ส.แรกทีดีไว้ ค้นหาสาเหตุ ต่างๆเพือ ั ยกระดับมาตรฐานให้สูงขึน - ขจัดสาเหตุของฝุ่ นละออง และมลภาวะต่างๆได้หรื อไม่ - ป้ าย สัญลักษณ์ต่างๆมีขนาด และอยูในระดับทีเหมาะสมกับสายตาหรื อไม่ ่ - มีการกําหนดแนวทางและวิธีการปฏิบติเพือรักษามาตรฐานความเป็ นระเบียบ ั เรี ยบร้อยในสถานทีทํางานหรื อไม่ - จัดสถานทีทํางานเพือให้เกิดสภาพแวดล้อมทีดี สดชืน น่าทํางานหรื อไม่ รักษามาตรฐานและปรับปรุงให้ ดขึ#น ี Maintain present standards and aim at improvement การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 29. 22 ภาพที 6 พืนทีปฏิบติงานของโรงงานAKITA (East Japan Railway) ั 5.สร้ างนิสัย คือ การปฏิบติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของหน่วยงานอย่างสมําเสมอ จนกลายเป็ น ั การกระทําทีเกิดขึนเองโดยอัตโนมัติ หรื อ โดยธรรมชาติ - ฝึ กอบรมให้ความรู ้ สร้างความเข้าใจ และปลูกฝังทัศนคติทีดีในการักษาความ สะอาด ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสถานทีทํางาน - ทุกคนปฏิบติตามกฎเกณฑ์และระเบียบของหน่วยงาน ั - ผูบงคับบัญชาทุกระดับต้องเป็ นแบบอย่างทีดี ้ ั สร้ างทัศนคติทดีในการทํางาน:Positive work attitude ี การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 30. 23 บทที 2 พืนฐานการซ่ อมบํารุงรักษา I การซ่อมบํารุ งรักษาแรกเริ มทีเดียวคือการบํารุ งรักษาตามอาการหรื อการ บํารุ งรักษาเมือขัดข้อง เมือเครื องจักรมีอาการเสี ยเช่นไรก็ซ่อมบํารุ งไปตามอาการ นัน เพือให้สามาถนํากลับมาใช้การได้อีกเช่น มอเตอร์ชารุ ด ก็เปลียนมอเตอร์ ํ ่ สายพานขาดก็เปลียนสายพาน แม้วาจะใช้ ไปขาดไปก็ไม่ได้มีการวิเคราะห์ความ ชํารุ ด ไม่มีการจัดกิจกรรมการซ่อมบํารุ งรักษาใดๆทังสิ นเพราะถือว่า การหยุดเดิน เครื องจักรถือว่าเป็ น การสูญเสี ยการทํากิจกรรมประจําวันของเครื องจักร ภาพที 1 การซ่อมบํารุ งชินส่วนเครื องจักร ั การซ่อมบํารุ งรักษาดังกล่าวไม่สามารถนํามาใช้กบเครื องจักรได้ทุกๆ เครื องเพราะ นันหมายถึง ความเสี ยหายทีเกิดขึนจากการชํารุ ดกะทันหัน เช่น รถ จักรดีเซล ทีวิงระหว่างทําขบวน เมือเกิดการชํารุ ดระหว่างทางทีเปลียว แล้วไม่ สามารถแก้ไขได้ ต้องรอนํารถมาเปลียน แสดงว่าการซ่อมบํารุ งเมือเกิดเหตุขดข้อง ั การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 31. 24 ั ใช้ไม่ได้กบเครื องจักรบางชนิด เพราะอาจส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวง ดังเช่นที กล่าวมาก โดยเฉพาะงานบริ การทีเกียวข้องกับมนุษย์ เพราะอาจได้รับเสี ยงร้องเรี ยน ความไม่สะดวกสบายต่อการเดินทาง นอกจากนันแล้วความน่าเชือถือต่อตัว เครื องจักรย่อมลดลงไปด้วย การบํารุ งรักษาทีกล่าวมานันถือว่าเป็ นยุคแรกๆ ของการพัฒนางาน กิจกรรมซ่อมบํารุ งรักษาเพราะหลังจากนันกิจกรรมงานซ่อมบํารุ งรักษาก็ได้พฒนา ั มาเรื อยตามการพัฒนางานด้านอุตสาหกรรมของโลก มีการพัฒนากิจกรรมการซ่อม บํารุ งรักษา เพือป้ องกันความชํารุ ด มีการกําหนดแผนงานเพือหยุดเครื องจักรซ่อม บํารุ งรักษาก่อนความชํารุ ด ไม่ตองรอให้เครื องจักรเกิดความชํารุ ดเสี ยหาย แต่ก็ยง ้ ั ประสบกับปั ญหาอีกเกียวกับตัวเครื องจักร ทีไม่สะดวกต่องานซ่อมบํารุ ง ต้องการ แก้ไขและบํารุ งรักษาอยูบ่อย ่ รวมถึงเป็ นการยากลําบากและโอกาสผิดพลาดมีสูง ต่อมาจึงต้องมีการแก้ไขปรับปรุ ง เพือให้ซ่อมบํารุ งได้ง่ายขึนอีก แต่ก็ตองเสี ยเวลา ้ จึงมีการพัฒนามาเป็ นการป้ องกันการบํารุ งรักษา จนถึงการพยากรณ์งานซ่อม บํารุ งรักษา ซึงเราสามารถแบ่งวิวฒนาการงานซ่อมบํารุ งรักษาออกได้ดงนี:- ั ั 1) การบํารุ งรักษาเมือขัดข้อง(Breakdown Maintenance :BM) 2) การบํารุ งรักษาเชิงป้ องกัน(Preventive Maintenance :PM) 3) การบํารุ งรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance : CM) 4) การป้ องกันการบํารุ งรักษา (Maintenance Prevention : MP) 5) การบํารุ งรักษาทวีผล ( Productive Maintenance : PM) การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 32. 25 ภาพที 2 สาเหตุของการชํารุ ดแบบ Breakdown ภาพที 3 ประเภทของงานบํารุ งรักษา การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 33. 26 ความล้ มเหลวต่ อการซ่ อมบํารุงรักษาแบบดัIงเดิม 1. ปั ญหาของการซ่อมบํารุ งรักษาแบบดังเดิมคือการทีไม่ได้ให้ผใช้เครื อง ู้ จักรเข้ามามีส่วนร่ วมของการกําหนดการซ่อมบํารุ งรักษาหรื อมีส่วนร่ วม ในการซ่อมบํารุ งขันพืนฐาน ผูใช้งานไม่รู้จก เครื องจักรดีพอ หรื อถ้า ้ ั เป็ นรถจักรหรื อล้อเลือน ผูใช้ก็คือพนักงานรถจักร ทีมีหน้าใช้เพียงเดียว ้ โดยขาดทักษะการดูแลหรื อการแก้ไขความชํารุ ดในเหตุการณ์เฉพาะหน้า หรื อแม้กระทังการทีจะแจ้งให้ช่างให้ผตรวจสอบรับรู ้ถึงอาการความชํารุ ด ู้ ของเครื องจักรหรื ออุปกรณ์ทีใช้งาน 2. นอกจากนันแล้วระบบการซ่อมบํารุ งแบบเดิมบางหน่วยงานยังไม่ได้มีการ จัดเก็บข้อมูลการซ่อมบํารุ งในแต่ละวาระ หรื อมีการเก็บข้อมูลจริ งแต่ไม่ สามารถนํามาใช้งานได้เมือต้องการ 3. การซ่อมบํารุ งทีไม่มีการวางแผนงานชัดเจนหรื อไม่มีการซ่อมบํารุ งตาม แผนงาน จนทําให้ไม่เกิดการซ่อมบํารุ งรักษาแบบป้ องกัน รวมถึงยังไม่มี การตรวจสอบติดตามอย่างเป็ นระบบ ถ้าเปรี ยบเทียบการซ่อมบํารุ งรักษาต่างๆแล้ว มีคาถามว่าฝ่ ายการช่างกล ํ ่ การรถไฟ ฯมีระบบหรื อการวางแผนงานในการซ่อมบํารุ งรักษาล้อเลือนอยูในระดับ ไหนฝ่ ายการช่างกล การรถไฟ ฯมีการวางแผนงานเรื องระบบการทําวาระรถจักร ล้อเลือน ทีเรี ยกว่า Preventive Maintenance :PM มีการกําหนดแบบแผน และ แผนงานตามแต่ละชนิดรถและชนิดล้อเลือนทีใช้การ รวมถึงการนําเอา บํารุ งรักษา การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 34. 27 เชิงแก้ไขปรับปรุ ง(Corrective Maintenance : CM) มาแก้ไขความชํารุ ดและ ปรับปรุ งปัญหาต่างๆทีเกิดในกระบวนการต่างๆอีกด้วย ตัวอย่างการกําหนดแผนงานการซ่อมบํารุ งล้อเลือนของ East Japan railway ภาพที 4 การกําหนดแผนงานซ่อมบํารุ งของรถไฟประเทศญีปุ่ น East Japan Railway กําหนดแผนงาน ในลักษณะการบํารุ งรักษาเชิงป้ องกันหรื อ Preventive Maintenance การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 35. 28 ทําไมต้ องทํา TPM ่ ทําไมเครื องจักรยังคงเสี ยอยูประจําและใช้เวลามากในการแก้ไข คําตอบทีได้โดยทัวไปมักจะได้คาตอบทํานองว่าไม่ช่วยกันดูแลรักษา ไม่มีอะไหล่ ํ ไม่มีเวลาในการตรวจซ่อมทําวาระ เนืองจากต้องนํารถจักรไปใช้งาน อะไหล่ไม่มี คุณภาพ ขาดแคลนแรงงาน เป็ นต้น การจัดองค์การในการบํารุ งรักษา การทํางาน ของฝ่ ายต่างๆไม่ประสานกัน ไม่มีการวัดผล และไม่มีการวางแผนการบํารุ งรักษา ขาดฐานข้อมูลทีดี การจัดองค์การในการบํารุ งรักษาแบบดังเดิมทีผ่าน เป็ นการจัดองค์การ ในการบํารุ งรักษาทีขึนอยูกบฝ่ ายซ่อมบํารุ งเพียงฝ่ ายเดียว ทําให้เกิดปั ญหาอยูเ่ ป็ น ่ ั ประจําว่า พนักงานไม่ช่วยกันดูแลรักษาเครื องจักร ดังนันการจัดองค์การในการ บํารุ งรักษาทีดี ควรให้เกิดการประสานงานทีดีระหว่างฝ่ ายซ่อมบํารุ งในฐานะผูดูแล ้ ่ เครื องจักรกับฝ่ ายผูใช้เครื องจักร โดยมีฝ่ายต่างๆให้การสนับสนุนไม่วาฝ่ ายบริ หาร ้ ฝ่ ายจัดซือ ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ ายวิจยและพัฒนา TPM จึงเป็ นระบบการ ั บํารุ งรักษาทีให้ทุกฝ่ ายทีเกียวข้องมีเป้ าหมายร่ วมกัน การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 36. 29 ภาพที 5 การสร้างระบบทีมงานย่อยทีมีความชํานาญงานหลากหลายและเฉพาะด้าน คําตอบ ทําไมต้องทํา TPM ก็คือ เพือพัฒนาเครื องจักรอุปกรณ์ พัฒนาคน และพัฒนาองค์การ การทําให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักรสูงสุดด้วยการ เสริ มสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับเครื องจักร เปรียบเสมือนหนึงว่ า ตนเองเป็ นเจ้ าของเครืองจักร คือ เป้ าหมายของ TPM และการพัฒนาคนให้รู้จกร ั ทํางานเป็ นทีม ก็คือ การก้าวเดินไปสู่จุดหมายของ TPM ขัIนตอนการเรียนรู้ TPM ถือว่าเราเป็ นหน่วยงานเก่า ในทีนีหมายถึง มีสภาพพืนทีโรงซ่อมทีเก่า ั ั พนักงานมีประเพณี วัฒนธรรมในการทํางานทีถือปฏิบติกนมาเป็ นแบบเครื อญาติ ยังขาดในการจัดวางระบบทีดี ดังนันในการทีดําเนินการเรี ยนรู ้จดทํา TPM จะต้อง ั เริ มที “คน”ก่อน การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 37. 30 การสร้ างทีมงานการพัฒนาทีมสู่ ความเป็ นเลิศ การทํางานเป็ นทีม(TEAM WORKING) การรวมตัวของบุคคลในองค์การตังแต่ 2 คนขึนไป มาร่ วมกันคิด…..ร่ วมใจ……. และร่ วมมือทํางานและมีปฏิสมพันธ์ต่อกันต่อเป้ าหมายเดียวกันด้วยความเต็มใจ ั โดยมีสมพันธภาพทีดีต่อกัน ั เพือช่วยกันทํางานให้บรรลุเป้ าหมายอย่างมี ประสิ ทธิภาพและเกิดประสิ ทธิผล โดยมีความพอใจในการทํางานร่ วมกัน แนวคิดการทํางานเป็ นทีมสู่ ความเป็ นเลิศ คิดร่ วมกันเป็ นที ม มีใจร่ วมเป็ นหนึงเดียวกัน ทําร่ วมกันเป็ นที ม การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 38. 31 ความสําคัญของการทํางานเป็ นทีม งานบางอย่างไม่สามารถทําสําเร็ จเพียงคนเดียวองค์การอาจมีงานเร่ งด่วนที ต้องการระดมพนักงาน เพือปฏิบติงานให้เสร็ จทันเวลาทีกําหนด และมีคุณภาพงาน ั บางอย่างต้องอาศัยความรู ้ความสามารถ และความเชียวชาญจากหลายฝ่ าย ภาพที 6 การสร้างบรรยากาศของการทํางานเป็ นทีม ภาพจากห้องประชุมพนักงานโรงงาน AKITA East Japan Railway งานบางอย่างเป็ นงานทีมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ ต้องการความร่ วมมือ อย่างจริ งจังจากทุกฝ่ ายทีเกียวข้อง เป็ นงานทีต้องการความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เพือ แสวงหาแนวทาง วิธีการ และเป้ าหมายใหม่ องค์การต้องการสร้างบรรยากาศของ ความสามัคคีให้เกิดขึน การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 39. 32 ประโยชน์ ของการทํางานร่ วมกัน เพือพัฒนาศักยภาพของทีมงานและองค์การเพือตอบสนองความต้องการ ของทีมและองค์การ เพือป้ องกันความเสี ยงเพือการแก้ไขปั ญหา เพือสร้างเสริ ม ความสุขในการทํางาน ภาพที 7 การสร้างบรรยากาศของการทํางานเป็ นทีม ภาพจากห้องประชุมพนักงานโรงงาน AKITA East Japan Railway การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 40. 33 องค์ ประกอบในการทํางานร่ วมกัน 1. มีเป้ าหมายร่ วมกัน 2.เปิ ดใจยอมรับความเป็ นทีมงานเดียวกัน ั 3. ให้เกียรติกน 4.ร่ วมมือ และเต็มใจทํางานร่ วมกัน 5.มีความเข้าใจซึงกันและกัน 6.เปิ ดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น 7.แบ่งงานและหน้าทีตามความเหมาะสม 8. ทุกคนในทีมมีความรับผิดชอบ ภาพที 8 แสดงถึงการทํางานเป็ นระบบทีม การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 41. 34 เป้ าหมายการสร้ างทีมงาน 1.เพือแต่ละบุคคล 2.เพือความสําเร็ จตามเป้ าหมายของทีมงาน 3.เพือความเจริ ญก้าวหน้าขององค์การ การบรรลุเป้ าหมายของทีมงานด้วย…..3 P PURPOSE : มีวตถุประสงค์ทีชัดเจน ั PRIORITY : มีการจัดลําดับความสําคัญในการทํางาน PERFORMANCE : มุ่งสู่ผลในการปฏิบติงาน ั การพัฒนาคุณค่ าของตนเองเพือการพัฒนาทีมงาน ตระหนักในคุณค่าของตนเอง ตระหนักในคุณค่าของผูอืน ทําคุณค่าให้แก่ ้ ผูอืนและทําให้ผอืนมีคุณค่า ้ ู้ ภาพที 9 การทํางานเป็ นทีมโรงงานKoriyama East Japan Railway การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 42. 35 หลักการทํางานร่ วมกันเป็ นทีมในยุคใหม่ ความไว้วางใจต่อกัน (Trust) เข้าใจเห็นใจกัน (Empathy) ความเห็นร่ วมกัน (Agreement) ตระหนักในผลประโยชน์ร่วมกัน(Mutual Benefit) เต็มใจทํางานร่ วมกัน(Willingness) ให้โอกาสกับทุกคนในทีม(Opportunity) ยอมรับซึงกันและกัน(Recognition) แลกเปลียนเรี ยนรู ้และประสบการณ์ในการทํางานร่ วมกัน(Knowledge Transfer)ขัIนตอนการทํางานเป็ นทีม ขันตอนที 1 : การจัดระบบการปฏิบติงาน ั ขันตอนที 2 : วางแผนการปฏิบติงานอย่างเป็ นระบบ ั ขันตอนที 3 : การลงมือปฏิบติงานร่ วมกัน ั ขันตอนที 4: การประเมินผลการปฏิบติงาน ั ขันตอนที 5: การปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพ ทักษะทีสําคัญในการทํางานเป็ นทีม(Team working Skill) 1.การสร้างมนุษย์สมพันธ์ เพือการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม ั 2.การสื อสาร เพือสร้างสรรค์การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิ ทธิภาพ 3.การประสานงาน เพือสร้างสรรค์การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิ ทธิภาพ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 43. 36 1.การสร้ างมนุษยสัมพันธ์ เพือการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม มีการเปิ ดใจ – รับฟัง ไว้วางใจต่อกัน เชือมันในความสามารถของทีม เอาใจใส่ต่อกัน บรรยากาศเป็ นกันเอง อบอุ่นและช่วยเหลือกัน ทุกคนมีบทบาทและส่วนร่ วมในกิจกรรม มีการสื อความเพือสร้างความเข้าใจทีสร้างสรรค์ เคารพนับถือซึงกันและกัน คิดในแง่ดี มองในมุมบวก ่ ให้ความปรารถนาดีตอกัน ภาพที 10 การสร้างบรรยากาศการทํางานทีอบอุ่น การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง
  • 44. 37 2.ทักษะการสือสาร เพือสร้ างสรรค์ การทํางานเป็ นทีมทีมีประสิทธิภาพ มีความเข้าใจในสารทีถูกต้อง-ชัดเจน เปิ ดโอกาสให้ผรับสารมีการตอบสนอง ู้ มีการรับฟังอย่างตังใจ สนใจ และจับใจความได้ มีสติ และใช้เหตุผลในการตอบโต้ขอมูลต่อกัน ้ ข่าวสารตรงไปตรงมา ไม่แต่งแต้มทางลบ ใช้การสื อสารสองทาง ใช้ภาษาทีเหมาะสม ภาพที 11 การหมันสร้างทักษะการสื อสารภายในองค์กรเพือพัฒนาตนเองเสมอ 3.ทักษะการประสาน เพือสร้ างการทํางานเป็ นทีมทีมีประสิทธิภาพ ทุกคนให้ความสําคัญต่อเป้ าหมายของทีม คํานึงถึงความต้องการของผูขอรับการประสาน ้ มีการติดต่อสื อสารทีดีระหว่างผูประสานงาน ้ การซ่อมบํารุงแบบทวีผลทีทุกคนมีสวนร่วม (Total Productive Maintenance) ่ สมพร บุญนวล, อดิศร สิงหกาญจน์ เรียบเรียง