SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
กูเกิลเอิร์ธ (Google Earth) เป็ นซอฟต์แวร์ ที่พฒนาโดยบริ ษทกูเกิล สาหรับการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล ดูภาพถ่ายทางอากาศ
                                                   ั          ั
พร้อมทั้งแผนที่ เส้นทาง และผังเมืองซ้อนทับลงในแผนที่ รวมทั้งระบบ จีไอเอส ในรู ปแบบ 3 มิติ

    กูเกิลเอิร์ธ ใช้ขอมูลจาก ภาพถ่ายทางอากาศของ U.S. public domain และ ภาพถ่ายดาวเทียมของคียโฮล มาดัดแปลงร่ วมกับ ระบบ
                     ้                                                                            ์
แผนที่ของกูเกิล จาก กูเกิลแมพ รวมทั้งการทางานร่ วมกับ กูเกิลโลคอล เพื่อค้นหารายชื่อร้าน เช่น ร้านขายของ ธนาคาร และปั๊มน้ ามันใน
แผนที่ได้ โดยนาแผนที่มาซ้อนทับลงบนตาแหน่งที่ตองการ ตาแหน่งที่ตองการค้นหา สามารถหาได้จาก บ้านเลขที่ ลองจิจูด ละติจูด ทั้งยัง
                                                 ้                 ้
ทางานผ่านรู ปแบบภาษาของ KML (Keyhole Markup Language)

ภาพตึกจาลอง 3 มิติ ที่มีลกษณะเป็ นสี เทาในกูเกิลเอิร์ธ ได้รับลิขสิ ทธิ์ส่วนหนึ่งมาจาก ซอฟต์แวร์ ของ แซนบอร์ น (Sanborn) ในชื่อ ซิตี
                          ั
เซ็ทส์ (CitySets) โดยรู ปตึก 3มิติในรู ปแบบที่สมบูรณ์สามารถเรี ยกดูได้ผ่านทางซิ ตีเซ็ทส์

                                                            ข้ อมูลเบื้ องต้ น


                            ยินดีตอนรับสู่ Google Earth เมื่อคุณ ดาวน์โหลด และ ติดตั้ง Google Earth คอมพิวเตอร์ ของคุณจะกลายเป็ น
                                   ้
                     หน้าต่างเปิ ดไปสู่ ทุกหนทุกแห่ งที่คุณสามารถดูภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายจากดาวเทียมความละเอียดสู ง รู ปภาพ
                       ภูมิประเทศที่มีความต่างระดับ ป้ ายชื่อถนน รายชื่อธุรกิจ เป็ นต้น ดูที่ 5 สิ่ งยอดเยียมที่คุณสามารถทาได้ง่ายๆ ใน
                                                                                                           ่
                                                                       Google Earth

                                                 ทาความรู้ จักกับ Google Earth

                        รู ปภาพด้านล่างนี้อธิบายถึงคุณลักษณะบางอย่างในหน้าต่างหลักของ Google Earth:
1.    แผงการค้นหา - ใช้เพื่อ หาสถานที่และเส้นทาง และ จัดการผลการค้นหา Google Earth EC อาจแสดงแท็บอื่นๆ เพิ่มเติมที่นี่
    2.    แผนที่ภาพรวม - ใช้คุณลักษณะนี้เพื่อแสดง มุมมองเพิ่มเติม ของพื้นโลก
    3.    ซ่ อน/แสดงแถบด้ านข้ าง - คลิกที่นี่เพื่อเปิ ดหรื อแสดงแถบด้านข้าง (แผงการค้นหา สถานที่ และเลเยอร์)
    4.    เครื่องหมายบอกตาแหน่ ง - คลิกที่นี่เพื่อเพิม เครื่ องหมายบอกตาแหน่ง
                                                          ่
    5.    รูปหลายเหลี่ยม - คลิกที่นี่เพื่อ เพิ่มรู ปหลายเหลี่ยม
    6.    เส้ นทาง - คลิกที่นี่เพื่อ เพิ่มเส้นทาง (หนึ่งเส้นหรื อมากกว่า)
    7.    ภาพซ้ อนทับ - คลิกที่นี่เพื่อเพิ่ม ภาพซ้อนทับบนพื้นโลก
    8.    เครื่องมือวัด - คลิกที่นี่เพื่อ วัดระยะทางหรื อขนาดของพื้นที่
    9.    ดวงอาทิตย์ - คลิกที่นี่เพื่อ แสดงแสงอาทิตย์ ในภูมิประเทศ
    10.   Sky - คลิกที่นี่เพื่อ ดูดาว กลุ่มดาว กาแล็กซี ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ ของโลก
    11.   อีเมล - คลิกที่นี่เพื่อส่ งอีเมล มุมมอง หรื อ รู ปภาพ
    12.   พิมพ์ - คลิกที่นี่เพื่อสั่งพิมพ์มุมมองปัจจุบนของพื้นโลก
                                                        ั
    13.   แสดงใน Google Maps - คลิกที่นี่เพื่อแสดงมุมมองปัจจุบนใน Google Maps ในเว็บเบราว์เซอร์ ของคุณ
                                                                       ั
    14.   ตัวควบคุมทิศทาง - ใช้เครื่ องมือเหล่านี้เพื่อเอียง ย่อ/ขยาย และเลื่อนไปรอบๆ (ดูดานล่าง)
                                                                                          ้
    15.   แผงเลเยอร์ - ใช้แผงนี้เพื่อแสดงจุดที่น่าสนใจ
    16.   แผงสถานที่ - ใช้แผงนี้เพื่อ ระบุตาแหน่ง บันทึก จัดระเบียบ และเยียมชมเครื่ องหมายบอกตาแหน่งอีกครั้ ง
                                                                              ่
    17.   เพิ่มเนื้อหา - คลิกที่นี่เพื่อนาเข้าเนื้อหาดีๆ จาก ห้องแสดงภาพ KML
    18.   มุมมองภาพ 3 มิติ - ดูลูกโลกและภูมิประเทศในหน้าต่างนี้
    19.   แถบสถานะ - ดูขอมูลพิกด ระดับความสู ง และสถานะการส่ งสตรี มภาพถ่ายที่นี่
                              ้         ั



                                                 5 สิ่ งยอดเยียมที่คณสามารถทาได้ ง่ายๆ ใน Google Earth
                                                              ่     ุ

ต้องการเข้าใช้งานและเริ่ มต้นความสนุกสนานไปกับ Google Earth? ลองวิธีดงต่อไปนี้:
                                                                     ั
    1. ดูภาพบ้ านของคุณ โรงเรียน หรือสถานที่ใดก็ได้ บนโลกใบนี้ - คลิกที่ บินไปที่ ป้ อนตาแหน่งในช่องป้ อนข้อมูล และคลิกปุ่ ม ค้ นหา ใน
       ผลการค้นหา (แผงสถานที่) ให้ดบเบิลคลิกที่ตาแหน่ง Google Earth จะพาคุณบินไปที่ตาแหน่งนี้
                                     ั
             ปุ่ มค้นหา
    2. เดินทางไปยังจุดต่ างๆ ของโลก - ในแผงสถานที่ ให้เลือกโฟลเดอร์ ชมสถานที่ น่าสนใจ และคลิกปุ่ ม เล่ นการเดินทาง:

    3. หาเส้ นทางการขับขี่จากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง และบินไปตามเส้ นทาง - โปรดดูที่ การหาเส้นทาง และ การเดินทางไปตาม
       เส้นทาง
    4. ดูสถานที่และลักษณะรูปร่ างที่ยอดเยี่ยมที่สร้ างโดยผู้ใช้ รายอื่นของ Google Earth - ในแผงเลเยอร์ เข้าไปดูที่ หน้ าแสดงของชุมชน
       เครื่ องหมายบอกตาแหน่งและลักษณะรู ปร่ างอื่นๆ ที่น่าสนใจจะปรากฏขึ้นในมุมมองภาพ 3 มิติ ดับเบิลคลิกจุดที่น่าสนใจเหล่านี้เพื่อดู
       และสารวจ
    5. ดูภาพภูมิประเทศของสถานที่ในแบบ 3 มิติ - คุณลักษณะนี้ช่วยเพิ่มความสนุกมากขึ้นสาหรับการดูภูมิประเทศที่เป็ นเนินเขาหรื อภูเขา
       เช่น แกรนด์แคนยอน ไปยังตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ ง (ดู ข้อ 1) เมื่อมุมมองแสดงตาแหน่งนั้นแล้ว ให้ใช้แถบเลื่อนการซูมเพื่อเอียงภูมิ
       ประเทศ
ความต้ องการของระบบ

หากต้องการใช้ Google Earth บน Windows PC อย่างน้อยเครื่ องของคุณต้องมีคุณสมบัติดงต่อไปนี้:
                                                                                ั
                      ระบบปฏิบติการ: Windows 2000, Windows XP, Windows Vista
                                     ั
                      ซี พีย:ู 500 เมกะเฮิร์ตซ์ Pentium 3
                      หน่วยความจาระบบ (RAM): 256 เมกะไบต์อย่างต่า แนะนาให้ใช้ 512 เมกะไบต์
                      ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 400 เมกะไบต์
                                            ่
                      ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที
                      การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 16 เมกะไบต์
                      หน้าจอ: 1024x768 หน้าจอ "16 บิต High Color"
                      DirectX 9 (เพื่อทางานในโหมด Direct X)

หากต้องการใช้ Google Earth บนเครื่ อง Mac อย่างน้อยเครื่ องของคุณต้องมีคุณสมบัติดงต่อไปนี้:
                                                                                 ั
                 ระบบปฏิบติการ: Mac OS X 10.4 หรื อรุ่ นที่ใหม่กว่า
                               ั
                 ซี พีย:ู G4 CPU, 1GHz หรื อเร็ วกว่า
                 หน่วยความจาระบบ (RAM): 256 เมกะไบต์อย่างต่า แนะนาให้ใช้ 512 เมกะไบต์
                 ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 400 เมกะไบต์
                                       ่
                 ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที
                 การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 32 เมกะไบต์
                 หน้าจอ: 1024x768, "Thousands of Colors"

สาหรับ Linux นั้น Google Earth ได้รับการทดสอบใน Ubuntu เวอร์ ชน 6.06 แต่จะสามารถทางานได้กบเวอร์ ชนอื่นๆ ความต้องการของ
                                                              ั                          ั       ั
ฮาร์ ดแวร์ ประกอบด้วย:
                 ซี พีย:ู 500 เมกะเฮิร์ตซ์ Pentium 3
                 หน่วยความจาระบบ (RAM): RAM 128 เมกะไบต์
                 ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 500 เมกะไบต์
                                       ่
                 ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที
                 การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 16 เมกะไบต์
                 หน้าจอ: 1024x768 หน้าจอ "16 บิต High Color"

โปรดตรวจสอบด้วยว่าระบบของคุณมีไดรเวอร์ OpenGL ที่ได้รับการตั้งค่าถูกต้องแล้ว ถ้า Google Earth ทางานช้าและไม่ตอบสนอง อาจ
เป็ นไปได้ว่าระบบของคุณจาเป็ นต้องใช้ไดรเวอร์ วิดีโอแบบอื่น
การควบคุมทิศทางใน Google Earth

     เคล็ดลับ - ปฏิบติตาม บทแนะนาหัวข้อนี้ หรื อเปิ ดวิดีโอด้านล่าง (ภาษาอังกฤษเท่านั้น)
                    ั

     ใน Google Earth คุณสามารถดู Earth และสภาพภูมิประเทศใน มุมมองภาพ 3 มิติ ได้ คุณสามารถควบคุมทิศทางผ่านมุมมองภาพ 3 มิติ
     ของโลกได้หลายวิธี:
                การใช้เมาส์
                การใช้ตวควบคุมทิศทาง
                        ั

     คุณสามารถปรับมุมมองของคุณบนพื้นโลกได้โดย การเอียงภูมิประเทศ เพื่อให้ได้มุมในการมองภาพแบบอื่นที่ดีกว่ามุมมองจากด้านบน
     และท้ายที่สุด คุณสามารถ รี เซ็ตมุมมองเริ่ มต้น ให้เป็ นมุมมองทิศเหนืออยูบน/มุมมองจากด้านบนที่คุณใช้อยู่
                                                                             ่

การใช้ เมาส์

     หากต้องการเริ่ มการควบคุมทิศทางด้วยเมาส์ของคุณ เพียงวางตาแหน่งของเคอร์ เซอร์ ที่ตาแหน่งศูนย์กลางของมุมมองภาพ 3 มิติ (ภาพถ่าย
     พื้นโลก) คลิกปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง (ขวาหรื อซ้าย) เลื่อนเมาส์และสังเกตสิ่ งที่เกิดขึ้นในมุมมองนั้น ขึ้นอยูกบว่าคุณกดปุ่ มไหนของเมาส์ เคอร์ เซอร์
                                                                                                           ่ ั
     จะเปลี่ยนรู ปร่ างเพื่อแสดงการเปลี่ยนลักษณะการใช้งาน โดยการเลื่อนเมาส์ขณะที่กดปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง คุณจะสามารถ:
                ลากมุมมองไปในทิศทางใดก็ได้
                ย่อหรื อขยายภาพ
                เอียงภาพ (ต้องใช้ปมกลางหรื อล้อเลื่อน)
                                   ุ่
                มองจากจุดที่เป็ นมุมมองเดียว
                หมุนภาพ (ต้องใช้ปุ่มกลางหรื อล้อเลื่อน)

     ตารางต่อไปนี้จะอธิบายถึงการดาเนินการทั้งหมดที่คุณสามารถทาได้โดยใช้เมาส์ โปรดดูที่ การควบคุมด้วยแป้ นพิมพ์และเมาส์

เลื่อนมุมมองไปใน หากต้องการเลื่อนมุมมอง ให้วางเคอร์ เซอร์ ของเมาส์ไว้บนหน้าต่างมุมมอง แล้วกดปุ่ ม “ซ้าย” /ปุ่ มหลักของเมาส์ โปรด
ทิศทางใดก็ได้          สังเกตว่าไอคอนของเคอร์ เซอร์ เปลี่ยนจากมือแบบเปิ ด       เป็ นมือปิ ด ดึงมุมมองภาพไปมาเหมือนกับว่าคุณกาลังใช้
(เหนือ ใต้             มือจับบนลูกโลกจริ งๆ และคุณต้องการจะลากอีกด้านหนึ่งของโลกเข้ามาดู
ตะวันออก หรือ
ตะวันตก)




                       คุณสามารถลากไปในทิศทางใดก็ได้เพื่อเปิ ดให้เห็นด้านใหม่ๆ ของโลก และคุณสามารถทาได้แม้กระทังลากให้หมุน
                                                                                                               ่
                       เป็ นวงกลม
เมื่อคุณอยูที่ระดับพื้นแล้ว คุณสามารถไปยังจุดต่างๆ ได้ราวกับว่าคุณกาลังเดินอยู่ โดยใช้แป้ น W, A, S, D หรื อแป้ น
                              ่
                   ลูกศร นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช้ คันโยกการเคลื่อนที่

ลอยไปเรื่อยๆ ตาม หากคุณต้องการลอยไปในทิศทางใดก็ตาม ให้กดปุ่ มซ้าย/ปุ่ มหลักของเมาส์คางไว้ เลื่อนเมาส์ไปช่วงสั้นๆ แล้วปล่อย
                                                                                    ้
พื้นโลก            ปุ่ ม ทาเหมือนกับว่าคุณกาลัง "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกหนึ่งครั้ งในมุมมองภาพ 3 มิติ เพื่อหยุดการเคลื่อนที่


ขยาย               การขยายโดยใช้เมาส์ทาได้หลายวิธี

                                คุณสามารถดับเบิลคลิกที่ใดก็ได้ในมุมมองภาพ 3 มิติเพื่อขยายจุดที่คลิกนั้น คลิกหนึ่งครั้งเพื่อหยุด หรื อ
                                 ดับเบิลคลิกเพื่อขยายมากขึ้น
                                หากเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน ให้เลื่อนล้อเลื่อนเข้าหาตัวเพื่อทาการขยาย ใช้ปม ALT (Option ในเครื่ อง
                                                      ้                                                 ุ่
                                 Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อขยายเพิ่มขึ้นทีละน้อย การตั้งค่าเพิ่มเติม
                                นอกจากนี้ คุณยังสามารถวางเคอร์ เซอร์ บนหน้าจอและกดปุ่ ม “ขวา” ที่เมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก
                                 สาหรับเครื่ อง Mac) ทันทีที่เคอร์ เซอร์ เปลี่ยนเป็ นลูกศรคู่ ให้เลื่อนเมาส์ไปข้างหลังหรื อดึงเข้าหาตัวคุณ
                                 แล้วปล่อยปุ่ มเมื่อขยายถึงระดับที่ตองการ โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมองของ
                                                                     ้
                                 คุณจะซูมเข้าหาเครื่ องหมายนี้

                                 หากคุณต้องการขยายไปเรื่ อยๆ ให้กดปุ่ มค้างไว้แล้วดึงเมาส์ลงช่วงสั้นๆ จากนั้นปล่อยปุ่ ม ทาเหมือนกับ
                                 ว่าคุณกาลัง "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกในหน้าต่างมุมมองหนึ่งครั้งเพื่อหยุดการเคลื่อนไหว โปรดทราบว่า
                                 มุมมองของคุณจะเคลื่อน (เอียง) เมื่อคุณเข้าใกล้ระดับพื้น
                                หากเป็ นเครื่ องแล็ปท็อปของ Macintosh บางรุ่ น คุณสามารถใช้นิ้วสองนิ้วลากไปมาบนแทร็ กแพ็ดเพื่อ
                                 ย่อและขยายได้
ย่อ                การย่อโดยใช้เมาส์ทาได้หลายวิธี

                                ใช้ปม “ขวา” ของเมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) ดับเบิลคลิกที่ใดก็ได้ในมุมมอง
                                     ุ่
                                 ภาพ 3 มิติ เพื่อย่อจากจุดที่คลิกนั้น มุมมองจะย่อลงในระดับหนึ่ง คลิกหนึ่ งครั้งเพื่อหยุด หรื อดับเบิล
                                 คลิก (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) เพื่อย่อมากขึ้น
                                หากเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน คุณสามารถเลื่อนล้อเลื่อนออกห่างจากตัว (เลื่อนไปข้างหน้า) เพื่อทาการย่อ
                                                  ้
                                 ใช้ปม ALT (Option ในเครื่ อง Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อย่อทีละน้อย การตั้งค่าเพิ่มเติม
                                     ุ่
                                คุณยังสามารถวางเคอร์ เซอร์ บนหน้าจอและกดปุ่ ม “ขวา” ที่เมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง
                                 Mac) ทันทีที่เคอร์ เซอร์ เปลี่ยนเป็ นลูกศรคู่ ให้เลื่อนเมาส์มาข้างหน้าหรื อดันออกห่างจากตัวคุณ แล้ว
                                 ปล่อยปุ่ มเมื่อคุณได้ระดับการย่อที่ตองการ โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมอง
                                                                       ้
                                 ของคุณจะซูมเข้าหาเครื่ องหมายนี้ หากคุณต้องการย่อไปเรื่ อยๆ ให้กดปุ่ มขวาค้างไว้ (กดปุ่ ม CTRL แล้ว
                                 คลิก สาหรับเครื่ อง Mac) แล้วดันเมาส์ไปข้างหน้าช่วงสั้นๆ จากนั้นปล่อยปุ่ ม ทาเหมือนกับว่าคุณกาลัง
                                 "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกหนึ่งครั้ งในหน้าต่างมุมมองเพื่อหยุดการเคลื่อนที่
เอียงมุมมอง        หากเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถเอียงมุมมองได้โดยการกดปุ่ มดังกล่าว แล้วเลื่อน
                                                      ้
เมาส์ไปข้างหน้าหรื อข้างหลัง ถ้าเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน คุณสามารถเอียงมุมมองได้โดยการกดปุ่ ม SHIFT และเลื่อน
                                                                   ้
                     ล้อเลื่อน นอกจากนี้ คุณยังสามารถกด Shift และปุ่ มด้านซ้ายของเมาส์ และลาก โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะ
                     ปรากฏ และมุมมองของคุณจะเอียงจากเครื่ องหมายนี้


                     โปรดดูเพิมเติมได้ที่ การเอียงภาพและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา
                              ่

ดู                   เมื่อต้องการมองจากจุดที่เป็ นมุมมองเดียว ราวกับว่าคุณหันศีรษะของคุณเอง ให้กด Ctrl และปุ่ มซ้ายของเมาส์ และลาก

หมุนมุมมอง           หากเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถหมุนมุมมองโดยกดที่ปมตรงกลางและเลื่อน
                                                        ้                                           ุ่
                     เมาส์ไปทางซ้ายหรื อขวา นอกจากนี้ คุณยังสามารถกด Shift และปุ่ มด้านซ้ายของเมาส์ และลาก โปรดทราบว่า
                     เครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมองของคุณจะหมุนรอบๆ เครื่ องหมายนี้


                     คุณสามารถใช้ปม CTRL ( สาหรับเครื่ อง Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อหมุนมุมมอง กดปุ่ ม CTRL ( สาหรับเครื่ อง
                                  ุ่
                     Mac) และเลื่อนล้อเลื่อน "ขึ้น” เพื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา หรื อกด CTRL ( สาหรับเครื่ อง Mac) + เลื่อนล้อเลื่อน “ลง”
                     เพื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา โปรดดูเพิ่มเติมได้ที่ การเอียงภาพและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา


ดาเนินการกับสิ่ ง    เรี ยนรู ้เพิ่มเติม
ปลูกสร้ าง 3 มิติ

ล้ อเลื่อนของเมาส์   ดูที่ดานบน ในการเปลี่ยนการตั้งค่าเหล่านี้ ให้คลิกที่ เครื่ องมือ > ตัวเืื ลือก > การควบคุมทิ ศทาง (ใน Mac: Google
                           ้
                     Earth > ค่ ากาหนด > การควบคุมทิ ศทาง > การตังค่ าล้ อเลื่อนของเมาส์ ) เลื่อนแถบเลื่อนเพื่อตั้งค่าความเร็ ว-ช้าที่คุณ
                                                                 ้
                     ต้องการให้จุดมุมมองของคุณบนพื้นโลกทาการย่อหรื อขยาย ทาเครื่ องหมายที่ กลับทิ ศทางของการย่ อ/ขยายด้ วย
                     ล้ อเลื่อนของเมาส์ เพื่อกลับทิศทางการย่อ/ขยายเมื่อคุณใช้ลอเลื่อนของเมาส์
                                                                              ้

การควบคุมอื่นๆ       (Windows และ Linux) เครื่ องมือ > ตัวเลือก > การควบคุมทิ ศทาง > โหมดควบคุมทิ ศทาง > เลื่อนและย่ อ/ขยาย
                     (สาหรับเครื่ อง Mac: Google Earth > ค่ ากาหนด > การควบคุมทิ ศทาง > ตัวควบคุมที่ ไม่ ใช้ เมาส์ ) หากคุณมีจอยสติ๊ก
                     หรื ออุปกรณ์ควบคุมที่ไม่ใช่เมาส์ คุณสามารถเปลี่ยนการเคลื่อนที่ของมุมมองในมุมมองภาพ 3 มิติได้ที่ การตังค่ า
                                                                                                                          ้
                     อุปกรณ์ ควบคุมที่ ไม่ ใช่ เมาส์ เลือก ตามผู้ใช้ เพื่อเลื่อนจุดที่คุณสามารถมองเห็นได้กว้าง หรื อ ตามพื ้นโลก เพื่อเลื่อน
                     ลูกโลก ทาเครื่ องหมายที่ ย้ อนการควบคุม เพื่อย้อนการทางานของจอยสติก
                                                                                       ๊
การใช้ ตัวควบคุมทิศทาง

    หากต้องการดูและใช้ตวควบคุมทิศทาง ให้เลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มุมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ หลังจากที่คุณเริ่ มใช้ Google Earth และเลื่อน
                               ั
    เคอร์ เซอร์ ไปที่บริ เวณนี้แล้ว ตัวควบคุมทิศทางจะค่อยๆ เลือนหายไปเมื่อคุณเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปยังบริ เวณอื่น หากต้องการดูตวควบคุม
                                                                                                                             ั
    เหล่านี้อีกครั้ง เพียงเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มุมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ

    หมายเหตุ - หากตัวควบคุมทิศทางไม่ปรากฏขึ้นเมื่อคุณเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ ให้คลิก มุมมอง > แสดงการ
                                                                             ุ
    ควบคุมทิ ศทาง > แบบอัตโนมัติ แล้วลองอีกครั้ง

    หากต้องการซ่ อนหรื อแสดงไอคอนเข็มทิศในมุมมองภาพ 3 มิติ ให้คลิก มุมมอง > เข็มทิ ศ นอกจากนี้ โปรดดู การแสดงหรื อการซ่ อน
    รายการในมุมมองภาพ 3 มิติ

    การสั่งงานตัวควบคุมทิศทางของ Google Earth สามารถทาได้เช่นเดียวกับการควบคุมทิศทางด้วยเมาส์ นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช้ตว    ั
    ควบคุมนี้เพื่อซูมและเลื่อนเข้าหา (ในบางครั้ งสาหรับการดูสภาพภูมิประเทศ) หรื อหมุนมุมมอง แผนผังด้านล่างจะแสดงตัวควบคุมนี้ และ
    อธิบายถึงการทางานของส่ วนต่างๆ
                                 1. คลิกปุ่ มทิศเหนืออยูบน เพื่อรี เซ็ตมุมมองให้ทิศเหนืออยูดานบนของหน้าจอ คลิกและลากวงแหวน
                                                        ่                                  ่ ้
                                    ควบคุมทิศทางเพื่อหมุนภาพ
                                 2. ใช้คนโยก มุมมอง (เพื่อดูรอบๆ จากจุดมุมมองจุ ดเดียว เหมือนขณะที่คุณหันหน้า คลิกลูกศรเพื่อดูใน
                                        ั
                                    ทิศทางนั้น หรื อกดปุ่ มของเมาส์เพื่อเปลี่ยนมุมมอง หลังจากคลิกลูกศรแล้ว ให้เลื่อนเมาส์ไปรอบๆ คัน
                                    โยกเพื่อเปลี่ยนทิศทางของการเคลื่อนที่
                                 3. ใช้คนโยก ย้าย เพื่อย้ายตาแหน่งจากที่หนึ่งไปยังที่อื่น คลิกลูกศรเพื่อดูในทิศทางนั้น หรื อกดปุ่ มของ
                                        ั
                                    เมาส์เพื่อเปลี่ยนมุมมอง หลังจากคลิกลูกศรแล้ว ให้เลื่อนเมาส์ไปรอบๆ คันโยกเพื่อเปลี่ยนทิศทางของ
                                    การเคลื่อนที่
                                 4. ใช้แถบเลื่อนย่อ/ขยาย เพื่อย่อหรื อขยาย (+ เพื่อขยาย - เพื่อย่อ) หรื อคลิกไอคอนที่ปลายของแถบเลื่อน
                                    เมื่อคุณย้ายไปใกล้พ้ืนมากขึ้น Google Earth จะเคลื่อน (เอียง) เพื่อเปลี่ยนมุมมองให้ขนานกับ
                                    พื้นผิวโลก คุณสามารถปิ ดการเอียงอัตโนมัติน้ ีได้ (เครื่ องมือ > ตัวเลือก > ทิศทาง > การควบคุมทิศทาง
                                    ในเครื่ อง Mac: Google Earth > ค่ากาหนด > ทิศทาง > การควบคุมทิศทาง)

                            คุณสามารถใช้แป้ นพิมพ์เพื่อควบคุมทิศทางได้เช่นกัน โปรดดูที่ การควบคุมทิศทางในมุมมองภาพ 3 มิติ ในการ
                            ควบคุมแป้ นพิมพ์เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม
การเอียงและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา

    เรี ยนรู ้วิธีเอียงโดยใช้เมาส์

    เมื่อเริ่ มต้น Google Earth ครั้งแรก มุมมองเริ่ มต้นของโลกคือมุมมองแบบ "มองลงจากด้านบน" เป็ นการมองตรง
              เอียงภูมิประเทศระหว่ าง 0 - 90 องศา - คุณสามารถใช้เมาส์เพื่อเอียงมุมมองให้ได้มุมมองที่แตกต่างออกไปสาหรับพื้นที่ที่คุณ
               กาลังสารวจอยู่ คุณสามารถเอียงได้มากที่สุด 90 องศา ซึ่ งจะแสดงมุมมองของวัตถุ รวมถึงแนวเส้นขอบฟ้ าในบางกรณี
              เปิ ดใช้ งานภูมิประเทศ - การใช้คุณลักษณะการเอียงจะดูน่าสนใจยิงขึ้นเมื่อคุณมองดูพ้ืนโลกในส่ วนที่มีลกษณะภูมิประเทศเป็ น
                                                                            ่                                     ั
               ภูเขา โปรดเลือก ภูมิประเทศ ไว้ในแผงเลเยอร์
              หมุนมุมมองเพื่อเปลี่ยนมุมในการมองใหม่ - เมื่อคุณเอียงมุมมองในขณะที่คุณกาลังมองวัตถุบางอย่างอยู่ เช่น เนินเขา คุณ
               สามารถหมุนมุมมองไปรอบๆ วัตถุน้ นได้ดวย ขณะทาเช่นนี้ วัตถุยงคงอยูตรงกลางของมุมมอง แต่คุณกาลังมองจากมุมมองที่ต่าง
                                               ั     ้                      ั   ่
               ออกไป (นันคือ มองจากทางทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก) ในขณะที่คุณหมุนไปรอบๆ วัตถุน้ น
                        ่                                                                                          ั
              ใช้ ปุ่มตรงกลางเมาส์ (ถ้ ามี) เพื่อให้ การเคลื่อนที่ไม่ สะดุด - ถ้าเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถ
                                                                                                                  ้
               กดปุ่ มดังกล่าวเพื่อเอียงและหมุนมุมมองได้ เลื่อนเมาส์ข้ ึนหรื อลงเพือเอียงมุมมอง และเลื่อนเมาส์ไปทางซ้ายหรื อขวาเพื่อหมุน
                                                                                        ่
               มุมมอง ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การใช้เมาส์
                           ้

    ภาพด้านล่างแสดงถึงการเปรี ยบเทียบมุมมองของยอดเขาชาสตาในแคลิฟอร์ เนียในแบบเอียงและไม่เอียงมุมมอง




    มุมมองจากด้านบน                                            มุมมองที่เอียง


    คุณสามารถปรับลักษณะของภูมิประเทศได้หากคุณต้องการให้มีการยกระดับความสู งมากขึ้น ในการดาเนินการนี้ ให้คลิก เครื่ องมือ >
    ตัวเลือก > มุมมองภาพ 3 มิติ จากเมนู เครื่ องมือ (สาหรับเครื่ อง Mac ให้เลือก Google Earth > ค่ ากาหนด > มุมมองภาพ 3 มิติ) และเปลี่ยน
    ค่า การขยายระดับความสู ง คุณสามารถตั้งค่าได้ต้ งแต่ 1 ถึง 3 รวมจุดทศนิยม การตั้งค่าทัวไปคือ 1.5 ซึ่ งเป็ นลักษณะของระดับความสู งตาม
                                                     ั                                    ่
    ธรรมชาติ ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ ค่ากาหนดของการดูภาพ
                  ้
การรีเซ็ ตมุมมองเริ่ มต้ น

     ภายหลังการเอียงและหมุนมุมมองภาพ 3 มิติใน Google Earth คุณสามารถรี เซ็ตกลับไปที่ค่าเริ่ มต้น มุมมองทิศเหนืออยูบนและมุมมองจาก
                                                                                                                  ่
     ด้านบน ได้อย่างรวดเร็ ว การดาเนินการ:
               คลิกปุ่ ม "ทิศเหนืออยูบน" เพื่อตั้งค่ามุมมองใหม่ ให้ทิศเหนืออยูบนของมุมมอง
                                      ่                                        ่
            (Windows และ Linux เท่านั้น) คลิกในมุมมองภาพ 3 มิติ และพิมพ์ r ที่แป้ นพิมพ์เพื่อรี เซ็ตมุมมอง (ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การควบคุม
                                                                                                                ้
             ด้วยแป้ นพิมพ์)
หมายเหตุ - หากคุณต้องการกลับไปยังจุดที่คุณรู ้จกและคุนเคย ให้คลิกเครื่ องหมายบอกตาแหน่ ง ตาแหน่ งเริ่ มต้ น ในโฟลเดอร์ สถานที่ของฉั น
                                               ั     ้
จะทาให้คุณกลับไปที่จุดศูนย์กลางของประเทศของคุณ (หรื อประเทศที่ใช้ภาษาเดียวกับคุณ) คุณสามารถแก้ไขตาแหน่งสาหรับเครื่ องหมายบอก
ตาแหน่ง ตาแหน่ งเริ่ มต้ น ได้หากคุณต้องการ ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การแก้ไขสถานที่และโฟลเดอร์
                                               ้

     โปรดพิจารณาการใช้ หน้าต่างแผนที่ภาพรวม ร่ วมด้วย เพราะเป็ นวิธีหนึ่งที่จะทาให้คุณได้มุมมองตาแหน่งเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อ
                                                                                                                               ่
     คุณทาการขยายเข้าไปยังสถานที่ที่ไม่คนเคย
                                        ุ้

การตั้งค่ าตาแหน่ งเริ่มต้ น

     คุณสามารถตั้งค่าตาแหน่งเริ่ มต้น (ค่าเริ่ มต้น) ให้ปรากฏขึ้นทุกครั้งที่คณเปิ ดใช้งาน Google Earth ได้ โดยการเลื่อนมุมมองไปยังตาแหน่งที่
                                                                             ุ
     เหมาะสม แล้วคลิก มุมมอง > กาหนดจุดนี ้เป็ นตาแหน่ งเริ่ มต้ นของฉั น

     การแสดงดวงอาทิตย์

     คุณสามารถแสดงดวงอาทิตย์และแสงอาทิตย์ในภูมิประเทศได้ ดังนี้:
          1. คลิก มุมมอง > ดวงอาทิ ตย์ หรื อกดปุ่ มดวงอาทิตย์     Google Earth จะแสดงระดับแสงอาทิตย์ปัจจุบนในสถานที่ซ่ ึ งคุณดูอยู่
                                                                                                          ั
             โปรดทราบว่า ตัวเลื่อนเวลา จะปรากฏ
          2. ในการเปลี่ยนเวลา ให้ลากตัวเลื่อนไปทางซ้ายหรื อขวา ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบตาแหน่งและเวลาของปี คุณสามารถดูดวงอาทิตย์ข้ ึนหรื อ
                                                                              ่ ั
             ตกขณะทีมองไปทางตะวันออกหรื อตะวันตกได้
                    ่
          3. ในการแสดงภาพเคลื่อนไหวของแสงอาทิตย์ในภูมิประเทศ ให้คลิก ปุ่ มเล่นของแถบเลื่อนเวลา
          4. ในการซ่ อนดวงอาทิตย์ คลิก มุมมอง > ดวงอาทิ ตย์ หรื อกดปุ่ มดวงอาทิตย์
อ้างอิง
                                       http://earth.google.com/intl/th/userguide/v4/#adding_content

Contenu connexe

Similaire à กูเกิลเอิร์ธ

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
Kriangx Ch
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
Piyaboon Nilkaew
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
eyechillchill
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp023dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
ChaleeTularuk
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
Winwin Nim
 
การสร้างห้องนั่งเล่น
การสร้างห้องนั่งเล่นการสร้างห้องนั่งเล่น
การสร้างห้องนั่งเล่น
kruood
 

Similaire à กูเกิลเอิร์ธ (15)

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
13510255 maptor
13510255 maptor13510255 maptor
13510255 maptor
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlash
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp023dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
3dmaxvisualization 120607030156-phpapp02
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
การสร้างห้องนั่งเล่น
การสร้างห้องนั่งเล่นการสร้างห้องนั่งเล่น
การสร้างห้องนั่งเล่น
 
T
TT
T
 
DIA - Diagram
DIA - DiagramDIA - Diagram
DIA - Diagram
 
คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 

กูเกิลเอิร์ธ

  • 1. กูเกิลเอิร์ธ (Google Earth) เป็ นซอฟต์แวร์ ที่พฒนาโดยบริ ษทกูเกิล สาหรับการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล ดูภาพถ่ายทางอากาศ ั ั พร้อมทั้งแผนที่ เส้นทาง และผังเมืองซ้อนทับลงในแผนที่ รวมทั้งระบบ จีไอเอส ในรู ปแบบ 3 มิติ กูเกิลเอิร์ธ ใช้ขอมูลจาก ภาพถ่ายทางอากาศของ U.S. public domain และ ภาพถ่ายดาวเทียมของคียโฮล มาดัดแปลงร่ วมกับ ระบบ ้ ์ แผนที่ของกูเกิล จาก กูเกิลแมพ รวมทั้งการทางานร่ วมกับ กูเกิลโลคอล เพื่อค้นหารายชื่อร้าน เช่น ร้านขายของ ธนาคาร และปั๊มน้ ามันใน แผนที่ได้ โดยนาแผนที่มาซ้อนทับลงบนตาแหน่งที่ตองการ ตาแหน่งที่ตองการค้นหา สามารถหาได้จาก บ้านเลขที่ ลองจิจูด ละติจูด ทั้งยัง ้ ้ ทางานผ่านรู ปแบบภาษาของ KML (Keyhole Markup Language) ภาพตึกจาลอง 3 มิติ ที่มีลกษณะเป็ นสี เทาในกูเกิลเอิร์ธ ได้รับลิขสิ ทธิ์ส่วนหนึ่งมาจาก ซอฟต์แวร์ ของ แซนบอร์ น (Sanborn) ในชื่อ ซิตี ั เซ็ทส์ (CitySets) โดยรู ปตึก 3มิติในรู ปแบบที่สมบูรณ์สามารถเรี ยกดูได้ผ่านทางซิ ตีเซ็ทส์ ข้ อมูลเบื้ องต้ น ยินดีตอนรับสู่ Google Earth เมื่อคุณ ดาวน์โหลด และ ติดตั้ง Google Earth คอมพิวเตอร์ ของคุณจะกลายเป็ น ้ หน้าต่างเปิ ดไปสู่ ทุกหนทุกแห่ งที่คุณสามารถดูภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายจากดาวเทียมความละเอียดสู ง รู ปภาพ ภูมิประเทศที่มีความต่างระดับ ป้ ายชื่อถนน รายชื่อธุรกิจ เป็ นต้น ดูที่ 5 สิ่ งยอดเยียมที่คุณสามารถทาได้ง่ายๆ ใน ่ Google Earth ทาความรู้ จักกับ Google Earth รู ปภาพด้านล่างนี้อธิบายถึงคุณลักษณะบางอย่างในหน้าต่างหลักของ Google Earth:
  • 2. 1. แผงการค้นหา - ใช้เพื่อ หาสถานที่และเส้นทาง และ จัดการผลการค้นหา Google Earth EC อาจแสดงแท็บอื่นๆ เพิ่มเติมที่นี่ 2. แผนที่ภาพรวม - ใช้คุณลักษณะนี้เพื่อแสดง มุมมองเพิ่มเติม ของพื้นโลก 3. ซ่ อน/แสดงแถบด้ านข้ าง - คลิกที่นี่เพื่อเปิ ดหรื อแสดงแถบด้านข้าง (แผงการค้นหา สถานที่ และเลเยอร์) 4. เครื่องหมายบอกตาแหน่ ง - คลิกที่นี่เพื่อเพิม เครื่ องหมายบอกตาแหน่ง ่ 5. รูปหลายเหลี่ยม - คลิกที่นี่เพื่อ เพิ่มรู ปหลายเหลี่ยม 6. เส้ นทาง - คลิกที่นี่เพื่อ เพิ่มเส้นทาง (หนึ่งเส้นหรื อมากกว่า) 7. ภาพซ้ อนทับ - คลิกที่นี่เพื่อเพิ่ม ภาพซ้อนทับบนพื้นโลก 8. เครื่องมือวัด - คลิกที่นี่เพื่อ วัดระยะทางหรื อขนาดของพื้นที่ 9. ดวงอาทิตย์ - คลิกที่นี่เพื่อ แสดงแสงอาทิตย์ ในภูมิประเทศ 10. Sky - คลิกที่นี่เพื่อ ดูดาว กลุ่มดาว กาแล็กซี ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ ของโลก 11. อีเมล - คลิกที่นี่เพื่อส่ งอีเมล มุมมอง หรื อ รู ปภาพ 12. พิมพ์ - คลิกที่นี่เพื่อสั่งพิมพ์มุมมองปัจจุบนของพื้นโลก ั 13. แสดงใน Google Maps - คลิกที่นี่เพื่อแสดงมุมมองปัจจุบนใน Google Maps ในเว็บเบราว์เซอร์ ของคุณ ั 14. ตัวควบคุมทิศทาง - ใช้เครื่ องมือเหล่านี้เพื่อเอียง ย่อ/ขยาย และเลื่อนไปรอบๆ (ดูดานล่าง) ้ 15. แผงเลเยอร์ - ใช้แผงนี้เพื่อแสดงจุดที่น่าสนใจ 16. แผงสถานที่ - ใช้แผงนี้เพื่อ ระบุตาแหน่ง บันทึก จัดระเบียบ และเยียมชมเครื่ องหมายบอกตาแหน่งอีกครั้ ง ่ 17. เพิ่มเนื้อหา - คลิกที่นี่เพื่อนาเข้าเนื้อหาดีๆ จาก ห้องแสดงภาพ KML 18. มุมมองภาพ 3 มิติ - ดูลูกโลกและภูมิประเทศในหน้าต่างนี้ 19. แถบสถานะ - ดูขอมูลพิกด ระดับความสู ง และสถานะการส่ งสตรี มภาพถ่ายที่นี่ ้ ั 5 สิ่ งยอดเยียมที่คณสามารถทาได้ ง่ายๆ ใน Google Earth ่ ุ ต้องการเข้าใช้งานและเริ่ มต้นความสนุกสนานไปกับ Google Earth? ลองวิธีดงต่อไปนี้: ั 1. ดูภาพบ้ านของคุณ โรงเรียน หรือสถานที่ใดก็ได้ บนโลกใบนี้ - คลิกที่ บินไปที่ ป้ อนตาแหน่งในช่องป้ อนข้อมูล และคลิกปุ่ ม ค้ นหา ใน ผลการค้นหา (แผงสถานที่) ให้ดบเบิลคลิกที่ตาแหน่ง Google Earth จะพาคุณบินไปที่ตาแหน่งนี้ ั ปุ่ มค้นหา 2. เดินทางไปยังจุดต่ างๆ ของโลก - ในแผงสถานที่ ให้เลือกโฟลเดอร์ ชมสถานที่ น่าสนใจ และคลิกปุ่ ม เล่ นการเดินทาง: 3. หาเส้ นทางการขับขี่จากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง และบินไปตามเส้ นทาง - โปรดดูที่ การหาเส้นทาง และ การเดินทางไปตาม เส้นทาง 4. ดูสถานที่และลักษณะรูปร่ างที่ยอดเยี่ยมที่สร้ างโดยผู้ใช้ รายอื่นของ Google Earth - ในแผงเลเยอร์ เข้าไปดูที่ หน้ าแสดงของชุมชน เครื่ องหมายบอกตาแหน่งและลักษณะรู ปร่ างอื่นๆ ที่น่าสนใจจะปรากฏขึ้นในมุมมองภาพ 3 มิติ ดับเบิลคลิกจุดที่น่าสนใจเหล่านี้เพื่อดู และสารวจ 5. ดูภาพภูมิประเทศของสถานที่ในแบบ 3 มิติ - คุณลักษณะนี้ช่วยเพิ่มความสนุกมากขึ้นสาหรับการดูภูมิประเทศที่เป็ นเนินเขาหรื อภูเขา เช่น แกรนด์แคนยอน ไปยังตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ ง (ดู ข้อ 1) เมื่อมุมมองแสดงตาแหน่งนั้นแล้ว ให้ใช้แถบเลื่อนการซูมเพื่อเอียงภูมิ ประเทศ
  • 3. ความต้ องการของระบบ หากต้องการใช้ Google Earth บน Windows PC อย่างน้อยเครื่ องของคุณต้องมีคุณสมบัติดงต่อไปนี้: ั  ระบบปฏิบติการ: Windows 2000, Windows XP, Windows Vista ั  ซี พีย:ู 500 เมกะเฮิร์ตซ์ Pentium 3  หน่วยความจาระบบ (RAM): 256 เมกะไบต์อย่างต่า แนะนาให้ใช้ 512 เมกะไบต์  ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 400 เมกะไบต์ ่  ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที  การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 16 เมกะไบต์  หน้าจอ: 1024x768 หน้าจอ "16 บิต High Color"  DirectX 9 (เพื่อทางานในโหมด Direct X) หากต้องการใช้ Google Earth บนเครื่ อง Mac อย่างน้อยเครื่ องของคุณต้องมีคุณสมบัติดงต่อไปนี้: ั  ระบบปฏิบติการ: Mac OS X 10.4 หรื อรุ่ นที่ใหม่กว่า ั  ซี พีย:ู G4 CPU, 1GHz หรื อเร็ วกว่า  หน่วยความจาระบบ (RAM): 256 เมกะไบต์อย่างต่า แนะนาให้ใช้ 512 เมกะไบต์  ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 400 เมกะไบต์ ่  ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที  การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 32 เมกะไบต์  หน้าจอ: 1024x768, "Thousands of Colors" สาหรับ Linux นั้น Google Earth ได้รับการทดสอบใน Ubuntu เวอร์ ชน 6.06 แต่จะสามารถทางานได้กบเวอร์ ชนอื่นๆ ความต้องการของ ั ั ั ฮาร์ ดแวร์ ประกอบด้วย:  ซี พีย:ู 500 เมกะเฮิร์ตซ์ Pentium 3  หน่วยความจาระบบ (RAM): RAM 128 เมกะไบต์  ฮาร์ ดดิสก์: พื้นที่วาง 500 เมกะไบต์ ่  ความเร็ วเครื อข่าย: 128 กิโลบิต/วินาที  การ์ ดแสดงผล: แสดงภาพ 3D ได้ มีหน่วยความจา VRAM 16 เมกะไบต์  หน้าจอ: 1024x768 หน้าจอ "16 บิต High Color" โปรดตรวจสอบด้วยว่าระบบของคุณมีไดรเวอร์ OpenGL ที่ได้รับการตั้งค่าถูกต้องแล้ว ถ้า Google Earth ทางานช้าและไม่ตอบสนอง อาจ เป็ นไปได้ว่าระบบของคุณจาเป็ นต้องใช้ไดรเวอร์ วิดีโอแบบอื่น
  • 4. การควบคุมทิศทางใน Google Earth เคล็ดลับ - ปฏิบติตาม บทแนะนาหัวข้อนี้ หรื อเปิ ดวิดีโอด้านล่าง (ภาษาอังกฤษเท่านั้น) ั ใน Google Earth คุณสามารถดู Earth และสภาพภูมิประเทศใน มุมมองภาพ 3 มิติ ได้ คุณสามารถควบคุมทิศทางผ่านมุมมองภาพ 3 มิติ ของโลกได้หลายวิธี:  การใช้เมาส์  การใช้ตวควบคุมทิศทาง ั คุณสามารถปรับมุมมองของคุณบนพื้นโลกได้โดย การเอียงภูมิประเทศ เพื่อให้ได้มุมในการมองภาพแบบอื่นที่ดีกว่ามุมมองจากด้านบน และท้ายที่สุด คุณสามารถ รี เซ็ตมุมมองเริ่ มต้น ให้เป็ นมุมมองทิศเหนืออยูบน/มุมมองจากด้านบนที่คุณใช้อยู่ ่ การใช้ เมาส์ หากต้องการเริ่ มการควบคุมทิศทางด้วยเมาส์ของคุณ เพียงวางตาแหน่งของเคอร์ เซอร์ ที่ตาแหน่งศูนย์กลางของมุมมองภาพ 3 มิติ (ภาพถ่าย พื้นโลก) คลิกปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง (ขวาหรื อซ้าย) เลื่อนเมาส์และสังเกตสิ่ งที่เกิดขึ้นในมุมมองนั้น ขึ้นอยูกบว่าคุณกดปุ่ มไหนของเมาส์ เคอร์ เซอร์ ่ ั จะเปลี่ยนรู ปร่ างเพื่อแสดงการเปลี่ยนลักษณะการใช้งาน โดยการเลื่อนเมาส์ขณะที่กดปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง คุณจะสามารถ:  ลากมุมมองไปในทิศทางใดก็ได้  ย่อหรื อขยายภาพ  เอียงภาพ (ต้องใช้ปมกลางหรื อล้อเลื่อน) ุ่  มองจากจุดที่เป็ นมุมมองเดียว  หมุนภาพ (ต้องใช้ปุ่มกลางหรื อล้อเลื่อน) ตารางต่อไปนี้จะอธิบายถึงการดาเนินการทั้งหมดที่คุณสามารถทาได้โดยใช้เมาส์ โปรดดูที่ การควบคุมด้วยแป้ นพิมพ์และเมาส์ เลื่อนมุมมองไปใน หากต้องการเลื่อนมุมมอง ให้วางเคอร์ เซอร์ ของเมาส์ไว้บนหน้าต่างมุมมอง แล้วกดปุ่ ม “ซ้าย” /ปุ่ มหลักของเมาส์ โปรด ทิศทางใดก็ได้ สังเกตว่าไอคอนของเคอร์ เซอร์ เปลี่ยนจากมือแบบเปิ ด เป็ นมือปิ ด ดึงมุมมองภาพไปมาเหมือนกับว่าคุณกาลังใช้ (เหนือ ใต้ มือจับบนลูกโลกจริ งๆ และคุณต้องการจะลากอีกด้านหนึ่งของโลกเข้ามาดู ตะวันออก หรือ ตะวันตก) คุณสามารถลากไปในทิศทางใดก็ได้เพื่อเปิ ดให้เห็นด้านใหม่ๆ ของโลก และคุณสามารถทาได้แม้กระทังลากให้หมุน ่ เป็ นวงกลม
  • 5. เมื่อคุณอยูที่ระดับพื้นแล้ว คุณสามารถไปยังจุดต่างๆ ได้ราวกับว่าคุณกาลังเดินอยู่ โดยใช้แป้ น W, A, S, D หรื อแป้ น ่ ลูกศร นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช้ คันโยกการเคลื่อนที่ ลอยไปเรื่อยๆ ตาม หากคุณต้องการลอยไปในทิศทางใดก็ตาม ให้กดปุ่ มซ้าย/ปุ่ มหลักของเมาส์คางไว้ เลื่อนเมาส์ไปช่วงสั้นๆ แล้วปล่อย ้ พื้นโลก ปุ่ ม ทาเหมือนกับว่าคุณกาลัง "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกหนึ่งครั้ งในมุมมองภาพ 3 มิติ เพื่อหยุดการเคลื่อนที่ ขยาย การขยายโดยใช้เมาส์ทาได้หลายวิธี  คุณสามารถดับเบิลคลิกที่ใดก็ได้ในมุมมองภาพ 3 มิติเพื่อขยายจุดที่คลิกนั้น คลิกหนึ่งครั้งเพื่อหยุด หรื อ ดับเบิลคลิกเพื่อขยายมากขึ้น  หากเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน ให้เลื่อนล้อเลื่อนเข้าหาตัวเพื่อทาการขยาย ใช้ปม ALT (Option ในเครื่ อง ้ ุ่ Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อขยายเพิ่มขึ้นทีละน้อย การตั้งค่าเพิ่มเติม  นอกจากนี้ คุณยังสามารถวางเคอร์ เซอร์ บนหน้าจอและกดปุ่ ม “ขวา” ที่เมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) ทันทีที่เคอร์ เซอร์ เปลี่ยนเป็ นลูกศรคู่ ให้เลื่อนเมาส์ไปข้างหลังหรื อดึงเข้าหาตัวคุณ แล้วปล่อยปุ่ มเมื่อขยายถึงระดับที่ตองการ โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมองของ ้ คุณจะซูมเข้าหาเครื่ องหมายนี้ หากคุณต้องการขยายไปเรื่ อยๆ ให้กดปุ่ มค้างไว้แล้วดึงเมาส์ลงช่วงสั้นๆ จากนั้นปล่อยปุ่ ม ทาเหมือนกับ ว่าคุณกาลัง "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกในหน้าต่างมุมมองหนึ่งครั้งเพื่อหยุดการเคลื่อนไหว โปรดทราบว่า มุมมองของคุณจะเคลื่อน (เอียง) เมื่อคุณเข้าใกล้ระดับพื้น  หากเป็ นเครื่ องแล็ปท็อปของ Macintosh บางรุ่ น คุณสามารถใช้นิ้วสองนิ้วลากไปมาบนแทร็ กแพ็ดเพื่อ ย่อและขยายได้ ย่อ การย่อโดยใช้เมาส์ทาได้หลายวิธี  ใช้ปม “ขวา” ของเมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) ดับเบิลคลิกที่ใดก็ได้ในมุมมอง ุ่ ภาพ 3 มิติ เพื่อย่อจากจุดที่คลิกนั้น มุมมองจะย่อลงในระดับหนึ่ง คลิกหนึ่ งครั้งเพื่อหยุด หรื อดับเบิล คลิก (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) เพื่อย่อมากขึ้น  หากเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน คุณสามารถเลื่อนล้อเลื่อนออกห่างจากตัว (เลื่อนไปข้างหน้า) เพื่อทาการย่อ ้ ใช้ปม ALT (Option ในเครื่ อง Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อย่อทีละน้อย การตั้งค่าเพิ่มเติม ุ่  คุณยังสามารถวางเคอร์ เซอร์ บนหน้าจอและกดปุ่ ม “ขวา” ที่เมาส์ (กดปุ่ ม CTRL แล้วคลิก สาหรับเครื่ อง Mac) ทันทีที่เคอร์ เซอร์ เปลี่ยนเป็ นลูกศรคู่ ให้เลื่อนเมาส์มาข้างหน้าหรื อดันออกห่างจากตัวคุณ แล้ว ปล่อยปุ่ มเมื่อคุณได้ระดับการย่อที่ตองการ โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมอง ้ ของคุณจะซูมเข้าหาเครื่ องหมายนี้ หากคุณต้องการย่อไปเรื่ อยๆ ให้กดปุ่ มขวาค้างไว้ (กดปุ่ ม CTRL แล้ว คลิก สาหรับเครื่ อง Mac) แล้วดันเมาส์ไปข้างหน้าช่วงสั้นๆ จากนั้นปล่อยปุ่ ม ทาเหมือนกับว่าคุณกาลัง "ขว้าง" ภาพนี้ คลิกหนึ่งครั้ งในหน้าต่างมุมมองเพื่อหยุดการเคลื่อนที่ เอียงมุมมอง หากเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถเอียงมุมมองได้โดยการกดปุ่ มดังกล่าว แล้วเลื่อน ้
  • 6. เมาส์ไปข้างหน้าหรื อข้างหลัง ถ้าเมาส์ของคุณมีลอเลื่อน คุณสามารถเอียงมุมมองได้โดยการกดปุ่ ม SHIFT และเลื่อน ้ ล้อเลื่อน นอกจากนี้ คุณยังสามารถกด Shift และปุ่ มด้านซ้ายของเมาส์ และลาก โปรดทราบว่าเครื่ องหมายกากบาทจะ ปรากฏ และมุมมองของคุณจะเอียงจากเครื่ องหมายนี้ โปรดดูเพิมเติมได้ที่ การเอียงภาพและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา ่ ดู เมื่อต้องการมองจากจุดที่เป็ นมุมมองเดียว ราวกับว่าคุณหันศีรษะของคุณเอง ให้กด Ctrl และปุ่ มซ้ายของเมาส์ และลาก หมุนมุมมอง หากเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถหมุนมุมมองโดยกดที่ปมตรงกลางและเลื่อน ้ ุ่ เมาส์ไปทางซ้ายหรื อขวา นอกจากนี้ คุณยังสามารถกด Shift และปุ่ มด้านซ้ายของเมาส์ และลาก โปรดทราบว่า เครื่ องหมายกากบาทจะปรากฏ และมุมมองของคุณจะหมุนรอบๆ เครื่ องหมายนี้ คุณสามารถใช้ปม CTRL ( สาหรับเครื่ อง Mac) ร่ วมกับล้อเลื่อนเพื่อหมุนมุมมอง กดปุ่ ม CTRL ( สาหรับเครื่ อง ุ่ Mac) และเลื่อนล้อเลื่อน "ขึ้น” เพื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา หรื อกด CTRL ( สาหรับเครื่ อง Mac) + เลื่อนล้อเลื่อน “ลง” เพื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา โปรดดูเพิ่มเติมได้ที่ การเอียงภาพและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา ดาเนินการกับสิ่ ง เรี ยนรู ้เพิ่มเติม ปลูกสร้ าง 3 มิติ ล้ อเลื่อนของเมาส์ ดูที่ดานบน ในการเปลี่ยนการตั้งค่าเหล่านี้ ให้คลิกที่ เครื่ องมือ > ตัวเืื ลือก > การควบคุมทิ ศทาง (ใน Mac: Google ้ Earth > ค่ ากาหนด > การควบคุมทิ ศทาง > การตังค่ าล้ อเลื่อนของเมาส์ ) เลื่อนแถบเลื่อนเพื่อตั้งค่าความเร็ ว-ช้าที่คุณ ้ ต้องการให้จุดมุมมองของคุณบนพื้นโลกทาการย่อหรื อขยาย ทาเครื่ องหมายที่ กลับทิ ศทางของการย่ อ/ขยายด้ วย ล้ อเลื่อนของเมาส์ เพื่อกลับทิศทางการย่อ/ขยายเมื่อคุณใช้ลอเลื่อนของเมาส์ ้ การควบคุมอื่นๆ (Windows และ Linux) เครื่ องมือ > ตัวเลือก > การควบคุมทิ ศทาง > โหมดควบคุมทิ ศทาง > เลื่อนและย่ อ/ขยาย (สาหรับเครื่ อง Mac: Google Earth > ค่ ากาหนด > การควบคุมทิ ศทาง > ตัวควบคุมที่ ไม่ ใช้ เมาส์ ) หากคุณมีจอยสติ๊ก หรื ออุปกรณ์ควบคุมที่ไม่ใช่เมาส์ คุณสามารถเปลี่ยนการเคลื่อนที่ของมุมมองในมุมมองภาพ 3 มิติได้ที่ การตังค่ า ้ อุปกรณ์ ควบคุมที่ ไม่ ใช่ เมาส์ เลือก ตามผู้ใช้ เพื่อเลื่อนจุดที่คุณสามารถมองเห็นได้กว้าง หรื อ ตามพื ้นโลก เพื่อเลื่อน ลูกโลก ทาเครื่ องหมายที่ ย้ อนการควบคุม เพื่อย้อนการทางานของจอยสติก ๊
  • 7. การใช้ ตัวควบคุมทิศทาง หากต้องการดูและใช้ตวควบคุมทิศทาง ให้เลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มุมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ หลังจากที่คุณเริ่ มใช้ Google Earth และเลื่อน ั เคอร์ เซอร์ ไปที่บริ เวณนี้แล้ว ตัวควบคุมทิศทางจะค่อยๆ เลือนหายไปเมื่อคุณเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปยังบริ เวณอื่น หากต้องการดูตวควบคุม ั เหล่านี้อีกครั้ง เพียงเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มุมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ หมายเหตุ - หากตัวควบคุมทิศทางไม่ปรากฏขึ้นเมื่อคุณเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปที่มมขวาของมุมมองภาพ 3 มิติ ให้คลิก มุมมอง > แสดงการ ุ ควบคุมทิ ศทาง > แบบอัตโนมัติ แล้วลองอีกครั้ง หากต้องการซ่ อนหรื อแสดงไอคอนเข็มทิศในมุมมองภาพ 3 มิติ ให้คลิก มุมมอง > เข็มทิ ศ นอกจากนี้ โปรดดู การแสดงหรื อการซ่ อน รายการในมุมมองภาพ 3 มิติ การสั่งงานตัวควบคุมทิศทางของ Google Earth สามารถทาได้เช่นเดียวกับการควบคุมทิศทางด้วยเมาส์ นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช้ตว ั ควบคุมนี้เพื่อซูมและเลื่อนเข้าหา (ในบางครั้ งสาหรับการดูสภาพภูมิประเทศ) หรื อหมุนมุมมอง แผนผังด้านล่างจะแสดงตัวควบคุมนี้ และ อธิบายถึงการทางานของส่ วนต่างๆ 1. คลิกปุ่ มทิศเหนืออยูบน เพื่อรี เซ็ตมุมมองให้ทิศเหนืออยูดานบนของหน้าจอ คลิกและลากวงแหวน ่ ่ ้ ควบคุมทิศทางเพื่อหมุนภาพ 2. ใช้คนโยก มุมมอง (เพื่อดูรอบๆ จากจุดมุมมองจุ ดเดียว เหมือนขณะที่คุณหันหน้า คลิกลูกศรเพื่อดูใน ั ทิศทางนั้น หรื อกดปุ่ มของเมาส์เพื่อเปลี่ยนมุมมอง หลังจากคลิกลูกศรแล้ว ให้เลื่อนเมาส์ไปรอบๆ คัน โยกเพื่อเปลี่ยนทิศทางของการเคลื่อนที่ 3. ใช้คนโยก ย้าย เพื่อย้ายตาแหน่งจากที่หนึ่งไปยังที่อื่น คลิกลูกศรเพื่อดูในทิศทางนั้น หรื อกดปุ่ มของ ั เมาส์เพื่อเปลี่ยนมุมมอง หลังจากคลิกลูกศรแล้ว ให้เลื่อนเมาส์ไปรอบๆ คันโยกเพื่อเปลี่ยนทิศทางของ การเคลื่อนที่ 4. ใช้แถบเลื่อนย่อ/ขยาย เพื่อย่อหรื อขยาย (+ เพื่อขยาย - เพื่อย่อ) หรื อคลิกไอคอนที่ปลายของแถบเลื่อน เมื่อคุณย้ายไปใกล้พ้ืนมากขึ้น Google Earth จะเคลื่อน (เอียง) เพื่อเปลี่ยนมุมมองให้ขนานกับ พื้นผิวโลก คุณสามารถปิ ดการเอียงอัตโนมัติน้ ีได้ (เครื่ องมือ > ตัวเลือก > ทิศทาง > การควบคุมทิศทาง ในเครื่ อง Mac: Google Earth > ค่ากาหนด > ทิศทาง > การควบคุมทิศทาง) คุณสามารถใช้แป้ นพิมพ์เพื่อควบคุมทิศทางได้เช่นกัน โปรดดูที่ การควบคุมทิศทางในมุมมองภาพ 3 มิติ ในการ ควบคุมแป้ นพิมพ์เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม
  • 8. การเอียงและการดูภูมิประเทศที่เป็ นภูเขา เรี ยนรู ้วิธีเอียงโดยใช้เมาส์ เมื่อเริ่ มต้น Google Earth ครั้งแรก มุมมองเริ่ มต้นของโลกคือมุมมองแบบ "มองลงจากด้านบน" เป็ นการมองตรง  เอียงภูมิประเทศระหว่ าง 0 - 90 องศา - คุณสามารถใช้เมาส์เพื่อเอียงมุมมองให้ได้มุมมองที่แตกต่างออกไปสาหรับพื้นที่ที่คุณ กาลังสารวจอยู่ คุณสามารถเอียงได้มากที่สุด 90 องศา ซึ่ งจะแสดงมุมมองของวัตถุ รวมถึงแนวเส้นขอบฟ้ าในบางกรณี  เปิ ดใช้ งานภูมิประเทศ - การใช้คุณลักษณะการเอียงจะดูน่าสนใจยิงขึ้นเมื่อคุณมองดูพ้ืนโลกในส่ วนที่มีลกษณะภูมิประเทศเป็ น ่ ั ภูเขา โปรดเลือก ภูมิประเทศ ไว้ในแผงเลเยอร์  หมุนมุมมองเพื่อเปลี่ยนมุมในการมองใหม่ - เมื่อคุณเอียงมุมมองในขณะที่คุณกาลังมองวัตถุบางอย่างอยู่ เช่น เนินเขา คุณ สามารถหมุนมุมมองไปรอบๆ วัตถุน้ นได้ดวย ขณะทาเช่นนี้ วัตถุยงคงอยูตรงกลางของมุมมอง แต่คุณกาลังมองจากมุมมองที่ต่าง ั ้ ั ่ ออกไป (นันคือ มองจากทางทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก) ในขณะที่คุณหมุนไปรอบๆ วัตถุน้ น ่ ั  ใช้ ปุ่มตรงกลางเมาส์ (ถ้ ามี) เพื่อให้ การเคลื่อนที่ไม่ สะดุด - ถ้าเมาส์ของคุณมีปุ่มตรงกลางหรื อมีลอเลื่อนแบบกดได้ คุณสามารถ ้ กดปุ่ มดังกล่าวเพื่อเอียงและหมุนมุมมองได้ เลื่อนเมาส์ข้ ึนหรื อลงเพือเอียงมุมมอง และเลื่อนเมาส์ไปทางซ้ายหรื อขวาเพื่อหมุน ่ มุมมอง ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การใช้เมาส์ ้ ภาพด้านล่างแสดงถึงการเปรี ยบเทียบมุมมองของยอดเขาชาสตาในแคลิฟอร์ เนียในแบบเอียงและไม่เอียงมุมมอง มุมมองจากด้านบน มุมมองที่เอียง คุณสามารถปรับลักษณะของภูมิประเทศได้หากคุณต้องการให้มีการยกระดับความสู งมากขึ้น ในการดาเนินการนี้ ให้คลิก เครื่ องมือ > ตัวเลือก > มุมมองภาพ 3 มิติ จากเมนู เครื่ องมือ (สาหรับเครื่ อง Mac ให้เลือก Google Earth > ค่ ากาหนด > มุมมองภาพ 3 มิติ) และเปลี่ยน ค่า การขยายระดับความสู ง คุณสามารถตั้งค่าได้ต้ งแต่ 1 ถึง 3 รวมจุดทศนิยม การตั้งค่าทัวไปคือ 1.5 ซึ่ งเป็ นลักษณะของระดับความสู งตาม ั ่ ธรรมชาติ ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ ค่ากาหนดของการดูภาพ ้
  • 9. การรีเซ็ ตมุมมองเริ่ มต้ น ภายหลังการเอียงและหมุนมุมมองภาพ 3 มิติใน Google Earth คุณสามารถรี เซ็ตกลับไปที่ค่าเริ่ มต้น มุมมองทิศเหนืออยูบนและมุมมองจาก ่ ด้านบน ได้อย่างรวดเร็ ว การดาเนินการ:  คลิกปุ่ ม "ทิศเหนืออยูบน" เพื่อตั้งค่ามุมมองใหม่ ให้ทิศเหนืออยูบนของมุมมอง ่ ่  (Windows และ Linux เท่านั้น) คลิกในมุมมองภาพ 3 มิติ และพิมพ์ r ที่แป้ นพิมพ์เพื่อรี เซ็ตมุมมอง (ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การควบคุม ้ ด้วยแป้ นพิมพ์) หมายเหตุ - หากคุณต้องการกลับไปยังจุดที่คุณรู ้จกและคุนเคย ให้คลิกเครื่ องหมายบอกตาแหน่ ง ตาแหน่ งเริ่ มต้ น ในโฟลเดอร์ สถานที่ของฉั น ั ้ จะทาให้คุณกลับไปที่จุดศูนย์กลางของประเทศของคุณ (หรื อประเทศที่ใช้ภาษาเดียวกับคุณ) คุณสามารถแก้ไขตาแหน่งสาหรับเครื่ องหมายบอก ตาแหน่ง ตาแหน่ งเริ่ มต้ น ได้หากคุณต้องการ ดูขอมูลเพิ่มเติมที่ การแก้ไขสถานที่และโฟลเดอร์ ้ โปรดพิจารณาการใช้ หน้าต่างแผนที่ภาพรวม ร่ วมด้วย เพราะเป็ นวิธีหนึ่งที่จะทาให้คุณได้มุมมองตาแหน่งเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อ ่ คุณทาการขยายเข้าไปยังสถานที่ที่ไม่คนเคย ุ้ การตั้งค่ าตาแหน่ งเริ่มต้ น คุณสามารถตั้งค่าตาแหน่งเริ่ มต้น (ค่าเริ่ มต้น) ให้ปรากฏขึ้นทุกครั้งที่คณเปิ ดใช้งาน Google Earth ได้ โดยการเลื่อนมุมมองไปยังตาแหน่งที่ ุ เหมาะสม แล้วคลิก มุมมอง > กาหนดจุดนี ้เป็ นตาแหน่ งเริ่ มต้ นของฉั น การแสดงดวงอาทิตย์ คุณสามารถแสดงดวงอาทิตย์และแสงอาทิตย์ในภูมิประเทศได้ ดังนี้: 1. คลิก มุมมอง > ดวงอาทิ ตย์ หรื อกดปุ่ มดวงอาทิตย์ Google Earth จะแสดงระดับแสงอาทิตย์ปัจจุบนในสถานที่ซ่ ึ งคุณดูอยู่ ั โปรดทราบว่า ตัวเลื่อนเวลา จะปรากฏ 2. ในการเปลี่ยนเวลา ให้ลากตัวเลื่อนไปทางซ้ายหรื อขวา ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบตาแหน่งและเวลาของปี คุณสามารถดูดวงอาทิตย์ข้ ึนหรื อ ่ ั ตกขณะทีมองไปทางตะวันออกหรื อตะวันตกได้ ่ 3. ในการแสดงภาพเคลื่อนไหวของแสงอาทิตย์ในภูมิประเทศ ให้คลิก ปุ่ มเล่นของแถบเลื่อนเวลา 4. ในการซ่ อนดวงอาทิตย์ คลิก มุมมอง > ดวงอาทิ ตย์ หรื อกดปุ่ มดวงอาทิตย์ อ้างอิง http://earth.google.com/intl/th/userguide/v4/#adding_content